12c6 และ 24mg12 สองอะตอมนี้มีอะไรเหมือนกัน

.................................................................................................................................... .........................
เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรียนรมย์บุรพี ทิ ยาคม รัชมังคลาภิเษก

ตามที่ข้าพเจ้า นางสาวสุดารัตน์ ประกอบดี ตำแหน่ง ครู ได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชา
วิทยาศาสตร์กายภาพ รหัสวชิ า ว32102 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563

ในการน้ีขา้ พเจา้ ได้ทำโครงสร้างรายวชิ า เปน็ ท่เี รยี บรอ้ ยแล้ว จงึ ขออนุมัติใช้โครงสรา้ งรายวชิ า
ดังกล่าว ในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายละเอียดดังเอกสารทแ่ี นบมานี้

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา

(ลงชื่อ)

(นางสาวสุดารตั น์ ประกอบดี)

ตำแหนง่ ครู

ความเห็นหวั หน้ากลมุ่ สาระฯ ความเหน็ หัวหน้ากลมุ่ งานวิชาการ

....................................................................... .......................................................................

ลงช่ือ ลงช่อื

(นายธนิต มาพทิ ักษ์) (นางลดั ดา ฉายละออ)

ความเห็นรองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนรมยบ์ รุ ีพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก

.............................................................................................................................................. ..................

ลงชอ่ื

(นายอภิชิต คารศรี)

ความเห็นผ้อู ำนวยการโรงเรยี นรมย์บรุ ีพิทยาคม รชั มังคลาภิเษก

......................................................................................................................................... .......................

ลงชือ่

(นายภวู นาถ ยพุ านวทิ ย์)

2

คำอธบิ ายรายวิชา

ชอ่ื รายวิชา วิทยาศาสตรก์ ายภาพ(เคมี) รหสั วชิ า ว 30102 สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1/2563 เวลาเรยี น 2 คาบ/สัปดาห์ หน่วยกิต 1 หนว่ ย

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และกลุ่มหมอก

อนุภาคมลู ฐานของอะตอม สญั ลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์โมเลกลุ ไอออน และไอโซโทปของธาตุ วิวฒั นาการของ การ

สร้างตารางธาตุและตารางธาตุ ในปัจจุบัน แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่และคาบ ศึกษา

การเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลของสาร การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ การอ่านชื่อสารประกอบ

โคเวเลนต์ สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึด เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สมบัติของสารประกอบโคเว

เลนต์ การเกิดพันธะไอออนิก การเขียนสูตรและเรียกชื่อ สารประกอบไอออนิก และสมบัติ บางประการของ

สารประกอบไอออนิก สมบัติของกรด เบส และเกลือ สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์ สารประกอบ

ไฮโดรคาร์บอน ศึกษาโครงสรา้ ง สมบตั ิ ประเภทของพอลิเมอร์ ตัวอย่างพอลเิ มอร์ธรรมชาตแิ ละพอลิเมอร์สังเคราะห์

ปฏิกิริยาการสงั เคราะห์พอลิเมอร์ รวมทั้งการใชป้ ระโยชนแ์ ละผลกระทบจากการใช้ ผลิตภัณฑ์ของพอลิเมอร์ ศึกษา

และทดลองการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี อัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี ศึกษาและทดลองปัจจยั ท่ีมผี ลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยา

เคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันและการใช้ประโยชน์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ศึกษาสมบัติของสาร กัมมันตรังสีและ

คำนวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี ประโยชน์และอันตรายของสารกัมมันตรังสี โดยใช้กระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้ผู้เรียนเกิด

ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการ นำ

ความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวัน มคี วามรบั ผิดชอบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม และมีเจตคติทด่ี ตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์

ตวั ช้วี ดั

ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบัตขิ องสสารกบั โครงสร้างและ
แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และ
การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

ม.5/1 ระบวุ า่ สารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสตู ร เคมี
ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์กับแบบจำลองอะตอม
แบบกลมุ่ หมอก
ม.5/3 ระบุจำนวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน ของอะตอม และไอออนท่เี กดิ จากอะตอมเดียว
ม.5/4 เขียนสญั ลกั ษณ์นิวเคลยี รข์ องธาตุและระบุ การเป็นไอโซโทป
ม.5/5 ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบุว่าธาตุเป็น โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรือ
กลุ่มธาตแุ ทรนซิชัน จากตารางธาตุ
ม.5/6 เปรียบเทียบสมบัตกิ ารนำไฟฟ้า การใหแ้ ละ รับอิเล็กตรอนระหวา่ งธาตใุ นกลุ่มโลหะกบั อโลหะ

3

ม.5/7 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอยา่ งประโยชน์ และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแท

รนซิชนั

ม.5/8 ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจำนวนคู่อิเล็กตรอน

ระหวา่ งอะตอมคู่ร่วมพันธะจากสูตรโครงสรา้ ง

ม.5/9 ระบุสภาพขัว้ ของสารท่โี มเลกุลประกอบดว้ ย 2 อะตอม

ม.5/10 ระบุสารท่ีเกดิ พนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสตู รโครงสร้าง

ม.5/11 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพข้วั

หรือการเกิดพันธะไฮโดรเจน

ม.5/12 เขยี นสตู รเคมขี องไอออนและสารประกอบไอออนิก

ม.5/13 ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตัว พร้อมให้เหตุผลและระบุว่าสารละลายที่ได้

เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ หรอื นอนอเิ ล็กโทรไลต์

ม.5/14 ระบสุ ารประกอบอินทรยี ์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอ่ิมตัวหรอื ไม่อ่ิมตัวจากสูตรโครงสร้าง

ม.5/15 สืบคน้ ข้อมลู และเปรียบเทียบสมบัตทิ างกายภาพระหวา่ งพอลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอรข์ อง พอ

ลิเมอร์ชนดิ นั้น

ม.5/16 ระบุสมบัติความเปน็ กรด-เบส จากโครงสร้าง ของสารประกอบอินทรยี ์

ม.5/17 อธบิ ายสมบัติการละลายในตวั ทำละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร

ม.5/18 วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอพลาสติกและเทอร์มอเซต

ของพอลิเมอร์ และการนำพอลิเมอร์ไปใชป้ ระโยชน์

ม.5/19 สืบค้นขอ้ มลู และนำเสนอผลกระทบของการใชผ้ ลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิตและ ส่ิงแวดล้อม

พร้อมแนวทางป้องกันหรอื แกไ้ ข

ม.5/20 ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของ

ปฏิกิรยิ าเคมี

ม.5/21 . ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้นพื้นที่ผิว อุณหภูมิและตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีผลต่ออัตราการ

เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

ม.5/22 ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และ แปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมี ของ

ปฏกิ ริ ิยาเคมี

ม.5/23 สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั

หรอื ในอตุ สาหกรรม

ม.5/24 อธิบายความหมายของปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์

ม.5/25 อธบิ ายสมบตั ขิ องสารกมั มนั ตรงั สี และ ค านวณครง่ึ ชวี ิตและปริมาณของสาร กัมมนั ตรังสี

