ลักษณะของฟอร์มแบบ columnar ที่สร้างขึ้นจากวิซาร์ดใน access มีลักษณะอย่างไร

Unit 5 สร้างฟอร์ม (Form)

_________________________________________________________________               1.1ประเภทของฟอร์ม แบ่งออกเป็น 6 ชนิด       1.  ฟอร์มสำหรับป้อนข้อมูล        2.  ฟอร์มแบบกำหนดเอง        3.  ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล        4.  Main / Sub forms        5.  Pivot Table Forms        6.  Pivot Chart Forms 1.2มุมมองของฟอร์ม       1.  มุมมองการออกแบบ (Design View)       2.  มุมมองเค้าโครง (Layout View)       3.  มุมมองฟอร์ม (Form View)1.3การสร้างฟอร์มทำได้ 3 วิธี คือ       1.  การสร้างฟอร์มด้วยเครื่องมือช่วยสร้างฟอร์ม       2.  การสร้างด้วยตัวช่วยสร้าง  (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});       3.  การสร้างฟอร์มขึ้นเองด้วยมุมมองออกแบบ 1.4การสร้างฟอร์มเดี่ยว      1.  เลือกตารางที่ต้องการทำฟอร์ม      2.  เลือกที่ฟอร์ม      3.  กดบันทึกฟอร์ม1.5การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้าง ( Form Wizard )      1.  คลิกที่แท็บ สร้าง (Create)      2.  คลิกที่ ตัวช่วยสร้างฟอร์ม      3.  เลือก ตารางที่ต้องการสร้างฟอร์ม      4.  เลือกฟิลด์ที่ต้องการสร้างฟอร์ม โดยเลือกแล้วกดที่เครื่องหมาย > จะย้ายฟิลด์ที่เลือกไปทางด้านขวา      5.  เมื่อเลือกเสร็จ คลิกที่ถัดไป โปรแกรมจะให้เลือกเค้าโครงของฟอร์ม เลือกแล้วคลิกที่ถัดไป (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});       6.  เปลี่ยนชื่อฟอร์ม แล้วกดที่เสร็จสิ้น      7.  จะได้ดังภาพ

Show

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล เรื่อง ความสัมพันธ์ (Relationship) _________________________________________________________________                                ความสัมพันธ์ ( Relationships) ความสัมพันธ์ ( Relationships)  หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างตารางหรือเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างตารางประชาชน และ ตารางผู้เสียภาษี ดังตาราง ตารางข้อมูลประชาชน ตารางข้อมูลผู้เสียภาษี ในเมื่อตารางทั้งสองมีหมายเลขประจำตัวประชาชนเหมือนกัน ความสัมพันธ์จึงเกิดขึ้นโดยมีหมายเลขประจำตัวเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตาราง และเขียนในรูปแบบของเอนทิตี้ได้ดังนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ อาจแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ       1.         ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ( One-to-one Relationships)       2.         ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ( one-to-many Relationships)       3.         ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ( Many-to-many Relationships) ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง  1 : 1  ( One-to-one Relationships) ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ( One-to-one Rel

ลักษณะของฟอร์มแบบ columnar ที่สร้างขึ้นจากวิซาร์ดใน access มีลักษณะอย่างไร

หน่วยที่ 2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Access เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access _________________________________________________________________                                โปรแกรม  Microsoft Access 2013            เป็นโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database Management)  ที่มีความสามารถทั้งจัดการฐานข้อมูลและสร้างโปรแกรมในตัวเดียวกัน จึงเหมาะสำหรับนักศึกษาที่จะเรียนรู้และพัฒนาโปรแกรมไว้ใช้งาน รวมถึงผู้ใช้ที่ไม่มีความรู้ในเรื่องการเขียนโปรแกรมมากนัก เนื่องจากมีวิธีการใช้งานง่ายและสะดวกต่อผู้ใช้ วิธีเข้าโปรแกรม  Microsoft Access 2013 1. Start  ->  all program ->   Microsoft Office 2013 ->    Access 2013 2.  พิมพ์ ใน  search programs and files   คำว่า “ access 2013” 3. Icon Access 2013    หน้า  desktop เมื่อเข้าโปรแกรม จะปรากฏหน้าจอดังภาพที่ 1 ภาพที่  1  หน้าต่างเริ่มต้นของโปรแกรม  Microsoft Office 2013 วิธีการสร้างฐานข้อมูล วิธีการสร้างฐานข้อมูลมี 2 แบบ คือ 1. สร้างฐานข้อมูลเปล่

หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูลด้วยคิวรี

หน่วยที่ 4 การจัดการข้อมูลด้วยคิวรี เรื่อง การจัดการข้อมูลด้วยคิวรี _________________________________________________________________                                คิวรี ( Query)    คิวรี ( Query) เป็นการกรองข้อมูลที่ต้องการจากตาราง แสดงจากฐานข้อมูลที่มีข้อมูลจำนวนมาก โดยแบ่งประเภทของคิวรี ดังนี้ 1.          คิวแบบใช้เลือกข้อมูล ( Select Query) ใช้สำหรับแสดงข้อมูลโดยดึงข้อมูลจากตารางเดียวหรือหลายตารางก็ได้ 2.          คิวรีแบบตาราง ( Crosstab Query) เป็นคิวรีที่ใช้สำหรับคำนวณและจัดโครงสร้างข้อมูลใหม่ โดยสามารถนำมาใช้ในการเปรียบเทียบและดูแนวโน้มของข้อมูลได้ เช่น แสดงยอดขายในแต่ละเดือน 3.          คิวรีพารามิเตอร์ ( Parameter Query) เป็นคิวรีที่มีการแสดงไดอะล็อกบ็อกโต้ตอบโดยการใส่ค่าพารามิเตอร์เพื่อถามข้อมูลจากผู้ใช้งาน เช่น ป้อนรหัสสมาชิก 4.          คิวรีแอคชัน ( Action Query) เป็นคิวรีที่ใช้สำหรับเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ชนิด 4.1    คิวรีแบบใช้สร้างตาราง 4.2    คิวรีแบบใช้ลบข้อมูล 4.3    คิวรีแบบใช้ผนวกข้อมูล 4.4    คิวรีแบบใช้ปรับปร

หน่วยที่ 3 การสร้างฐานข้อมูลและการสร้างตาราง  เรื่อง การสร้างตาราง _________________________________________________________________                                ตาราง ( Table )           ตาราง ( Table) คือ องค์ประกอบหลักอย่างหนึ่งในฐานข้อมูล เป็นส่วนที่ต้องสร้างขึ้นเป็น อันดับแรก เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในฐานข้อมูล โดยในการสร้างตารางนั้นมีหลาย รูปแบบด้วยกัน ซึ่งเราสามารถจัดการกับข้อมูลในตารางเพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการ ทำงานมากยิ่งขึ้นได้เช่น การเรียงลำดับข้อมูล การกรองข้อมูล และการค้นหาข้อมูล เป็นต้น ส่วนประกอบของตาราง การสร้างตาราง ขั้นตอนการสร้างตารางฐานข้อมูลมีดังนี้              1.        คลิกแท็บ Create              2.        เลือกป่ม Table Design              3.        ตั้งชื่อฟิลด์ ในช่อง Field Name การตั้งชื่อฟิลด์ -           ชื่อ field ต้องไม่ยาวเกิน 64 ตัวอักษร รวมทั้งช่องว่างด้วย -           ห้ามตั้งชื่อ field ซ้ำกัน -           สามารถใช้ตัวอักษร ตัวเลข ช่องว่าง ในการตั้งชื่อ field ไ

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล เรื่อง การทำนอร์มอลฟอร์ม (Normalization) _________________________________________________________________                                การทำนอร์มอลฟอร์ม (Normalization) การนอร์มัลไลเซซัน ( Normalization) เป็นทฤษฎีหรือกระบวนการที่ใช้ในการทำให้เอนทิตี้และแอททริบิวต์ที่ได้ออกแบบไว้มาจัดกลุ่มตารางให้ความสัมพันธ์กัน ให้อยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า รูปแบบบรรทัดฐาน หรือ Normal Form เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ฐานข้อมูล โดยทำให้ฐานข้อมูลไม่มีความซ้ำซ้อนและไม่มีขนาดใหญ่จนเกินไป โดย การทำ “ Normalization ” มีลำดับดังนี้         1.        0NF เป็นตาราง ( Table )         2.        1 NF (First Normal Form)         3.        2 NF ( Second Normal Form )         4.        3 NF ( Third Normal Form )         5.        BCNF ( Boyce/Codd Normal Form )         6.        4 NF ( Forth Normal Form )         7.        5 NF ( Fifth Normal Form ) โดยส่วนใหญ่ ในการทำนอร์มอลฟอร์มจะทำถึง 3 NF เท่านั้น ส่วนพวกที่มากกว่านี้แทบจะไม่พบในชีวิตปร

