การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

1 การสร้างเลเยอร์ใหม่

นักเรียนสามารถสร้างเลเยอร์ขึ้นมาใหม่เพื่อใช้ในการจัดเก็บวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพ หรือข้อความ โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. เปิดรูปภาพที่ต้องการสร้างเลเยอร์ หรือจะเป็นการสร้างหน้ากระดาษขึ้นมาใหม่ก็ได้เช่นเดียวกัน

2. คลิกเมนูคำสั่ง Layer บนแถบเมนูแล้วคลิกเลือกคำสั่ง New แล้วเลือกคำสั่ง Layer จะปรากฏไดอะล็อกซ์บล็อกซ์ของการสร้าง Layer ขึ้นมาให้ทำการปรับแต่งรายละเอียดของในแต่ละเลเยอร์ได้ ดังนี้

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

3. คลิกปุ่ม OK จะปรากฏ Layer ใหม่ซึ่งจะอยู่ด้านบนสุดของ Layer

4. หรือคลิกที่ไอคอน Create a new Layer บนพาเล็ต Layer ก็สามารถสร้างเลเยอร์ใหม่ได้เช่นเดียวกัน

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

2 การเปลี่ยนชื่อเลเยอร์

เมื่อทำการสร้างเลเยอร์ใหม่ในโปรแกรมจะมีชื่อเป็น Layer 1,2,3…เรียงขึ้นไปเรื่อยๆ ตามลำดับ ถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อของเลเยอร์ให้สอดคล้องกับวัตถุในเลเยอร์นั้นเพื่อจะได้สื่อความหมายและจำง่าย

นักเรียนสามารถที่จะเปลี่ยนชื่อของเลเยอร์ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. สร้างเลเยอร์ใหม่หรือถ้ามีเลเยอร์ที่สร้างแล้วก็สามารถเปลี่ยนชื่อได้ทันที

2. ดับเบิ้ลคลิกที่ Layer ที่ต้องการเปลี่ยนชื่อจะปรากฏเคอร์เซอร์ตรงชื่อของเลเยอร์ จากนั้นพิมพ์ชื่อของ Layer ใหม่ที่ต้องการลงไป

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

3 การคัดลอก (Copy)

การคัดลอกวัตถุในโปรแกรมสามารถทำได้ 2 วิธี คือ การคัดลอกภายในไฟล์กับ การคัดลอกภายนอกไฟล์ ซึ่งการคัดลอกทั้ง 2 แบบนี้จะได้ Layer ใหม่เพิ่มขึ้นมาเช่นเดียวกัน มีขั้นตอนดังนี้คือ

การคัดลอกภายนอกไฟล์

1. เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการย้ายวัตถุขึ้นมา (ต้นฉบับ) จากนั้นทำการสร้าง Selection บริเวณที่ต้องการย้าย

2. เปิดหน้ากระดาษใหม่หรือไฟล์ใหม่ ที่ต้องการนำภาพจากต้นฉบับไปวาง

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

       3. คลิกเลือกเมนูคำสั่ง Edit เลือกคำสั่ง Copy

4. คลิกเมาส์ที่ไฟล์ปลายทาง จากนั้นเลือกเมนูคำสั่ง Edit เลือกคำสั่ง Paste จะปรากฏวัตถุที่เลือกจากภาพต้นฉบับมาวางบนไฟล์ภาพปลายทาง โดยจะมี Layer เพิ่มขึ้นมาอัตโนมัติและถ้านักเรียนต้องการวางมากกว่า 1 รูป ก็สามารถใช้คำสั่ง Edit เลือกคำสั่ง Paste วางวัตถุเดิมก็จะได้วัตถุวางไว้บนหน้ากระดาษเพิ่มขึ้นอีกและ Layer ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

การคัดลอกภายในไฟล์

1. เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการย้ายวัตถุขึ้นมา (ต้นฉบับ) จากนั้นทำการสร้าง Selection บริเวณที่ต้องการย้าย