รวม 25 ตัวช้ีวดั

4

โครงสร้างรายวชิ า

รายวิชา วิทยาศาสตรก์ ายภาพ(เคมี) รหัสวิชา ว30102 สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอน

ปลาย ชั้นปีที่ 5 เวลาเรยี น/สปั ดาห์ 2 คาบ เวลาเรียน/ภาคเรียน 40 คาบ หน่วยกิต 1 หนว่ ย อตั ราส่วน

ระหว่างภาค/ปลายภาค 70:30 ภาคเรยี นท่ี 1/2563

ลำ ชอื่ หน่วย สาระการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด ช้นิ งาน จำนวน น้ำหนกั คะแนนวัดผล

ดบั การเรยี นรู้ คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม

1 โครงสรา้ ง -สารเคมีทุกชนดิ สามารถระบุไดว้ า่ ว 2.1 สมุด 10 15 10 - 25

อะตอมและ เปน็ ธาตหุ รอื สารประกอบ และ อยูใ่ นรปู ของ ม.5/1 ระบวุ า่ ใบงาน

ตารางธาตุ อะตอม โมเลกุล หรือไอออนได้ โดยพิจารณา สารเป็นธาตุหรือ แบบ-

จากสูตรเคมี สารประกอบ ฝกึ หัด

-แบบจำลองอะตอมใช้อธบิ ายตำแหน่งของ และอยู่ในรปู

โปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม อะตอม โมเลกลุ

โดยโปรตอนและนวิ ตรอนอยู่ รวมกนั ใน หรือไอออนจาก

นิวเคลยี ส ส่วนอิเลก็ ตรอนเคล่ือนท่รี อบ สูตรเคมี

นวิ เคลียส ซึ่งในแบบจำลองอะตอมของโบร์ ม.5/2

อิเลก็ ตรอนเคลอ่ื นทเ่ี ปน็ วง โดยแตล่ ะวงมี เปรยี บเทยี บ

ระยะห่างจากนวิ เคลยี สและมีพลงั งานต่างกนั ความเหมือน

และอิเลก็ ตรอนวงนอกสุด เรียกว่า และความ

เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน แตกตา่ งของ

- แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แสดง แบบจำลอง

โอกาสท่ีจะพบอิเลก็ ตรอนรอบนิวเคลียส อะตอมของโบร์

ในลักษณะกลุ่มหมอก เน่อื งจากอเิ ล็กตรอน กับแบบจำลอง

มขี นาดเล็กและเคล่อื นที่อย่างรวดเร็ว อะตอมแบบ

ตลอดเวลา จึงไม่สามารถระบุตำแหนง่ ท่ี กลมุ่ หมอก

แนน่ อนได้ ม.5/3 ระบุ

- อะตอมของธาตเุ ปน็ กลางทางไฟฟ้า จำนวนโปรตอน

มจี ำนวนโปรตอนเทา่ กับจำนวนอเิ ล็กตรอน นวิ ตรอน และ

การระบชุ นิดของธาตุพิจารณาจากจำนวน อเิ ลก็ ตรอน ของ

โปรตอน อะตอม และ

-เมื่ออะตอมของธาตุมีการให้หรือรับ ไอออนทเี่ กดิ

อิเล็กตรอน ทำใหจ้ ำนวนโปรตอนและ จากอะตอม

อิเล็กตรอนไม่เทา่ กนั เกิดเป็นไอออน เดยี ว

5

ลำ ชอ่ื หน่วย สาระการเรียนรู้ ตวั ชี้วดั ช้นิ งาน จำนวน นำ้ หนกั คะแนนวัดผล
ดับ การเรยี นรู้
คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม

โดยไอออนที่มจี ำนวนอิเลก็ ตรอนนอ้ ยกวา่ ม.5/4 เขียน

จำนวนโปรตอน เรียกว่า ไอออนบวก สัญลักษณ์

สว่ นไอออนที่มจี ำนวนอิเล็กตรอนมากกวา่ นิวเคลยี รข์ อง

โปรตอน เรยี กว่า ไอออนลบ ธาตแุ ละระบุ

-สญั ลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ ประกอบด้วยสัญลักษณ์ธากตาุรเเลปข็น

อะตอม และเลขมวล โดยเลขอะตอมเปน็ ไอโซโทป

ตวั เลขท่ีแสดงจำนวนโปรตอน ในอะตอม ม.5/5 ระบุหมู่

เลขมวลเปน็ ตัวเลขทีแ่ สดงผลรวมของจำนวน และคาบของ

โปรตอน กบั นิวตรอนในอะตอม ธาตุ และระบวุ ่า

ธาตชุ นิดเดียวกนั แตม่ ีเลขมวลต่างกัน ธาตเุ ปน็ โลหะ

เรยี กว่า ไอโซโทป อโลหะ กง่ึ โลหะ

-ธาตุจดั เปน็ หมวดหมไู่ ด้อยา่ งเป็นระบบ กลมุ่ ธาตเุ รพรี

โดยอาศัยตารางธาตุซึง่ ในปัจจุบันจดั เรยี ง เซนเททีฟ หรอื

ตามเลขอะตอมและความคล้ายคลงึ ของ กลมุ่ ธาตแุ ทรน

สมบตั ิแบง่ ออกเปน็ หม่ซู ึ่งเปน็ แถวในแนวต้ัง ซิชัน จากตาราง

และคาบซ่ึงเป็นแถวในแนวนอนทำใหธ้ าตุที่มี ธาตุ

สมบัตเิ ปน็ โลหะ อโลหะและก่ึงโลหะ ม.5/6

อยู่เป็นกลุ่มบรเิ วณใกล้ๆ กัน และแบง่ ธาตุ เปรียบเทียบ

ออกเปน็ กล่มุ ธาตเุ รพรีเซนเททฟี และ สมบตั กิ ารนำ

กลมุ่ ธาตุแทรนซิชัน ไฟฟา้ การให้

-ธาตุในกลมุ่ โลหะ จะนำไฟฟา้ ไดด้ แี ละ และ รับ

มแี นวโน้มให้อเิ ลก็ ตรอน ส่วนธาตใุ นกลุ่ม อิเล็กตรอน

อโลหะ จะไมน่ ำไฟฟ้า และมแี นวโน้ม ระหว่างธาตใุ น

รบั อเิ ลก็ ตรอน โดยธาตุเรพรเี ซนเททีฟในหมู่ กลุ่มโลหะกับ

IA - IIA และธาตุแทรนซิชนั ทกุ ธาตจุ ัดเปน็ อโลหะ

ธาตใุ นกลุ่มโลหะ ส่วนธาตุเรพรเี ซนเททีฟ ม.5/7 สืบค้น

ในหมู่ IIIA - VIIA มีท้งั ธาตใุ นกลุม่ โลหะและ ขอ้ มลู และ

อโลหะ สว่ นธาตุเรพรเี ซนเททีฟในหมู่VIIIA นำเสนอตัวอย่าง

จัดเปน็ ธาตอุ โลหะท้ังหมด ประโยชน์ และ

-ธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ ัน อันตรายท่ีเกิด

นำมาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ได้ จากธาตุเรพรี

6

ลำ ช่ือหน่วย สาระการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด ชนิ้ งาน จำนวน นำ้ หนกั คะแนนวัดผล
ดับ การเรยี นรู้
คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม
2 พนั ธะเคมี
หลากหลายซึ่งธาตุบางชนิดมีสมบัตทิ เ่ี ป็น เซนเททีฟ และ