ลักษณะของฟอร์มแบบ columnar ที่สร้างขึ้นจากวิซาร์ดใน access มีลักษณะอย่างไร

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล เรื่อง ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ _________________________________________________________________                                ความหมายของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์        เป็นการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแถวและคอลัมน์ในลักษณะตารางสองมิติ ที่ประกอบด้วย แอททริบิวต์ที่แสดงคุณสมบัติขิงรีเลชั่นหนึ่งๆ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลซึ่งให้ภาพของข้อมูลในระดับ ภายนอก(ExternalLevel)และระดับแนวความคิด(ConceptualLevel) คําศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ 1. รีเลชัน(Relation) ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ของข้อมูลซึ่งเรียกได้อีกอย่างว่า ตาราง (Table) 2. ทูพเพิล(tuple) คือ แถวแต่ละแถวในตารางจะมีความหมายเหมือนกับระเบียน 3. แอททริบิวท์(attribute) คือ คอลัมน์แต่ละคอลัมน์ของตารางจะมีความหมายเหมือนกับเขตข้อมูล 4. คาร์ดินัลลิตี้(Cardinality) คือ จํานวนทูพเพิลที่มีอยู่ในรีเลชัน 5. ดีกรี(Degree) คือ จํานวนแอททริบิวท์ที่มีอยู่ในรีเลชัน เปรียบเทียบรูปแบบคำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ข้อดีของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล เรื่อง ฐานข้อมูล _________________________________________________________________                                ฐานข้อมูล ( Database ) คืออะไร            ระบบในการจัดการข้อมูลอย่างมีระเบียบ โดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อจุดประสงค์ที่ชัดเจน หรือประโยชน์ทางธุรกิจ เช่นระบบลงทะเบียนนักศึกษา ระบบทะเบียนราษฎร์ เป็นต้น องค์ประกอบของฐานข้อมูล ประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบหลักดังนี้ 1. ข้อมูล ( Data )  จะเป็นรหัสประจำตัว ชื่อที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ พวกนี้คือข้อมูลสำหรับจัดเก็บในฐานข้อมูลของเรา 2. คอมพิวเตอร์ ( Computer )  จะเป็นแบบตั้งโต๊ะ ( Desktop ) โน้ตบุ๊ค ( Notebook ) หรือแม้แต่เน็ตบุ๊ค ( Netbook ) ก็สามารถใช้งานเก็บฐานข้อมูลได้ทั้งนั้น 3. ซอฟต์แวร์ ( Software )  พอมีคอมพิวเตอร์แล้ว อันดับถัดไปก็ต้องเป็นซอฟต์แวร์ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ที่พวกเราคุ้นเคยได้ยินกันบ่อยๆ ก็ได้แก่  Microsoft Excel, Microsoft Word  แต่โปรแกรมที่เราใช้ในวิชานี้คือ  Microsoft Access  ซึ่งเป็นโปรแกรมเฉพาะด้านข้อมูลของโปรแกรมในชุด  Microsoft   Office 4.  ผู้ใช้ (

หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม เรื่อง การสร้างฟอร์ม _________________________________________________________________                                คิวการสร้างฟอร์ม 1.1 ประเภทของฟอร์ม แบ่งออกเป็น 6 ชนิด        1.  ฟอร์มสำหรับป้อนข้อมูล         2.  ฟอร์มแบบกำหนดเอง         3.  ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล         4.  Main / Sub forms         5.  Pivot Table Forms         6.  Pivot Chart Forms  1.2 มุมมองของฟอร์ม        1.   มุมมองการออกแบบ (Design View)        2.  มุมมองเค้าโครง (Layout View)        3.  มุมมองฟอร์ม (Form View) 1.3 การสร้างฟอร์มทำได้ 3 วิธี คือ        1.  การสร้างฟอร์มด้วยเครื่องมือช่วยสร้างฟอร์ม        2.  การสร้างด้วยตัวช่วยสร้าง        3.  การสร้างฟอร์มขึ้นเองด้วยมุมมองออกแบบ  1.4 การสร้างฟอร์มเดี่ยว       1.  เลือกตารางที่ต้องการทำฟอร์ม       2.  เลือกที่ฟอร์ม           3.  กดบันทึกฟอร์ม 1.5 การสร้างฟอร์มด้วยตัวช่วยสร้าง ( Form Wizard )       1.  คลิกที่แท็บ สร้าง (Create)       2.  คลิกที่ ตั

หน่วยที่ 6 การสร้างรายงาน (Report) เรื่อง การสร้างรายงาน _________________________________________________________________                                การสร้างรายงาน 1.1.     ประเภทของรายงาน  แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1.             รายงานแบบตาราง ( Tabular Report) เป็นรายงานที่มีการจัดเรียงข้อมูลเหมือนตาราง ซึ่งจะเรียงฟิลด์จากซ้ายไปขวาของรายงาน โดยจะแสดงข้อมูลทุกเรคอร์ดในหนึ่งหน้ารายงาน 2.             รายงานแบบหลายคอลัมน์ ( Columnar Report)  เป็นรายงานที่แสดงข้อมูลซึ่งจะจัดเรียงฟิลด์จากบนลงล่าง โดยจะแสดงข้อมูลทีละ 1 เรคคอร์ด 3.             รายงานแบบป้ายชื่อ ( Label Report) เป็นรายงานแบบป้ายฉลากที่เรียกว่าเลเบล สำหรับติดหน้าซองต่างๆ เช่น ป้ายติดซองจดหมาย เลเบลต่างๆ ป้ายฉลากสินค้า เป็นต้น 1.2.     มุมมองของรายงาน 1.             มุมมองรายงาน( Report View) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับการแสดงผลในรูปแบบรายงานเท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขรายงานได้ 2.             มุมมองแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ ( Print Preview) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับแสดงตัวอย่างรายงานก่อนพิมพ์ โดยมี