รัฐบาล นำ เงิน ภาษี ของประชาชน ไป ทำ อะไร

รัฐบาล นำ เงิน ภาษี ของประชาชน ไป ทำ อะไร

รัฐบาล นำ เงิน ภาษี ของประชาชน ไป ทำ อะไร

ภาษี ที่หลายคนคุ้นหูคือเงินที่ถูกเรียกเก็บจากประชาชนทุกคนเพื่อไปพัฒนาประเทศ ภาษีที่เรียกเก็บจะมีอยู่2แบบคือ ภาษีทางตรงเป็นภาษีที่เรียกเก็บจากคนที่มีรายได้จากการทำงานไม่ว่าจะเป็นการค้าขาย งานบริการ หรืออุสาหกรรม ภาษีทางอ้อมเป็นภาษีที่เรียกเก็บจากการที่เราซื้อสินค้าหรือบริการต่างๆที่เรียกง่ายๆว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มนั่นเอง ซึ่งสาเหตุที่คนไทยทุกคนต้องเสียภาษีเพราะนำไปพัฒนาประเทศในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นด้านรายจ่ายของรัฐบาล คมนาคม ไฟฟ้า ขนส่ง สร้างโรงเรียน ถนน และเงินเดือนของข้าราชการเพื่อทำงานบริการให้ประชาชนเช่น ตำรวจ สาธารณะสุข เจ้าหน้าที่ทะเบียนราษฏร์ เป็นต้น

การคิดเงินเก็บภาษีนั้นในแต่ละประเภทจะไม่เหมือนกัน เช่นภาษีบุคคลธรรมดาที่เป็นเจ้าของกิจการที่ไม่มีคู่สมรสมีเงินได้เกิน30,000บาทต่อปี จะต้องเสียภาษี ถ้าน้อยกว่าจะได้รับการยกเว้น กรณีที่มีคู่สมรสต้องมีรายได้รวมกันแล้วมากกว่า 60,000ต่อปี และพวกห้างหุ้นส่วนสามัญ คณะบุคคลที่ไม่ได้เป็นนิติบุคคลถ้ามีเงินได้เกิน30,000 ต่อปีก็ต้องเสียภาษีเช่นเดียวกัน

ส่วนที่มาของเงินได้นิติบุคคลจะคำคัญจากกำไรสุทธิตามเงื่อนไขที่ถูกกำหนดไว้แล้ว และเพื่อความเป็นธรรมจึงมีการทำบัญญัติการจัดเก็บที่แตกต่างกันออกไปไม่ว่าจะเป็นกำไร ยอดรายได้ก่อนหักภาษี เงินได้ที่ใช้จ่าย หรือการขายสินค้าออกนอกประเทศ

ในส่วนของรายจ่ายรัฐบาลที่หลายตั้งข้อสงสัยว่าทำไมประชาชนต้องเป็นคนจ่าย แล้วรายจ่ายนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร

รายจ่ายของรัฐบาลในงบประมาณแต่ละปีจะมียอดจำนวนเงินที่แตกต่างกัน เนื่องจากเกิดจากการจัดสรรไปช่วยส่วนต่างๆขึ้นอยู่กับนโยบาลของรัฐบาลแต่ละส่วนที่จะเข้ามาบริหารประเทศ ไม่ว่าจะเป็นรายจ่ายประจำวัน เดือน ปี รายจ่ายที่ต้องนำไปลงทุน ชำระคืนเงินกู้ต่างประเทศ หรือIMF

รัฐบาล นำ เงิน ภาษี ของประชาชน ไป ทำ อะไร

รายจ่ายของรัฐบาลจะจำแนกตามกลุ่มโครงสร้างแผนงานที่จะกอบด้วยรายจ่ายในกลุ่มภารกิจทางเศรษฐกิจได้แก่ ด้านการผลิตสร้างรายได้ ทรัพยากรณ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมพลังงาน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี รวมถึงรายจ่ายของรัฐ  รายจ่ายในกลุ่มภารกิจทางการบริหารได้แก่ การบริหารงานของรัฐบาล พัฒนาะบบการเงิน และสนับสนุนสินค้าในกิจการส่วนพระองค์ และสุดท้ายรายจ่ายในกลุ่มภารกิจทางสังคม คือรายจ่ายที่นำไปพัฒนาประชาชน และความมั่นคงของชาติ