อันตราย จึงต้องคำนงึ ถึงการป้องกนั อันตราย ธาตแุ ทรนซชิ นั

เพ่ือความปลอดภยั ในการใชป้ ระโยชน์

-พันธะโคเวเลนตเ์ ปน็ การยึดเหนย่ี วระหวา่ ง ว 2.1 สมดุ 10 10 10 - 20

อะตอมดว้ ยการใชเ้ วเลนซอ์ เิ ล็กตรอนรว่ มกัน เกมดิ .5/8 ระบวุ า่ ใบงาน

เป็นโมเลกลุ โดยการใชเ้ วเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน พนั ธะโคเวเลนต์ แบบ-

ร่วมกนั 1 ค่เู รยี กวา่ พันธะเด่ียว เขยี นแทน เปน็ พนั ธะเดีย่ ว ฝกึ หดั

ดว้ ยเส้นพันธะ 1 เส้น ในโครงสร้างโมเลกุล พันธะคู่ หรือ

ส่วนการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ พันธะสาม และ

และ 3 คู่ เรยี กวา่ พันธะคู่และพนั ธะสาม ระบุจำนวนคู่

เขียนแทนด้วยเสน้ พันธะ 2 เส้น และ 3 เสน้ อเิ ล็กตรอน

ตามลำดบั ระหว่างอะตอม

-สารท่มี พี ันธะภายในโมเลกุลเปน็ พนั ธะ คู่ร่วมพันธะจาก

โคเวเลนตท์ ัง้ หมดเรยี กว่า สารโคเวเลนต์ สตู รโครงสรา้ ง

โดยสารโคเวเลนต์ทปี่ ระกอบดว้ ย ๒ อะตอม ม.5/9 ระบุ

ของธาตุชนดิ เดียวกันเปน็ สารไมม่ ีข้วั สภาพขัว้ ของ

ส่วนสารโคเวเลนต์ท่ปี ระกอบดว้ ย 2 อะตอม สารท่ีโมเลกุล

ของธาตุต่างชนดิ กนั เป็นสารมขี ว้ั สำหรบั ประกอบด้วย

สารโคเวเลนตท์ ่ีประกอบดว้ ยอะตอม 2 อะตอม

มากกว่า 2 อะตอม อาจเปน็ สารมขี ว้ั หรือ ม.5/10 ระบุสาร

ไม่มีขัว้ ข้ึนอยู่กับรปู รา่ งของโมเลกุล ซงึ่ ท่ีเกดิ พันธะ

สภาพขัว้ ของสารโคเวเลนต์ส่งผลต่อแรง ไฮโดรเจนไดจ้ าก

ดึงดดู ระหวา่ งโมเลกลุ ทท่ี ำให้จุดหลอมเหลว สูตรโครงสรา้ ง

และจุดเดือดของสารโคเวเลนตแ์ ตกตา่ งกัน ม.5/11 อธิบาย

นอกจากนสี้ ารบางชนิดมจี ุดเดอื ดสงู กว่าปกติ ความสมั พนั ธ์

เนือ่ งจากมีแรงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกุลสูง ระหวา่ งจุดเดอื ด

ทเ่ี รียกว่า พันธะไฮโดรเจนซึ่งสารเหลา่ นีม้ ี ของสาร

พนั ธะ N-H O-H หรอื F-Hภายในโครงสรา้ ง โคเวเลนต์กับ

โมเลกุล แรงดงึ ดูด

-สารประกอบไอออนิกส่วนใหญ่เกดิ จาก ระหว่างโมเลกุล

การรวมตวั กนั ของไอออนบวกของธาตุโลหะ ตามสภาพข้วั

7

ลำ ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้ ตวั ชี้วดั ชิ้นงาน จำนวน น้ำหนกั คะแนนวัดผล

