วัสดุธรรมชาติในโรงเรียนมีอะไรบ้าง

การประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุและเศษวัสดุ

 Edit 3…วัสดุ หมายถึง วัตถุที่นำมาใช้ในงานต่างๆ ซึ่งมีระยะการใช้งานไม่มากนัก เช่น กระดาษ ดินสอเศษวัสดุ หมายถึง เศษวัตถุที่เหลือจากการใช้ เช่น กระป๋องน้ำอัดลม แกนกระดาษชำระ หลอดกาแฟวัสดุในท้องถิ่น หมายถึง วัตถุตามธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น เช่น ผักตบชวา ใบตาล กระบอกไม้ไผ่การประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุและเศษวัสดุเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในด้านการออกแบบฝึกฝนให้เรารู้จักวางแผนการทำงาน มีความอดทนต่องานที่ทำ สามารถแก้ปัญหาจากการปฏิบัติงานและปลูกฝังให้รู้จักการใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ การประดิษฐ์สิ่งของมีทั้งของเล่น ของใช้ และของประดับตกแต่ง การฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับงานประดิษฐ์ การประดิษฐ์ของใช้ ของประดับตกแต่งเป็นการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่า และมีเอกลักษณ์เฉพาะของผู้ประดิษฐ์แต่ละคน โดยเลือกใช้วัสดุต่างๆกัน เช่น เศษวัสดุเศษวัสดุเหลือใช้ วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น สามารถนำมาประดิษฐ์ให้เป็นผลงาน เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความภาคภูมิใจ มีความสนุกสนาน อีกทั้งเป็นการพัฒนาทักษะฝีมือ สามารถนำไปประกอบอาชีพเพื่อเสริมสร้างรายได้ให้กับครอบครัวอีกทางหนึ่งการประดิษฐ์ของใช้ ของใช้เป็นสิ่งของที่นำมาช่วยในการทำงาน โดยใช้งานได้มากน้อยแตกต่างกัน ซึ่งเราสามารถทำขึ้นใช้ได้เอง เป็นการช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้แก่ตนเองและครอบครัว ทำให้เกิดความภาคภูมิใจในผลงาน หรือผู้อื่นที่พบเห็นก็ชื่นชมในผลงานเราด้วยในการประดิษฐ์ของใช้ ผู้ประดิษฐ์ควรยึดหลักการดังนี้1.สำรวจความต้องการของตนเองว่าประดิษฐ์ชิ้นงานอะไร2.ศึกษาหลักการและวิธีการประดิษฐ์ของชิ้นงานที่ต้องการประดิษฐ์3.สำรวจว่าชิ้นงานที่สนใจ และต้องการประดิษฐ์มีความจำเป็นและสำคัญที่จะนำมาใช้ในบ้านของนักเรียนได้คุ้มค่าและเป็นประโยชน์4.การประดิษฐ์ชิ้นงานแต่ละชิ้นควรหาแนวทาง และวิธีการทำให้ชิ้นงานนั้นมีความคงทนในการใช้งาน5.ความปลอดภัยในการประดิษฐ์ชิ้นงาน นักเรียนต้องรู้จักวิธีการป้องกันตนเองในขณะทำงานhttps://patchanee.wikispaces.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B8 ไม้ไผ่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น หน่อไม้ไผ่นำมาทำอาหาร  ลำต้นไผ่สามารถนำมาทำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้เช่น นำมาสานเป็นภาชนะใส่ของจำพวกกระบุง กระจาด ตะกร้า  ชะลอม  เข่ง  ฯลฯ  หรือนำมาทำเครื่องเรือน  เช่น  ชุดเก้าอี้ไม้ไผ่  เป็นต้น2.2  หวาย            หวายเป็นไม้เลื้อยจำพวกตระกูลปาล์มมีลักษณะลำต้นกลมยาวและโตเสมอกันตั้งแต่โคนจนถึงปลาย  ไส้ตัน  กาบหุ้มคล้ายต้นหมาก ที่กาบและก้านใบมีหนาม  ผิวเกลี้ยงเหนียวเป็นมันใบคล้ายใบจาก  มีหนามตามริบใบ  หวายเจริญงอกงามขึ้นเองตามธรรมชาติ  มีมากในภูมิประเทศที่เป็นป่าเขา  ดงดิบ  น้ำตก  ชอบขึ้นในบริเวณพื้นที่เป็นดินร่วนชุ่มชื้น  ไม่ชอบดินทราย  