ฉะนั้นภาษีที่เราเสียนั้นจึงมีความหมายเกี่ยวกับเศรษฐกิจของประเทศมากไม่ว่าจะนำมาเป็นเงินกองทุนหมุนเวียนภายในประเทศ หรือการพัฒนาประเทศในเจริญตามยุคสมัยมากยิ่งขึ้น แต่เงินภาษีนั้นใช่ว่าเราจะได้เสียไปหมดทุกอย่าง บางอย่างเราสามารถนำมาลดหย่อนได้ และเงินจากภาษียังอำนวยความสะดวกกลับมายังประชาชนอย่างเช่น รถเมล์ฟรีเพื่อประชาชนเป็นต้น

อย่างที่วิชาหน้าที่พลเมืองสอนเรามาตั้งแต่ม.ต้น หรือน้องๆ หลายคนอาจได้ยินได้รู้จักกับคำว่า "ภาษี" กันมาจากผู้ใหญ่รอบตัว แล้วตอนนี้น้องๆ รู้ไหว่าประเทศไทยมีภาษีอะไรบ้าง? จ่ายแล้วไปไหน? ใครต้องจ่าย? ถ้าอยากรู้ ตามมาอ่านบทความนี้ได้เลย

ภาษีที่เราต้องจ่าย มีอะไรบ้าง?
การจำแนกประเภทของภาษีอากรจะแตกต่างกันไปตามเกณฑ์ที่ใช้ และเกณฑ์ที่ประชาชนคนธรรมดาอย่างเราเกี่ยวข้องและต้องรู้โดยตรงคือ การจำแนกด้วยหลักการผลักภาระภาษี โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ "ภาษีทางตรง" คือผู้เสียภาษีจ่ายเอง (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา, ภาษีเงินได้นิติบุคคล, ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม) และ  "ภาษีทางอ้อม" คือเก็บจากบุคคลอื่น แต่ผู้เสียภาษีต้องรับภาระในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง (เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม, ภาษีธุรกิจเฉพาะ, ภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน, ภาษีสินค้าเข้า-ออก ฯลฯ)

รัฐบาล นำ เงิน ภาษี ของประชาชน ไป ทำ อะไร

สำหรับ ปีงบประมาณ 2561 มีการประมาณการว่า รัฐบาลจะสามารถจัดเก็บภาษีอากรสุทธิได้ราว 2.23 ล้านล้านบาท คิดเป็น 77% ของรายได้ทั้งหมด ซึ่ง แหล่งภาษีใหญ่ๆ ของประเทศไทยมาจาก 3 แหล่ง ดังนี้

1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
มีผู้เสียภาษีอยู่เพียง 4 ล้านคน (จากผู้ยื่นแบบทั้งหมด 10 ล้านคน) รวมเป็นเงิน 3.32 แสนล้านบาท คิดเป็นราว 15% ของภาษีทั้งหมด

2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
เก็บจากบริษัทต่างๆ ราว 1.5 แสนแห่ง ประมาณกันว่าจะมีรวมกันราว 6.51 แสนล้านบาท คิดเป็น 29% ของภาษีทั้งหมด

3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
หรือที่มักเรียกกันว่า VAT (value-added tax)โดยผู้เสียภาษีชนิดนี้ก็คือ ‘ทุกคน’ ที่ซื้อสินค้าและบริการจากร้านค้าต่างๆ เพราะจะมีการบวก VAT ไว้ในราคาขายแล้ว คิดเป็นเงินรวมกันราว 8.21 แสนล้านบาท หรือ 37% ของภาษีทั้งหมด

ส่วนที่เหลืออีก 19% คิดเป็นเงินกว่า 4.26 แสนล้านบาท จะมาจากภาษีอากรประเภทอื่นๆ อีกกว่า 10 ประเภท เช่น ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน ภาษีสินค้าเข้า-ออก เป็นต้น

รัฐบาล นำ เงิน ภาษี ของประชาชน ไป ทำ อะไร

ภาษี จ่ายแล้วไปไหน?
ในร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2561 (ระหว่างเดือน ต.ค.2560 – เดือน ก.ย.2561) ได้กำหนดงบประมาณของรัฐบาลไว้ที่ 2,900,000 ล้านบาท สำหรับคนทั่วไปอ่านรายการใช้จ่ายงบด้านบนก็อาจจะไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร (แม้แต่เราเองก็ยังไม่ค่อยเข้าใจมากนัก) อย่ากระนั้นเลย ถ้าแยกเป็น ลักษณะงาน เด่นๆ น่าจะทำให้เข้าใจกับง่ายขึ้นเนอะ