ดับ การเรยี นรู้ คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม

และไอออนลบของธาตุอโลหะ ในบางกรณี หรอื การเกิด

ไอออนอาจประกอบดว้ ยกลมุ่ ของอะตอม พนั ธะไฮโดรเจน

โดยเมื่อไอออนรวมตัวกนั เกิดเป็น ม.5/12 เขยี น

สารประกอบไอออนิกจะมสี ดั สว่ นการรวมตัว สตู รเคมขี อง

เพอื่ ทำใหป้ ระจขุ องสารประกอบเปน็ กลาง ไอออนและ

ทางไฟฟ้า โดยไอออนบวกและไอออนลบ สารประกอบ

จะจดั เรยี งตวั สลับตอ่ เน่ืองกันไปใน ๓ มิติ ไอออนิก

เกิดเป็นผลกึ ของสารซ่งึ สูตรเคมขี อง

สารประกอบไอออนิกประกอบดว้ ย

สัญลักษณ์ธาตุทเ่ี ป็นไอออนบวกตามด้วย

สัญลักษณธ์ าตทุ ี่เปน็ ไอออนลบ โดยมีตวั เลข

ทแ่ี สดงจำนวนไอออนแต่ละชนิดเปน็

อัตราส่วนอยา่ งต่ำ

3 สารเคมแี ละ สารจะละลายน้ำไดเ้ มื่อองคป์ ระกอบของ ว 2.1 สมุด 10 15 - 15 30

ผลิตภณั ฑใ์ น สารสามารถเกิดแรงดึงดูดกบั โมเลกลุ ของน้ำ ม.5/13 ระบวุ า่ ใบงาน

ชวี ิต ได้โดยการละลายของสารในน้ำเกดิ ได้ 2 สารเกิดการ แบบ-

ประจำวัน ลกั ษณะ คือ การละลายแบบแตกตัว และ ละลายแบบแตก ฝกึ หดั

การละลายแบบไมแ่ ตกตวั การละลายแบบ ตัวหรอื ไม่แตก

แตกตวั เกิดขนึ้ กับสารประกอบไอออนิก ตัว พรอ้ มให้

และสารโคเวเลนตบ์ างชนิดที่มสี มบตั เิ ป็นกรด เหตุผลและระบุ

หรอื เบส โดยเมื่อสารเกิดการละลาย วา่ สารละลายที่

แบบแตกตวั จะได้ไอออนทส่ี ามารถเคล่ือนท่ี ได้เป็สารละลาย

ไดท้ ำให้ไดส้ ารละลายท่นี ำไฟฟา้ ซึง่ เรียกวา่ อิเล็กโทรไลต์

สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ การละลาย หรอื นอนอเิ ล็ก

แบบไม่แตกตัวเกิดขนึ้ กับสารโคเวเลนต์ โทรไลต์

ท่มี ีข้วั สูงสามารถดงึ ดดู กับโมเลกลุ ของนำ้ ได้ดี ม.5/14 ระบุ

โดยเมื่อเกิดการละลายโมเลกุลของสารจะ สารประกอบ

ไม่แตกตัวเป็นไอออน และสารละลายท่ีได้ อินทรยี ์ประเภท

จะไมน่ ำไฟฟ้าซ่ึงเรียกวา่ สารละลายนอน ไฮโดรคารบ์ อน

อิเล็กโทรไลต์ ว่าอิ่มตวั หรอื ไม่

• สารประกอบอินทรยี ์เป็นสารประกอบของ

8

ลำ ชอ่ื หน่วย สาระการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด ชิ้นงาน จำนวน นำ้ หนักคะแนนวัดผล
ดับ การเรยี นรู้
คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม

คารบ์ อนสว่ นใหญ่พบในสงิ่ มชี ีวิต มีโครงสร้าง อ่มิ ตวั จากสตู ร

หลากหลายและแบ่งไดห้ ลายประเภท โครงสรา้ ง

เนอ่ื งจากธาตุคารบ์ อน สามารถเกิดพนั ธะกบั ม.5/15 สบื ค้น

คาร์บอนดว้ ยกันเองและธาตุอ่ืน ๆ นอกจากนี้ ขอ้ มลู และ

พนั ธะระหว่างคาร์บอนยังมหี ลายรปู แบบ เปรยี บเทียบ

ไดแ้ ก่ พันธะเดี่ยวพันธะคู่ พันธะสาม สมบตั ิทาง

• สารประกอบอินทรียท์ ่ีมีเฉพาะธาตคุ ารบ์ อน กายภาพ

และไฮโดรเจนเป็นองคป์ ระกอบ เรยี กว่า ระหวา่ งพอลิ

สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน โดยสารประกอบ เมอรแ์ ละมอนอ

ไฮโดรคาร์บอนอมิ่ ตัวมีพนั ธะระหว่าง เมอรข์ อง

คารบ์ อนเปน็ พนั ธะเดี่ยวทุกพันธะใน พอลิเมอร์ชนิด

โครงสรา้ ง ส่วนสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน น้ัน

ไม่อิ่มตวั มีพันธะระหวา่ งคารบ์ อนเป็นพนั ธะคู่ ม.5/16 ระบุ

หรอื พันธะสามอย่างน้อย ๑ พันธะ สมบตั ิความเป็น

ในโครงสรา้ ง กรด-เบส จาก

• สารทีพ่ บในชวี ิตประจำวนั มีท้งั โมเลกุล โครงสรา้ ง ของ

ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ พอลเิ มอรเ์ ป็นสารทีม่ ีโสมาเรลปกรุละกอบ

ขนาดใหญ่ที่เกดิ จากมอนอเมอร์หลายโมเลกลุ อินทรีย์

เชอื่ มตอ่ กันดว้ ยพันธะเคมีทำให้สมบตั ิทาง ม.5/17 อธิบาย

กายภาพของพอลิเมอร์แตกต่างจาก สมบัตกิ าร

มอนอเมอร์ท่เี ปน็ สารตั้งต้น เชน่ สถานะ ละลายในตัวทำ

จุดหลอมเหลวการละลาย ละลายชนิดตา่ ง

• สารประกอบอินทรียท์ ี่มหี มู่ -COOH ๆ ของสาร

สามารถแสดงสมบัตคิ วามเป็นกรดสว่ น ม.5/18

สารประกอบอินทรยี ท์ มี่ หี มู่ -NH2 สามารถ วิเคราะห์และ

แสดงสมบัติความเป็นเบส อธบิ าย

• การละลายของสารพจิ ารณาไดจ้ ากความ ความสัมพนั ธ์

มีขั้วของตวั ละลายและตวั ทำละลาย โดย ระหว่าง

สารสามารถละลายได้ในตวั ทำละลายทม่ี ี โครงสรา้ งกับ

ขั้วใกลเ้ คียงกันโดยสารมีข้วั ละลายในตวั สมบตั ิเทอร์มอ

ทำละลายท่มี ีข้ัวสว่ นสารไม่มีข้วั ละลายใน พลาสตกิ และ

9

ลำ ชือ่ หน่วย สาระการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด ชิน้ งาน จำนวน น้ำหนกั คะแนนวดั ผล

ดับ การเรียนรู้ คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม

ตัวทำละลายที่ไม่มีขวั้ และสารมขี ั้วไมล่ ะลาย เทอร์มอเซตของ

ในตวั ทำละลายที่ไมม่ ีขวั้ พอลเิ มอร์ และ

• โครงสร้างของพอลิเมอร์อาจเปน็ แบบเส้น การนำพอลิ

แบบก่งิ หรอื แบบรา่ งแห โดยพอลิเมอรแ์ บบ เมอรไ์ ปใช้

เส้นและแบบก่ิง มีสมบัติเทอร์มอพลาสติก ประโยชน์

สว่ นพอลเิ มอร์แบบร่างแห มีสมบตั ิ ม.5/19 สบื ค้น

เทอร์มอเซตจงึ มีการใช้ประโยชน์ได้แตกตา่ ง ขอ้ มลู และ

กนั นำเสนอ

• การใช้ผลิตภัณฑพ์ อลเิ มอร์ในปริมาณมาก ผลกระทบของ

กอ่ ให้เกดิ ปัญหาทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสงิ่ มีชีวติ การใช้ผลิตภณั ฑ์

และส่งิ แวดล้อมดงั นน้ั จึงควรตระหนกั ถึง พอลเิ มอรท์ ี่มตี ่อ

การลดปรมิ าณการใช้การใช้ซ้ำ และ ส่งิ มชี วี ติ และ

การนำกลับมาใชใ้ หม่ สิ่งแวดล้อม

พรอ้ มแนวทาง

ป้องกนั หรือ

แกไ้ ข

4 ปฏิกริ ิยาเคมี ปฏกิ ิรยิ าเคมที ำให้เกิดการเปลย่ี นแปลงของ ว 2.1 สมุด 10 10 - 15 25

สารโดยปฏกิ ิรยิ าเคมีอาจใหพ้ ลังงาน ม.5/20 ระบุ ใบงาน

ความรอ้ น พลงั งานแสง หรือพลงั งานไฟฟ้า สูตรเคมีของสาร แบบ-

ทีส่ ามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ ได้ ตั้งต้น ฝึกหัด

• ปฏิกิริยาเคมแี สดงไดด้ ้วยสมการเคมีซึง่ มี ผลิตภัณฑ์ และ

สูตรเคมีของสารตงั้ ตน้ อย่ทู างดา้ นซา้ ยของ แปลความหมาย

ลูกศรและสูตรเคมีของผลิตภัณฑอ์ ยู่ทาง ของสัญลักษณ์

ด้านขวาโดยจำนวนอะตอมรวมของแตล่ ะธาตุ ในสมการเคมี

ทางดา้ นซา้ ยและขวาเทา่ กัน นอกจากน้ี ของปฏกิ ิรยิ า

สมการเคมยี ังอาจแสดงปัจจยั อนื่ เชน่ สถานะ พเลคังมงี านท่ี

เก่ียวข้อง ตัวเรง่ ปฏิกริ ิยาเคมีทีใ่ ช้ ม.5/21 .

• อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมขี ้ึนอยู่กบั ทดลองและ

ความเข้มข้นอุณหภมู ิพื้นทผ่ี ิว หรอื อธบิ ายผลของ

ตวั เร่งปฏกิ ิริยา ความเข้มข้น

• ความรเู้ กยี่ วกับปัจจยั ที่มผี ลตอ่ อัตรา พน้ื ทผ่ี ิว

10

ลำ ช่อื หน่วย สาระการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั ช้ินงาน จำนวน นำ้ หนักคะแนนวดั ผล
ดับ การเรียนรู้
คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม

การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมสี ามารถนำไปใช้ อุณหภูมแิ ละ

ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั และใน ตัวเร่งปฏกิ ริ ิยาท่ี

อตุ สาหกรรม ปฏิกิริยาเคมบี างประเภท มผี ลตอ่ อตั รา

เกดิ จากการถา่ ยโอนอเิ ลก็ ตรอนของสาร การเกิดปฏกิ ิรยิ า

ในปฏกิ ิริยาเคมีซ่ึงเรียกว่า ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์ เคมี

• สารที่สามารถแผร่ ังสีไดเ้ รยี กว่า ม.5/22 ระบุ

สารกัมมันตรังสีซ่ึงมีนิวเคลยี สทส่ี ลายตัวอย่าง สตู รเคมีของสาร

ต่อเนื่อง ระยะเวลาท่สี ารกัมมันตรงั สีสลายตวั ตั้งต้น

จนเหลือครึง่ หน่งึ ของปริมาณเดิม เรียกวา่ ผลติ ภณั ฑ์ และ

ครึ่งชีวติ โดยสารกัมมันตรงั สีแต่ละชนดิ แปลความหมาย

มคี ่าครึ่งชีวิตแตกต่างกัน ของสัญลักษณ์

• รังสีทแ่ี ผจ่ ากสารกัมมนั ตรังสมี หี ลายชนดิ ในสมการเคมี

เชน่ แอลฟา บีตา แกมมา ซึ่งสามารถนำมา ของปฏกิ ริ ยิ า

ใชป้ ระโยชนไ์ ด้แตกต่างกนั การนำสาร เคมี

กมั มนั ตรังสีแต่ละชนิดมาใช้ต้องคำนึงถงึ ม.5/23 สืบค้น

ผลกระทบต่อสงิ่ มีชวี ิตและสงิ่ แวดล้อม ข้อมลู และ

รวมทัง้ มกี ารจดั การอย่างเหมาะสม อธบิ ายปจั จัยทม่ี ี

ผลตอ่ อตั ราการ

เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

ทีใ่ ช้ประโยชน์ใน

ชีวิตประจำวัน

หรอื ใน

อุตสาหกรรม

ม.5/24 อธบิ าย

ความหมายของ

ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์

ม.5/25 อธบิ าย

สมบตั ิของสาร

กัมมันตรังสี

และ ค านวณ

คร่ึงชีวิตและ

11

ลำ ช่อื หน่วย สาระการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด ชน้ิ งาน จำนวน นำ้ หนักคะแนนวัดผล
ดับ การเรยี นรู้ คาบ รายภาค กลางภาค ปลายภาค รวม

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ปริมาณของสาร
กัมมนั ตรังสี
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ รวม 50 20 30 100
2. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ
3. มวี ินัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ

12

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

เวลา 12 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั

ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและ

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด

สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

ว 2.1 ม.5/1 ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจาก

สูตรเคมี

ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์กับ

แบบจำลองอะตอมแบบกล่มุ หมอก

ว 2.1 ม.5/3 ระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนที่เกิดจาก

อะตอมเดยี ว

ว 2.1 ม.5/4 เขียนสญั ลกั ษณน์ วิ เคลียรข์ องธาตแุ ละระบุการเป็นไอโซโทป

ว 2.1 ม.5/5 ระบุหมู่และคาบของธาตุและระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซน-

เททฟี หรือกล่มุ ธาตแุ ทรนซิชนั จากตารางธาตุ

ว 2.1 ม.5/6 เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับ

อโลหะ

ว 2.1 ม.5/7 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟ

และธาตแุ ทรนซชิ ัน

2. สาระการเรยี นรู้

2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) สารเคมีทุกชนิดสามารถระบุได้ว่าเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปของอะตอม โมเลกุล หรือ
ไอออนได้ โดยพิจารณาจากสตู รเคมี
2) แบบจำลองอะตอมใชอ้ ธบิ ายตำแหน่งของโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนในอะตอม โดยโปรตอนและ
นิวตรอนอยรู่ วมกนั ในนิวเคลียส ส่วนอเิ ลก็ ตรอนเคลอ่ื นท่ีรอบนิวเคลยี ส ซงึ่ ในแบบจำลองอะตอมของโบร์
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เปน็ วง โดยแต่ละวงมรี ะยะหา่ งจากนิวเคลียสและมีพลังงานต่างกัน และอิเล็กตรอน
วงนอกสดุ เรียกว่า เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน
3) แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แสดงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลยี สในลกั ษณะกลุ่มหมอก
เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลา จึงไม่สามารถระบุตำแหน่งท่ี
แนน่ อนได้

13

4) อะตอมของธาตุเป็นกลางทางไฟฟ้า มีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน การระบุชนิดของธาตุ
พิจารณาจากจำนวนโปรตอน

5) เมื่ออะตอมของธาตุมีการให้หรือรับอิเล็กตรอน ทำให้จำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนไม่เท่ากัน เกิดเป็น
ไอออน โดยไอออนที่มีจำนวนอิเล็กตรอนน้อยกว่าจำนวนโปรตอน เรียกว่า ไอออนบวก ส่วนไอออนที่มี
จำนวนอเิ ล็กตรอนมากกวา่ โปรตอน เรยี กว่า ไอออนลบ

6) สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ประกอบด้วยสัญลักษณ์ธาตุ เลขอะตอมและเลขมวล โดยเลขอะตอมเป็นตัวเลขท่ี
แสดงจำนวนโปรตอนในอะตอม เลขมวลเป็นตัวเลขที่แสดงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอนใน
อะตอม ธาตุชนดิ เดยี วกนั แต่มเี ลขมวลตา่ งกนั เรยี กวา่ ไอโซโทป