หรือดินที่มีกรวดหินหวายมีอยู่ตามป่าทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย  เช่น  ประเทศไทย  ศรีลังกา  ฟิลิปปินส์  เป็นต้น  ในประเทศไทยไม่มีการปลูกหวาย  แต่หวายจะขึ้นอยู่เองตามธรรมชาติ  มีมากทางภาคใต้ในแถบจังหวัดชุมพร  ตรัง  พังงา  สุราษฏ์ธานี  นครศรีธรรมราช  และทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีมากตามป่าในจังหวัดอุบลราชธานีหวายเป็นวัสดุท้องถิ่นอีกชนิดหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้  ส่วนมากเราใช้หวายทำเป็นเครื่องจักสานประกอบเครื่องจักสานไม้ไผ่  แต่ก็มีการนำหวายมาทำเครื่องจักสานโดยตรงหลายอย่าง  เช่น  ตะกร้า  กระเป๋า  ฝาชี  ถาดผลไม้  เก้าอี้  เป็นต้น  ภาพที่ 2  แสดงเก้าอี้จากหวายที่มา : สืบค้นจาก http://www.praphansarn.com/new/forum_post.asp [4 มิถุนายน 2552]2.3  มะพร้าว (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});             มะพร้าวเป็นไม้ยืนต้นในตระกูลปาล์ม  ลักษณะของใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยวเรียงติดกันเป็นแถวอยู่สองข้างของทางมะพร้าว  มีลำต้นเป็นรูปทรงกระบอก  ส่วนโคนต้นจะใหญ่กว่าตอนปลายชอบขึ้นในดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย  อากาศอบอุ่นหรือค่อนข้างร้อน  และมีปริมาณน้ำฝนมากเพียงพอหรือริมฝั่งทะเลที่น้ำทะเลเข้าถึง  เช่น  ประเทศไทย  มาเลเซีย  อินเดีย  ละตามหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก            ในประเทศไทยนั้นมะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจอย่างหนึ่งของไทยมีการปลูกมากในภาคกลาง  และภาคใต้  โดยเฉพาะจังหวัดตามชายทะเล  เช่น  ประจวบคีรีขันธ์  ชุมพร สุราษฎ์ธานี  นครศรีธรรมราช  เป็นต้น  มะพร้าวเป็นพืชที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิต  เนื่องจากเป็นพืชที่เราไม่ต้องดูแลรักษามาก  แต่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า  กล่าวคือ  นอกจากใช้บริโภคแล้ว  ส่วนต่าง ๆ ของมะพร้าวยังสามารถนำมาประดิษฐ์ของใช้ที่มีประโยชน์ได้  เช่น  รากใช้สานตะกร้า  ลำต้นนำมาใช้ในการก่อสร้าง  ใบนำมาสานเป็นภาชนะใส่ของหรือทำของเล่น  เป็นต้น                                         ภาพที่ 3  แสดงโคมไฟจากกะลามะพร้าวที่มา : สืบค้นจาก http://www.info.pattaya.go.th/km/sociawelfare/Doclib7.aspx [5 มิถุนายน 2552]2.4  ไม้เนื้ออ่อน            ไม้เนื้ออ่อน  คือ  ไม้ที่มีเนื้อไม้สีอ่อนหรือสีซีด  มีน้ำหนักเบา  มีความแข็งแรงน้อย  และมีความทนทานน้อย  ไม่ค่อยทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ  หรือการกัดแทะของแมลง  เช่น  ปลวก มอด  เหมาะสำหรับนำมาใช้งานชั่วคราวหรืองานในร่ม  ไม้เนื้ออ่อน  ได้แก่  ไม้ฉำฉา  ไม้ยาง  ไม้กระบาก  ไม้สัก  เป็นต้น  บางชนิดพบได้ป่าดิบชื้นบริเวณทิวเขาในภาคเหนือ  คาบสมุทรภาคใต้  ทิวเขาทาง ด้านตะวันตก  และทิวเขาด้านตะวันออกของอ่าวไทย  เช่น  ไม้ยาง  ไม้กระบาก  บางชนิดพบในป่าเบญจพรรณที่มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง  เช่น  ไม้สัก  เป็นต้น  ไม้เนื้ออ่อนเป็นไม้ที่หาได้ง่าย  และมีราคาไม่แพง            ไม้เนื้ออ่อนสามารถนำมาแกะสลักเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ ทำเป็นภาพประดับฝาผนังหรือนำมาทำเครื่องเรือน  เช่น  โต๊ะ  เก้าอี้  ชั้นวางของ  เป็นต้น                                                              ภาพที่ 4  แสดงเก้าอี้ไม้เนื้ออ่อนที่มา : สืบค้นจาก http://www.dhas.com/main/product/product/detailhead.html [5 มิถุนายน 2552] (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); 2.5  ย่านลิเภา            ย่านลิเภาเป็นพืชประเภทเถาวัลย์  มีลักษณะเป็นเถา  ลำต้นจะโตประมาณก้านไม้ขีดหรือหลอดกาแฟ  เมื่อโตเต็มที่จะยาวประมาณ  2 วา  ใบของย่านลิเภาจะเป็นใบเล็ก ๆ และหยิกงอชอบขึ้นอยู่ตามชายป่าละเมาะ และจะเลื้อยเกี่ยวพันอยู่กับต้นไม้อื่น ๆ แต่จะขึ้นเกาะอยู่เหนือต้นไม้อื่นจึงทำให้มองเห็นได้ง่ายย่านลิเภามีมากในแถบจังหวัดภาคใต้ของไทยโดยเฉพาะที่จังหวัดนครศรีธรรมราช            คุณสมบัติพิเศษของย่านลิเภา  คือ  มีลำต้นเหนียวทนทาน  จึงเหมาะที่จะนำมาสานเป็นภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น  เชี่ยนหมาก  พาน  กล่องยาเส้น  กล่องใส่ของ  กระเป๋าถือ  เป็นต้น  หรือนำมาใช้ผูกรัดสิ่งของก็ได้ภาพที่ 5  แสดงกล่องหมากพระราชทาน รัชกาลที่  5ที่มา : สืบค้นจาก  http://www.mnh.si.edu/treasures/thaiversion/005.htm [5 มิถุนายน 2552]2.6  ใบลาน            ลานเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในตระกูลปาล์มชนิดหนึ่ง  มีลักษณะคล้ายต้นตาล  จัดเป็นไม้          ยืนต้นขนาดกลาง  ลำต้นตรงและแข็ง สูงประมาณ 10 เมตร มีใบออกรอบลำต้นเป็นชั้น ๆ                  ยาวประมาณ  2 - 3  เมตร  ใบมีลักษณะคล้ายพัด  พบได้ทั่วไปทางภาคกลาง  และภาคใต้ทางแถบชายฝั่งด้านตะวันออก เช่น  นครศรีธรรมราช  สงขลา  พัทลุง  เป็นต้น  เรานิยมนำใบลานมาสานเป็นหมวกงอบ  หรือนำมาสานเป็นของเล่นให้เด็ก  เช่น  การสานเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ                                                               ภาพที่ 6  แสดงหมวกจากใบลานที่มา : สืบค้นจาก http://www.elibrary.sacict.net/th/products/detail.php [5 มิถุนายน 2552] (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); 2.7  ผักตบชวา            ผักตบชวาจัดเป็นพืชน้ำประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวลอยน้ำเจริญงอกงามโดยไม่ต้องอาศัยรากยึดเกาะ  มีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน เช่น ผักปอด สวะ ผักโรค ผักตบชวาผักยะวา ผักอีโยก เป็นต้น ซึ่งประเทศไทยมีผักตบชวามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยเจ้านายในสมัยนั้นได้ตามเสด็จไปประเทศอินโดนีเชีย  พ.ศ. 2444  ได้เห็นผักชนิดนี้ออกดอกสีม่วงสวยงามอยู่ทั่วไปจึงได้นำเอาพันธุ์ผักตบชวามายังประเทศไทยเพียงเล็กน้อย  ใส่อ่างดินเลี้ยงไว้หน้าวังสระประทุมจนกระทั่งออกดอกสวยงามและเพิ่มจำนวนมากขึ้นจนล้นกระถางประกอบด้วยในช่วงนั้นเกิดน้ำท่วมวังสระประทุมทำให้ผักตบชวาล่องลอยกระจัดกระจายออกไปตามที่ต่าง ๆ            ผลิตภัณฑ์หลัก  ผลิตภัณฑ์ที่ตลาดมีความต้องการมาก จัดเป็นผลิตภัณฑ์หลักในการผลิตของผู้ผลิต  เช่น  กระเป๋า  ตะกร้า  เป้  ในรูปแบบต่าง ๆ            ผลิตภัณฑ์รอง  ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ  ที่ตลาดมีความต้องการรองลงไป  คือ  กรอบรูป  หมวก รองเท้า  ของชำร่วย  และโคมไฟ  เป็นต้น                                                     ภาพที่ 7  แสดงตะกร้าจากผักตบชวาที่มา : สืบค้นจาก  http://www.phrae.ru.ac.th/index.php [5 มิถุนายน 2552]2.8  เปลือกข้าวโพด            ข้าวโพด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ซีเมส์ (Zea mays) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลำต้นสูง โดยเฉลี่ย2.2 เมตรขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.5-2.0 นิ้วถิ่นกำเนิดก็คือ ได้มีการขุดพบซังข้าวโพดและซากของต้นข้าวโพดที่ใกล้แม่น้ำในนิวเม็กซิโก (แถบอเมริกาใต้) และปัจจุบันนิยมปลูกแพร่หลายในแถบอเมริกา แคนาดา ฯลฯ สามารถปลูกได้ในสภาพที่ภูมิอากาศแตกต่างกันมาก ๆ เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของสัตว์ เพราะสามารถนำมาเลี้ยงสัตว์ได้ทั้งต้น ใบ และเมล็ดนอกจากนี้ เปลือกข้าวโพด สามารถนำไปประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆได้อีกมากมาย  เช่น ตุ๊กตา  กระเป๋า  ครอบกล่องกระดาษทิชชู  พัด  ดอกไม้จันทน์  กระทง  เป็นต้น  (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});                                                 ภาพที่ 8  แสดงกระทงจากเปลือกข้าวโพดที่มา : สืบค้นจาก http://www.oknation.net/blog/2007.htm [6 มิถุนายน 2552]2.9  เกล็ดปลา            เกล็ดปลาทุกชนิดมีคุณสมบัติในการดูดสีและกลิ่น จึงสามารถนำมาย้อมสีและอบกลิ่นหอมได้ เกล็ดปลาที่เหมาะสำหรับทำสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ควรเป็นเกล็ดปลาที่มีพื้นผิวสาก ลักษณะของเกล็ดปลาที่มีผิวสาก ขอบเกล็ดบางใส มีสันเป็นแกนหนา พื้นผิวเกล็ดมีลักษณะสากมือเมื่อสัมผัส เนื่องจากมีหนามเล็ก ๆ โดยเฉพาะบริเวณแกนกลางของเกล็ด หนามที่ผิวเกล็ดช่วยให้เกล็ดดูดซึมสีและกลิ่นได้ดีติดทนนาน ส่วนสันที่เป็นแกนหนา ช่วยให้เกล็ดปลามีคุณสมบัติในการคงรูปทรงเกล็ดปลาที่อยู่ในกลุ่มนี้  และมีปริมาณมากพอที่จะนำมาทำในเชิงการค้า  ได้แก่ เกล็ด              ปลากระพง  ปลาครืดคราด ปลากระบอก เป็นต้น            นอกจากนี้เกล็ดปลายังสามารถนำมาทำงานประดิษฐ์ประเภทต่าง ๆ ได้  เช่น  เครื่องประดับดอกไม้  ของชำร่วย  เป็นต้น                                                        ภาพที่ 9  แสดงดอกไม้เกล็ดปลาประดับกล่องทิชชู  ที่มา : สืบค้นจาก http://www.rattaphoom.go.th/modules/otop/index.php [6 มิถุนายน 2552]2.10  ตะโก            ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 15 เมตร เปลือกต้นสีดำแตกเป็นสะเก็ด หน้าใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกันรูปไข่กับหรือรูปป้อม ๆ กว้าง 2.5-7 ซม.ยาว 3 -12 ซม.โคนใบสอบเป็นรูปลิ่ม ปลายใบโค้งมน ป้าน เว้าเข้าใบเกลี้ยงด้านล่าง เมื่อใยยังอ่อนอยู่มีขนบ้าง เส้นใบมี 6 - 8 คู่ เห็นได้ชัดทางด้านล่าง เส้นกลางใบสีแดงเรื่อ ๆ เมื่อใบแห้ง ดอก ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียอยู่คนละต้น ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อเล็ก ๆ ตามง่ามใบ ช่อหนึ่ง ๆ มีประมาณ วัสดุในโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นอะไร