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

2. คลิกเลือกเมนูคำสั่ง Edit เลือกคำสั่ง Copy

3. คลิกเลือกเมนูคำสั่ง Edit เลือกคำสั่ง Paste จะปรากฏวัตถุที่ทำการเลือกวางบนไฟล์ภาพเดิม โดยจะมี Layer เพิ่มขึ้นมาอัตโนมัติ และถ้าเราต้องการวางมากกว่า 1 รูป ก็ใช้คำสั่ง Edit เลือกคำสั่ง Paste วางวัตถุเดิมก็จะได้วัตถุวางไว้บนหน้ากระดาษเพิ่มขึ้นอีก และ Layer ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

4 การเลือกใช้เลเยอร์ และ การเคลื่อนย้ายวัตถุ

เมื่อต้องการดูว่าขณะนี้เรากำลังทำงานอยู่ที่เลเยอร์ใดสังเกตว่าจะมีแถบสีน้ำเงินคลุมอยู่ที่เลเยอร์นั้น และการย้ายตำแหน่งวัตถุในเลเยอร์นั้นสามารถทำได้โดยคลิกเลือกเครื่องมือ Move Tool บน Toolbox จากนั้นคลิกในช่องสี่เหลี่ยมให้มีเครื่องหมายถูกที่คำสั่ง

– Auto Select Layer คลิกบนวัตถุใดจะเป็นการเลือกเลเยอร์ของวัตถุนั้นโดยอัตโนมัติ

– Show Bounding Box ใช้กำหนดให้เกิดกรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบเลเยอร์ที่เลือก

เมื่อคลิกเลือกคำสั่งทั้ง 2 คำสั่งนี้แล้วจะทำให้เราสามารถเคลื่อนย้ายวัตถุหรือเลือกใช้งานวัตถุได้ง่ายขึ้น รวมทั้งการเลือกเลเยอร์ของวัตถุนั้นก็สามารถทำได้สะดวกยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถย่อ – ขยาย และหมุนวัตถุได้เช่นกัน โดยเมื่อเลือกคำสั่ง Show Bounding Box จะมีจุดแฮนเดิ้ล (Handle) เพื่อให้สามารถปรับ หรือ หมุนวัตถุได้ง่ายขึ้น

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

5 การเปลี่ยนลำดับชั้นของเลเยอร์

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

6. การล็อคเลเยอร์

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

7. การเปลี่ยนสีเลเยอร์

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

8 การซ่อน / แสดงเลเยอร์

        เมื่อเราเปิดใช้เลเยอร์ต่างๆของรูปภาพแล้ว เราสามารถที่จะซ่อนเลเยอร์ที่ไม่ต้องการใช้ โดยเหมือนกับลบเลเยอร์นั้นทิ้ง แต่แท้ที่จริงแล้วเราไม่ได้ลบทิ้งเพียงแต่ซ่อนไว้เท่านั้น ถ้าเราต้องการใช้ก็ให้เราคลิกยกเลิกการซ่อนเพื่อให้เลเยอร์นั้นแสดงตามปกติ โดยคลิกเมาส์ที่รูปดวงตาที่อยู่ด้านหน้าของเลเยอร์ให้รูปดวงตานั้นหายไป รูปภาพที่อยู่บนเลเยอร์นั้นก็จะไม่แสดงบนหน้ากระดาษทำการแล้ว และเมื่อต้องการใช้งานเลเยอร์นั้นอีกครั้งก็ให้คลิกรูปดวงตาอีกครั้งเพื่อแสดงเลเยอร์

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

9 การลิงค์เลเยอร์ (การเชื่อมโยงเลเยอร์)

       การลิงค์เลเยอร์คือการรวมเอาเลเยอร์หลายๆ เลเยอร์มารวมอยู่ด้วยกัน เวลาเคลื่อนย้ายตำแหน่งหรือจัดวางใหม่จะได้กระทำได้ในครั้งเดียว หรือสามารถเคลื่อนย้ายเลเยอร์เหล่านี้ไปด้วยกันได้โดยไม่ต้องย้ายทีละเลเยอร์ วิธีการสร้างลิงค์เลเยอร์สามารถทำได้ตามขั้นตอนดังนี้

1. สร้างเลเยอร์ที่ต้องการ ประมาณ 2-3 เลเยอร์ จากนั้นคลิกเมาส์ที่เลเยอร์ที่ต้องการสร้างลิงค์ โดยกดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ในขณะที่เลือกเลเยอร์ที่ 2 (สังเกตว่าเลเยอร์ที่เลือกจะมีแถบสีน้ำเงินคลุมอยู่)