7) ธาตุจัดเป็นหมวดหมู่ได้อย่างเป็นระบบ โดยอาศัยตารางธาตุ ซึ่งในปัจจุบันจัดเรียงตามเลขอะตอมและ
ความคล้ายคลึงของสมบัติ แบ่งออกเป็นหมู่ซึ่งเป็นแถวในแนวตั้ง และคาบซึ่งเป็นแถวในแนวนอน ทำให้
ธาตุที่มีสมบัติเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ อยู่เป็นกลุ่มบริเวณใกล้ ๆ กัน และแบ่งธาตุออกเป็นกลุ่ม
ธาตุเรพรีเซนเททฟี และกล่มุ ธาตแุ ทรนซชิ นั

8) ธาตุในกลุ่มโลหะ จะนำไฟฟ้าได้ดี และมีแนวโน้มให้อิเล็กตรอน ส่วนธาตุในกลุ่มอโลหะ จะไม่นำไฟฟ้า
และมีแนวโนม้ รบั อเิ ลก็ ตรอน โดยธาตุเรพรเี ซนเททฟี ในหมู่ IA-IIA และธาตุแทรนซชิ ันทุกธาตุ จัดเป็นธาตุ
ในกลุ่มโลหะ ส่วนธาตเุ รพรีเซนเททีฟในหมู่ IIIA-VIIA มีทั้งธาตุในกลุ่มโลหะและอโลหะส่วนธาตุเรพรีเซน
เททฟี ในหมู่ VIIIA จัดเปน็ ธาตุอโลหะทงั้ หมด

9) ธาตเุ รพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชันนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำวันไดห้ ลากหลาย ซ่ึงธาตุบางชนิด
มสี มบัตทิ ีเ่ ปน็ อนั ตราย จึงต้องคำนึงถงึ การปอ้ งกนั อนั ตรายเพ่ือความปลอดภยั ในการใชป้ ระโยชน์

2.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
(พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา)

3. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

อะตอมไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึงต้องศึกษาโดยการสร้างแบบจำลองขึ้นมา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์
พยายามคิดสร้างแบบจำลองอะตอมขึ้นโดยอาศัยความรู้ ข้อมูล ที่ได้จากการศึกษา การทดลอง แล้วนำมาใช้สร้าง
แบบจำลอง เพื่อนำความรู้มาใช้อธิบายโครงสร้างของอะตอม และแต่แบบจำลองที่สร้างขึ้นมานั้น สามารถ
เปลี่ยนแปลงได้ตามผลการทดลองที่ค้นพบใหม่ เช่น แบบจำลองอะตอมของดอลตัน เสนอว่า ธาตุประกอบด้วย
อนภุ าคขนาดเล็กท่เี รยี กวา่ อะตอม ซง่ึ ไม่สามารถแบ่งแยกได้

นักวทิ ยาศาสตรไ์ ดจ้ ดั ธาตตุ ่าง ๆ ลงในตารางธาตุ โดยอาศยั การเรยี งเลขอะตอมของธาตุ ทำให้สามารถแบง่ ธาตุใน
ตารางธาตุออกเป็น 18 หมู่ 7 คาบ ซึ่งแบ่งเป็นธาตุกลุ่มย่อย A หรือเรียกว่า ธาตุเรพรีเซ็นเททีฟ (representative
element) ที่มสี มบตั เิ ป็นโลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ และธาตกุ ลุม่ ย่อย B หรือธาตุแทรนซิชัน (transition element)
การจัดเรียงธาตุเป็นหมวดหมู่ทำให้ธาตุในหมู่เดียวกันมีสมบัติคล้ายกันและมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากัน และธาตุใน
คาบเดียวกันมีจำนวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเท่ากัน การจัดตารางธาตุชว่ ยให้สามารถทราบตำแหน่งของธาตุ
ได้

14

ธาตุเป็นสารบริสุทธ์ิที่ไม่สามารถแยกสลายเปน็ สารอืน่ ได้อีก เมื่อใช้สมบัตขิ องธาตุเป็นเกณฑ์ จะจัดหมวดหมู่ของ
ธาตไุ ดใ้ นรูปของตารางธาตุ ซง่ึ สามารถแบ่งธาตอุ อกเป็นธาตโุ ลหะ ธาตอุ โลหะ และธาตุกึ่งโลหะ ท่ีมีสมบัตแิ ตกต่างกัน
ออกไป

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้

1) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

2) ทักษะการสงั เกต

3) ทักษะการส่อื สาร

4) ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั

5) ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้

3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- แบบบันทึกกิจกรรม เรอื่ ง ปฏกิ ิริยาระหว่างโลหะบางชนดิ กบั น้ำ
- ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง แบบจำลองอะตอม
- ใบงานที่ 1.2 เร่ือง องค์ประกอบของอะตอม
- ใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง ตารางธาตุ
- ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง สมบตั ิของธาตแุ ละการใชป้ ระโยชน์
- ผังมโนทศั น์ เรื่อง แบบจำลองอะตอม
- ผงั มโนทัศน์ เรอื่ ง องคป์ ระกอบของอะตอม
- ผังมโนทัศน์ เรื่อง ตารางธาตุ
- ผงั มโนทศั น์ เร่ือง สมบัตขิ องธาตุและการใช้ประโยชน์

15

6. การวัดและการประเมินผล

รายการวัด วิธวี ัด เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
แบบประเมินช้ินงาน/ ระดบั คุณภาพ 2
6.1 การประเมินชน้ิ งาน/ - ตรวจผงั มโนทศั น์ ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์

ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง แบบจำลอง แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจริง

อะตอม - ใบงานที่ 1.1-1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- แบบฝึกหัด รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจผังมโนทศั น์ - ใบงานท่ี 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เรื่อง องคป์ ระกอบ - ใบงานท่ี 1.4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- แบบฝึกหัด ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ของอะตอม - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2
- แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
- ตรวจผงั มโนทัศน์ การทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
เรอื่ ง ตารางธาตุ

- ตรวจผังมโนทัศน์

เรื่อง สมบัตขิ องธาตุ

และการใช้ประโยชน์

6.2 การประเมินก่อนเรียน ตรวจแบบทดสอบ

- แบบทดสอบก่อนเรยี น กอ่ นเรียน

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1

เรอ่ื ง โครงสร้างอะตอม

และตารางธาตุ

6.3 การประเมนิ ระหว่าง

การจดั กจิ กรรม

1) โครงสรา้ งอะตอม - ตรวจใบงานท่ี 1.1-

1.2

- ตรวจแบบฝกึ หัด

2) ตารางธาตุ - ตรวจใบงานที่ 1.3

- ตรวจแบบฝกึ หดั

3) สมบัตขิ องธาตุและ - ตรวจใบงานที่ 1.4

การใชป้ ระโยชน์ - ตรวจแบบฝึกหดั

3) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ

ผลงาน

4) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม

การทำงาน การทำงานรายบุคคล

รายบุคคล

16

รายการวดั วิธวี ดั เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน

5) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2

การทำงานกล่มุ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์

6) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2

อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่ัน คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน อนั พึงประสงค์