วัสดุในโรงเรียน ส่วนใหญ่เป็นเศษวัสดุและวัสดุเหลือใช้ เช่น กระดาษ ขวดนํ้า พลาสติก ขวดนม ริบบิ้น ไหมพรม ด้าย เศษผ้า แผ่นซีดี ลังกระดาษ ซึ่งวัสดุเหล่านี้ สามารถนํามา ประดิษฐ์เป็นของใช้ได้มากมาย เช่น โคมไฟจากขวดนํ้าพลาสติก ที่วางโทรศัพท์เคลื่อนที่จากลังกระดาษ เป็นต้น
Show

วัสดุในโรงเรียนได้แก่อะไรบ้าง

1.1 วัสดุในโรงเรียน ส่วนใหญ่เป็นเศษวัสดุและวัสดุเหลือใช้ เช่น กระดาษ ขวดน้ำพลาสติก ขวดนม ริบบิ้น ไหมพรม ด้าย เศษผ้าแผ่นซีดี ลังกระดาษ ซึ่งวัสดุเหล่านี้สามารถนำมาประดิษฐ์เป็นของใช้ ของตกแต่งได้มากมาย เช่น โคมไฟจากขวดน้ำพลาสติก ที่วางโทรศัพท์เคลื่อนที่จากกระดาษ

วัสดุจากธรรมชาติทำอะไรได้บ้าง

เก๋ไปอีก!.
กล่องข้าวชานอ้อย ... .
ถ้วยชามจากใยกล้วย ... .
จานกาบหมาก ... .
ช้อนส้อมจากฟางข้าวสาลี ... .
หลอดดูดน้ำไม้ไผ่ ... .
ถุงพลาสติกจากมันสำปะหลัง ... .
น้ำตาลอ้อยธรรมชาติมิตรผล ถุงกระดาษ.

วัสดุธรรมชาติมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

วัสดุธรรมชาติ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท 1. วัสดุธรรมชาติ ประเภทพืช ได้แก่ ต้นไม้ชนิดต่าง ๆ เช่น ฟางข้าว มีจำนวนมากในแต่ละครั้งของการเก็บเกี่ยว มีการนำฟางข้าวมาใช้ในงานประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น นำไปยัดเป็นไส้แทนนุ่นในหมอนขิดรูปสามเหลี่ยม ทำตะกร้า พวงหรีด หุ่นฟางนก มุงหลังคากันแดด เป็นต้น