2. คลิกเมาส์ที่ไอคอน Link Layers เพื่อทำการลิงค์เลเยอร์ที่เลือกไว้

3. สังเกตว่าที่ด้านหลังของเลเยอร์ที่เลือกจะมีสัญลักษณ์ อยู่ทุกเลเยอร์ที่เลือก

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

10. การรวมเลเยอร์

การรวมเลเยอร์ คือการวมภาพของเลเยอร์ต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเลเยอร์เดียว ซึ่งหมายความว่าเราจะไม่สามารถแก้ไขภาพในแต่ละเลเยอร์ได้อย่างอิสระต่อไป ในการรวมเลเยอร์นั้นสามารถทำได้หลายแบบแล้วแต่กรณีปัจจุบัน โดยที่นักเรียนจะต้องคลิกปุ่มเพื่อเปิดเมนูของพาเล็ต Layer แล้วเลือกคำสั่งใดคำสั่งหนึ่งดังนี้

– Merge Down เป็นคำสั่งที่กำหนดให้เลเยอร์ที่กำลังทำงานอยู่รวมกับอีกเลเยอร์หนึ่งที่อยู่ด้านล่าง โดยชื่อของเลเยอร์ที่แสดงผลหลังจากรวมเลเยอร์แล้วจะเป็นชื่อเลเยอร์ที่อยู่ทางด้านล่าง

– Merge Visible เป็นการรวมเลเยอร์ที่ปรากฏสัญลักษณ์รูปดวงตา ทั้งหมดในพาเล็ต Layers เข้าด้วยกันให้เหลือเพียงหนึ่งเลเยอร์เท่านั้น โดยเลเยอร์ที่ผ่านการรวมนั้นจะจัดเก็บไว้ในเลเยอร์ Background ส่วนเลเยอร์อื่นๆ ที่ซ่อนไว้จะไม่ถูกนำมารวม

– Flatten Image เป็นการรวมเลเยอร์ทั้งหมดที่อยู่ในพาเล็ต Layers ซึ่งรวมทั้งเลเยอร์ที่ซ่อนอยู่

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

11 การลบเลเยอร์

การลบเลเยอร์ คือการตัดเลเยอร์ที่สร้างขึ้นมาทิ้งออกไปจากโปรแกรมโดยสามารถทำได้ 2 วิธีคือ

วิธีที่ 1 คลิกที่เลเยอร์ที่ต้องการลบ จากนั้นคลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากไปทิ้งยังสัญลักษณ์ถังขยะที่อยู่ด้านล่างของเลเยอร์ เลเยอร์ที่ไม่ต้องการก็จะถูกลบทิ้งไปจากพาเล็ต Layer

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

12 การปรับค่าความโปร่งใสของเลเยอร์ (Opacity)

จากที่กล่าวข้างต้นภาพในเลเยอร์บนจะบังเลเยอร์ด้านล่าง แต่ผลที่จะได้จะเป็นอย่างไรนั้นก็จะขึ้นอยู่กับเงื่อนไข 2 ประการ

1. ความโปร่งใสของแต่ละพิกเซล ถ้าพิกเซลในเลเยอร์บนทึบแสงก็จะบังเลเยอร์ล่างทั้งหมด ถ้าพิกเซลโปร่งใสเป็นบางส่วน ก็จะทำให้มองเห็นภาพในเลเยอร์ล่างได้บางส่วนเช่นกัน ค่านี้จะขึ้นกับแต่ละพิกเซล

2. ความโปร่งใสของเลเยอร์ ถ้าเลเยอร์บนทึบ (ค่า Opacity = 100%) ก็จะบังเลเยอร์ล่างเต็มที่แต่ถ้าเลเยอร์โปร่งใสบางส่วน ก็จะทำให้มองเห็นเลเยอร์ล่างได้บางส่วนเช่นกัน ค่านี้จะมีผลต่อทุกๆ พิกเซลในเลเยอร์

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

13 การจัดกลุ่มให้กับเลเยอร์ (Layer Group)

การจัดกลุ่มให้กับเลเยอร์เปรียบเสมือนการสร้างแฟ้มเอกสาร เพื่อจัดเก็บเลเยอร์แต่ละชนิดเข้าไว้ด้วยกัน โดยจำแนกเป็นประเภทหรือกลุ่มงานของเลเยอร์เพื่อให้เกิดความสะดวก

วิธีการสร้างกลุ่มให้กับเลเยอร์ มีดังนี้

1. ในพาเล็ต Layers คลิกปุ่ม New Layer Group จะปรากฏโฟลเดอร์ใหม่และจะมีชื่อว่า Group 1

2. ถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อกลุ่มให้ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อ Group 1 แล้วพิมพ์ชื่อใหม่ที่ต้องการแล้วกดปุ่ม Enter

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

3. การเพิ่มเลเยอร์ใหม่ในกลุ่มให้คลิกเมาส์ที่ไอคอน 

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด
 จะปรากฏเลเยอร์ใหม่ที่อยู่ใน Layer Animal คือ Layer 1

4. การดูเลเยอร์ต่างๆ ที่อยู่ในกลุ่มของ Layer ให้คลิกเมาส์ที่สัญลักษณ์  

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด
  ซึ่งจะพบกับเลเยอร์ที่อยู่ในกลุ่มเลเยอร์ที่สร้างไว้ ถ้าเป็นสัญลักษณ์ 
การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด
  หมายถึงเปิดให้เห็นเลเยอร์ที่อยู่ข้างในกลุ่ม

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

5. ถ้าต้องการนำเลเยอร์ที่อยู่ด้านนอกกลุ่มของเลเยอร์ย้ายเข้าไปอยู่ในกลุ่ม ให้คลิกเมาส์ที่เลเยอร์ที่สร้างไว้แล้ว จากนั้นลากเมาส์ที่เลเยอร์นั้นแล้วนำไปวางที่กลุ่มเลเยอร์ที่ต้องการย้ายเข้าไปจะเห็นว่าเลเยอร์ที่ต้องการย้ายนั้นเข้าไปอยู่ในกลุ่มเลเยอร์ สังเกตได้จากตัวอย่างของรูปภาพจะเขยิบเข้าไปด้านใน

6. ถ้าต้องการย้ายเลเยอร์ออกจากกลุ่มเลเยอร์ ให้นักเรียนคลิกเมาส์ที่เลเยอร์ที่ต้องการย้ายจากนั้นคลิกเมาส์ค้างไว้แล้วนำมาวางบนเลเยอร์ใดก็ได้ที่อยู่ด้านนอกของกลุ่ม Layer

14 ตกแต่งเลเยอร์ให้สวยงามยิ่งขึ้นด้วย Layer Style

Layer Style เป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้สำหรับตกแต่งรูปภาพในเลเยอร์ให้มีลักษณะพิเศษที่สวยงามมากยิ่งขึ้น เช่น การกำหนดแสงเงา, กำหนดความหนาลึกของภาพแบบ 3 มิติ โดย Layer Style จะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ซ้อนทับผสานลงไปกับรูปภาพในเลเยอร์หลัก โดยในขณะที่รูปภาพต้นฉบับยังคงมีรายละเอียดเหมือนเดิม โดยมีวิธีการใช้งาน Layer Style ดังนี้

1. คลิกเมาส์ที่เลเยอร์ที่ต้องการใส่เอฟเฟ็กต์ จากนั้นคลิกเมาส์ที่ปุ่ม บนพาเล็ต Layers จากนั้นคลิกเลือกรูปแบบของเอฟเฟ็กต์ที่ต้องการหรือดับเบิ้ลคลิกที่เลเยอร์ ซึ่งจะปรากฏไดอะล็อกซ์บล็อกซ์ของ Layer Style

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

       2. สามารถกำหนดรายละเอียดต่างๆ ของ Layer Style ได้จากทางขวามือ โดยด้านซ้ายมือจะเป็นรูปแบบของ Layer Style

การจัดการกับวัตถุโดยเลือกใช้คำสั่ง send to back หมายถึงข้อใด

การแปลงเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดา

 เมื่อเปิดไฟล์ภาพทั่วไปขึ้นมาใช้งานครั้งแรก ภาพนั้นจะอยู่ในเลเยอร์ชื่อ Background เสมอ ซึ่งเป็นเลเยอร์พิเศษที่แตกต่างจากเลเยอร์ธรรมดา คือ