6.4 การประเมนิ หลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลังเรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

- แบบทดสอบหลงั เรยี น หลงั เรียน

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1

เรื่อง โครงสร้าง

อะตอม

และตารางธาตุ

7. กจิ กรรมการเรียนรู้

• แผนที่ 1 : โครงสรา้ งอะตอม

วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 6 ชวั่ โมง

• แผนท่ี 2 : ตารางธาตุ

วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ชั่วโมง

• แผนท่ี 3 : สมบัติของธาตุและการใชป้ ระโยชน์

วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 4 ชั่วโมง

(รวม 12 ช่ัวโมง)

8. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้

1) หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1 (เคมี) ม.5

2) ใบงานที่ 1.1 เรือ่ ง แบบจำลองอะตอม

3) ใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง องคป์ ระกอบของอะตอม

4) ใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง ตารางธาตุ

5) ใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง สมบตั ขิ องธาตแุ ละการใช้ประโยชน์

6) แบบฝกึ หัด หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสรา้ งอะตอมและตารางธาตุ

7) PowerPoint เรื่อง โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

8.2 แหล่งการเรยี นรู้

1) หอ้ งเรยี น

2) ห้องสมุด

3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

17

แบบทดสอบก่อนเรยี น

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1

คำชีแ้ จง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ธ า ต ุ ใ น ข ้ อ ใ ด ม ี ป ร ะ โ ย ช น ์ ใ น ก า ร ร ั ก ษ า ฟั น 6. อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ

กนั คือ แบบจำลองอะตอมของใคร

1. ไอโอดนี 2. คลอรีน 1. ดอลตนั 2. ทอมสัน

3. สารหนู 4. ฟลอู อรนี 3. รทั เทอรฟ์ อรท์ 4. โบร์

5. ซนี อน 5. แบบกล่มุ หมอก

2. สัญลกั ษณ์ของธาตุท่ีมีจำนวนอเิ ล็กตรอน = 91 จำนวน 7. ธาตุ A มีจำนวนอิเล็กตรอนและนิวตรอนเท่ำกับ 13 และ 14

นิวตรอน = 140 คือขอ้ ใด ตามลำดับ ธาตุ A มีเลขอะตอมและเลขมวลเท่าไร ตามลำดับ

1. 91Pa140 2. 140Pa91 1. 13, 14 2. 27, 13

3. 231Pa91 4. 91Pa231 3. 13, 27 4. 14, 27

5. 231Pa140 5. 14, 13

3. แบบจำลองอะตอมของดอลตันและแบบจำลอง 8. 12C6 และ 24Mg12 สองอะตอมน้มี อี ะไรเหมือนกัน

อะตอมของทอมสันต่างกันอย่างไร 1. จำนวนโปรตอน 2. จำนวนนิวตรอน

1. องคป์ ระกอบภายในอะตอม 3. ผลรวมโปรตอนเทา่ กบั นิวตอน 4. เลขอะตอม

2. ตำแหนง่ ของอนภุ าคภายในอะตอม 5. โปรตอนเทา่ กับนิวตอน

3. ชนดิ ของอนุภาคภายในอะตอม 9. เลขอะตอม คืออะไร

4. ขนาดอนุภาคภายในอะตอม 1. จำนวนอเิ ลก็ ตรอนในอะตอมของธาตุ

5. ขอ้ 1. และ 2. ถกู 2. จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ

4. ข้อใดคอื สัญลักษณ์ของธาตโุ ซเดยี ม แคลเซยี ม และ 3. จำนวนนวิ ตรอนในอะตอมของธาตุ

แมกนีเซียม ตามลำดบั 4. จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในอะตอมของธาตุ

1. Na, Ca, Mg 2. Na, Mg, Ca 5. ขอ้ 1. และ 2. ถูก

3. Li, Na, Cu 4. S, Ca, Mg 10. หมายเลข 5 เป็นแบบจำลองอะตอมของนกั วิทยาศาสตรท์ า่ นใด

5. Mg, Li, Na

5. ขอ้ ใดถูกตอ้ งเกย่ี วกับแบบจำลองอะตอมของนลี ส์ โบว์

1. อเิ ล็กตรอนไม่เคลอ่ื นท่ี แตอ่ ยู่เฉพาะท่ี

2. อิเล็กตรอนในระดบั พลงั งานท่ี 1 จะมพี ลังงานมากทสี่ ดุ 1. ดอลตนั 2. ทอมสนั

3. อิเลก็ ตรอนเปน็ ลกั ษณะเป็นกลมุ่ หมอก 3. รทั เทอร์ฟอรท์ 4. โบร์

4. อิเลก็ ตรอนเคลอื่ นท่ีรอบนวิ เคลยี ส ในระดบั 5. แบบกลุม่ หมอก

พลังงานที่มคี า่ เฉพาะตวั

5. อิเล็กตรอนที่อยใู่ นระดับพลงั งานใกลน้ ิวเคลยี สทสี่ ดุ

จะมีพลังงานสูงสุด

เฉลย

1. 4 2. 3 3. 1 4. 1 5. 4 6. 2 7. 3 8. 5 9. 2 10. 5

18

แบบทดสอบหลังเรยี น

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1

คำช้แี จง : ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดคือสัญลักษณ์ของธาตุโซเดียม แคลเซียม และ 6. แบบจำลองอะตอมของดอลตนั และแบบจำลองอะตอมของ

แมกนีเซียม ตามลำดับ ทอมสนั ต่างกันอย่างไร

1. Na, Ca, Mg 2. Na, Mg, Ca 1. องคป์ ระกอบภายในอะตอม

3. Li, Na, Cu 4. S, Ca, Mg 2. ตำแหน่งของอนุภาคภายในอะตอม

5. Mg, Li, Na 3. ชนดิ ของอนภุ าคภายในอะตอม

2. ห ม า ย เ ล ข 3 เ ป ็ น แ บ บ จ ำ ล อ ง อ ะ ต อ ม ข อ ง 4. ขนาดอนภุ าคภายในอะตอม

นักวทิ ยาศาสตร์ทา่ นใด 5. ขอ้ 1. และ 2. ถกู

7. ธาตุ P มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และ

อิเลก็ ตรอนเทา่ ไรตามลำดับ

1. 31, 15, 15 2. 31, 16, 15

1. ดอลตนั 2. ทอมสัน 3. 16, 15, 15 4. 15, 31, 16
3. รัทเทอรฟ์ อร์ท 4. โบร์ 5. 15, 31, 16

5. แบบกลุ่มหมอก

3. เลขอะตอม คอื อะไร 8. สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน = 91 จำนวน