งบการศึกษา = 523,569 ล้านบาท

งบสวัสดิการผู้สูงอายุ = 258,593 ล้านบาท

งบกองทัพ = 214,591 ล้านบาท

งบการขนส่ง = 202,453 ล้านบาท

งบสาธารณสุขอื่น (ซึ่งรวมถึงบัตรทอง) = 167,449 ล้านบาท

งบโรงพยาบาล = 125,394 ล้านบาท

งบตำรวจ = 118,230 ล้านบาท

 (ที่เหลือคืองบในลักษณะงานอื่นๆ) 

หากแยกเป็นงบตามประเภทที่จ่ายๆ ที่โดดเด่นที่สุดคือเงินเดือนข้าราชการและค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่รัฐ = 626,181 ล้านบาท คิดเป็น 22% มากกว่างบลงทุน = 492,439 ล้านบาท ที่คิดเป็น 16%

ถ้าหากแบ่งเป็นกระทรวง กระทรวงที่ได้งบสูงสุด 5 ลำดับแรกจะประกอบด้วย  1.กระทรวงศึกษาธิการ 507,947 ล้านบาท (17.5%) 2.งบกลาง 415,583 ล้านบาท (14.3%) 3.กระทรวงมหาดไทย 354,303 ล้านบาท (12.2%) 4.กระทรวงการคลัง 238,241 ล้านบาท (8.2%) และ 5.กระทรวงกลาโหม 220,523 ล้านบาท (7.6%)

และถ้าแยกรายจังหวัด จังหวัดที่ได้งบสูงสุด 5 ลำดับแรกจะประกอบด้วย 1.กรุงเทพฯ 1,758,500 ล้านบาท (คิดเป็น 60.2%) 2.ส่วนกลาง 413,083 ล้านบาท (14.2%) 3.นนทบุรี 189,413 ล้านบาท (6.5%) 4.นครปฐม 32,306 ล้านบาท (1.1%) และ 5.เชียงใหม่ 24,953 ล้านบาท (0.86%)

ที่มา :
thematter.co

รัฐบาลนำเงินภาษีของประชาชนไปทำอะไรบ้าง

ประโยชน์ของภาษี.
จ่ายตลาดซื้อของกินของใช้.
ลงทุนทําธุรกิจเพื่อความมั่งคั่ง.
ซื้ออุปกรณ์รักษาความปลอดภัย.
จ่ายค่ารักษาพยาบาล.
จ่ายค่าเล่าเรียนเพื่อสร้างอนาคต.
เลี้ยงรับรองเพื่อนบ้านเพื่อความสัมพันธ์อันดี ฯลฯ.

รัฐบาลนำเงินภาษีมาใช้ในการพัฒนาประเทศด้านใดบ้าง

ภาษีคือสิ่งที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฎร เพื่อน ามาใช้บริหารและพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าทั้ง ทางเศรษฐกิจ การศึกษา สาธารณสุข การคมนาคม การประชาสงเคราะห์การป้องกันประเทศและรักษาความ สงบภายในประเทศ สร้างสาธารณูปโภค รวมไปถึงเงินเดือนของราชการ ทหาร ต ารวจ ผู้ท าหน้าที่ให้บริการ ประชาชน เงินภาษีซึ่งการเรียกเก็บจากราษฎรนั้น ...

เงินภาษีประชาชนไปไหน

1. การคืนภาษีของกรมสรรพากร 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. การกันเงินเพื่อชดเชยภาษีสำหรับสินค้าส่งออก 4. การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด

ทำไมประชาชนจึงต้องมีหน้าที่ในการเสียภาษีให้กับรัฐ

กล่าวโดยสรุป ภาษีอากรเป็นหน้าที่ของบุคคลที่ต้องจ่ายหรือชำระให้แก่รัฐตามรัฐธรรมนูญ เพื่อที่จะเป็นรายได้ให้รัฐได้นำไปใช้ในการพัฒนาประเทศ สร้างสรรค์โอกาสให้แก่ผู้ด้อยโอกาสและบุคคลอื่นๆ ในสังคมสืบไป แม้ภาษีอากรจะเป็นการบังคับจัดเก็บ แต่หากตั้งใจให้เป็นการบริจาคเพื่อการกุศล ก็ถือเป็นประโยชน์แก่ผู้ต้องเสียภาษีอากรอีกทางหนึ่ง ...