            - จะอยู่ด้านล่างสุดของพาเนลเสมอ และ 1 ไฟล์ภาพมีได้เพียงเลเยอร์เดียว
            - ไม่สามารถปรับให้โปร่งใส, ย้ายตำแหน่ง หรือเปลี่ยนชื่อได้
            - ไม่สามารถใช้เอฟเฟ็คต์ สไตล์ และเลเยอร์มาสก์ได้ (สังเกตปุ่มคำสั่งที่ใช้ไม่ได้จะเป็นสีเทา)
            - ใน Photoshop เราสามารถสร้างเลเยอร์ธรรมดาซ้อนบนเลเยอร์ Background สำหรับวาดภาพใหม่ หรือ Copy ชิ้นส่วนภาพจากที่อื่นมาวางซ้อนลงไป ตลอดจนแปลงเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดาหรือกลับกันก็ได้

 วิธีเปลี่ยนเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดา

       หากต้องการปรับแต่งหรือตัดต่อภาพ โดยภาพที่จะแก้ไขอยู่ในเลเยอร์ Background เราต้องแปลงเลเยอร์ Background ให้เป็นเลเยอร์ธรรมดาก่อน ซึ่งทำได้ 2 วิธี

วิธีที่ 1 ดับเบิลคลิกที่เลเยอร์ Background บนพาเนล Layers แล้วตั้งชื่อใหม่

           1.ดับเบิลคลิกบนเลเยอร์

           2.ตั้งชื่อเลเยอร์ใหม่ หรือใช้ชื่อ Layer 0

           3.เมื่อตั้งค่าเสร็จให้กดปุ่ม OK

        วิธีที่ 2 คลิกขวาบนเลเยอร์ Background เลือกคำสั่ง Layer From Background แล้วทำตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 ของหัวข้อที่ผ่านมา

วิธีเปลี่ยนเลเยอร์ธรรมดาเป็นเลเยอร์ Background

       ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนเลเยอร์ธรรมดาเป็นเลเยอร์ Background ให้คลิกเลือกเลเยอร์ที่ต้องการแปลงบนพาเนล Layers แล้วเลือกคำสั่ง Layer > New > Background From Layer (ภาพต้องไม่มีเลเยอร์ Background อยู่ก่อน)

          1.เลือกเลเยอร์ที่จะแปลงเป็น Background

          2.เลือกคำสั่ง Layer > New > Background From Layer

การแปลงเลเยอร์ธรรมดาเป็นเลเยอร์ Background

เมื่อเปิดไฟล์ภาพทั่วไปขึ้นมาใช้งาน ภาพนั้นจะอยู่ในเลเยอร์ชื่อ Background ซึ่งเป็นเลเยอร์พิเศษที่แตกต่างจากเลเยอร์ธรรมดา คือ
1. จะอยู่ด้านล่างสุดของพาเนลเสมอ และมีได้เพียงเลเยอร์เดียว 
2. ไม่สามารถทำให้โปร่งใส ย้ายตำแหน่ง หรือเปลี่ยนชื่อได้
3. ไม่สามารถใช้เอฟเฟ็คต์และเลเยอร์มาสก์ได้

ใน Photoshop สามารถสร้างเลเยอร์ธรรมดาซ้อนบนเลเยอร์ Background เพื่อใช้สำหรับวาดภาพใหม่ หรือ Copy ชิ้นส่วนภาพที่อื่นมาวางซ้อนลงไป ตลอดจนสามารถแปลงเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดาหรือกลับกันก็ได้
การแปลงเลเยอร์ Background
               1. แปลงเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดา โดยใช้วิธีดับเบิลคลิกที่เลเยอร์ Background บนพาเนล Layers แล้วตั้งชื่อใหม่
              2. แปลงเลเยอร์ธรรมดา เป็นเลเยอร์ Background โดยคลิกเลือกเลเยอร์นั้นบนพาเนล Layers แล้วเลือกคำสั่ง Layer --> New -->   Background from Layer