1. จำนวนอเิ ลก็ ตรอนในอะตอมของธาตุ นิวตรอน = 140 คือข้อใด

2. จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ 1. 91Pa140 2. 140Pa91

3. จำนวนนวิ ตรอนในอะตอมของธาตุ 3. 231Pa91 4. 91Pa231

4. จำนวนโปรตอนและนวิ ตรอนในอะตอมของธาตุ 5. 231Pa140

5. ข้อ 1. และ 2. ถูก 9. อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ

4. 12C6 และ 24Mg12 สองอะตอมนี้มอี ะไรเหมอื นกัน กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร
1. จำนวนโปรตอน
1. ดอลตัน 2. ทอมสัน

2. จำนวนนิวตรอน 3. รัทเทอรฟ์ อร์ท 4. โบร์

3. ผลรวมโปรตอนเท่ากบั นิวตอน 5. แบบกล่มุ หมอก

4. เลขอะตอม 10. ข้อใดถูกต้องเก่ียวกับแบบจำลองอะตอมของนีลส์ โบว์

5. โปรตอนเทา่ กบั นวิ ตอน 1. อิเล็กตรอนไม่เคลื่อนที่ แตอ่ ย่เู ฉพาะที่

5. ธาตุในข้อใดมีประโยชน์ในการใช้ฆา่ เช้อื แบคทีเรยี และ 2. อเิ ล็กตรอนในระดบั พลังงานที่ 1 จะมีพลังงานมากท่ีสดุ

จุลนิ ทรยี ์ในนำ้ ดืม่ และน้ำในสระวา่ ยน้ำ 3. อิเล็กตรอนเป็นลักษณะเปน็ กลมุ่ หมอก

1. ไอโอดนี 2. คลอรีน 4. อเิ ล็กตรอนเคลอ่ื นทีร่ อบนวิ เคลยี ส ในระดบั พลงั งานทม่ี คี ่า

3. สารหนู 4. ฟลูออรีน เฉพาะตัว

5. ซีนอน 5. อิเลก็ ตรอนท่อี ยใู่ นระดบั พลังงานใกลน้ ิวเคลียสที่สดุ

เฉลย จะมพี ลงั งานสูงสดุ

1. 1 2. 3 3. 5 4. 5 5. 2 6. 2 7. 1 8. 3 9. 2 10. 4

19

แบบประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ

แบบประเมินผลงานผังมโนทัศน์

คำช้แี จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชน้ิ งานของนักเรยี นตามรายการที่กำหนด แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ีตรงกับระดบั

คะแนน

ลำดับท่ี รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
4 3 21

1 ความสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์

2 ความถกู ต้องของเนอื้ หา

3 ความคิดสร้างสรรค์

4 ความตรงต่อเวลา

รวม

ลงช่อื ................................................... ผูป้ ระเมนิ
............../................./................

20

เกณฑป์ ระเมินผงั มโนทัศน์

ประเดน็ ท่ปี ระเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32

1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง

จดุ ประสงคท์ ่กี ำหนด จุดประสงค์ทุกประเดน็ จุดประสงค์เปน็ ส่วนใหญ่ จุดประสงคบ์ างประเด็น กบั จุดประสงค์

2. ผลงานมคี วาม เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน

ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ ถกู ตอ้ งครบถ้วน ถกู ต้องเปน็ สว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งเป็นบางประเด็น ไม่ถูกต้องเปน็ สว่ นใหญ่

3. ผลงานมคี วามคดิ ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด

สร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่

แ ป ล ก ใ ห ม ่ แ ล ะ เ ป็ น ใหม่

ระบบ

4. ผลงานมีความเปน็ ผ ล ง า น ม ี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น ม ี ค ว า ม เ ป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น

ระเบยี บ ระเบียบแสดงออกถึง เป็นระเบียบแต่ยังมี ระเบียบแตม่ ขี อ้ บกพร่อง ร ะ เ บ ี ย บ แ ล ะ ม ี ข้ อ

ความประณีต ข้อบกพร่องเลก็ น้อย บางส่วน บกพร่องมาก

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

14–16 ดมี าก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรงุ

21

แบบประเมนิ การปฏิบตั ิการ

คำช้ีแจง : ให้ผ้สู อนประเมินการปฏิบัตกิ ารของนักเรียนตามรายการท่ีกำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกบั
ระดบั คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
4321
1 การปฏิบัติการทดลอง
2 ความคลอ่ งแคลว่ ในขณะปฏิบัตกิ าร รวม
3 การนำเสนอ

ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ
................./................../..................

22

เกณฑ์การประเมินการปฏบิ ัตกิ าร

ประเด็นที่ประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32
1. การปฏบิ ตั กิ าร ทำการทดลองตาม ทำการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลือ
ทดลอง ขน้ั ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ ขน้ั ตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ บ้างในการทำการ อยา่ งมากในการทำการ
ได้อย่างถกู ต้อง แตอ่ าจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้
ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ต้องไดร้ ับคำแนะนำบา้ ง อุปกรณ์ อุปกรณ์

2. ความ มีความคล่องแคลว่ มคี วามคลอ่ งแคลว่ ขาดความคลอ่ งแคล่ว ทำการทดลองเสรจ็ ไม่
คล่องแคล่ว ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ทันเวลา และทำ
ในขณะ ในขณะทำการทดลอง แต่ตอ้ งไดร้ บั คำแนะนำ จงึ ทำการทดลองเสร็จ อปุ กรณ์เสยี หาย
ปฏิบัติการ บ้าง และทำการทดลอง ไม่ทนั เวลา
โดยไมต่ ้องไดร้ บั คำ เสรจ็ ทันเวลา ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื
3. การบนั ทกึ สรุป ชี้แนะ และทำการ ตอ้ งให้คำแนะนำในการ อยา่ งมากในการบนั ทกึ
และนำเสนอผล บนั ทกึ และสรปุ ผลการ บนั ทกึ สรปุ และ สรุป และนำเสนอผล
การทดลอง ทดลองเสรจ็ ทนั เวลา ทดลองได้ถูกตอ้ ง แต่ นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง
การนำเสนอผลการ
บนั ทึกและสรปุ ผลการ ทดลองยังไม่เปน็
ทดลองได้ถูกตอ้ ง รดั กุม ขั้นตอน
นำเสนอผลการทดลอง
เปน็ ขัน้ ตอนชัดเจน

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

10-12 ดีมาก

7-9 ดี

4-6 พอใช้

0-3 ปรับปรงุ

23

แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องที่

ตรงกับระดบั คะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1
32

1 ความถกู ตอ้ งของเนื้อหา  

2 ความคิดสรา้ งสรรค์  

3 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน  

4 การนำไปใชป้ ระโยชน์  

5 การตรงต่อเวลา  

รวม

ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมนิ
............/................./...................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

14–15 ดีมาก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรงุ

24

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

คำชแ้ี จง : ใหผ้ ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี