อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล วัตถุประสงค์

ความเป็นมาของวันโอโซนโลก (World Ozone Day)

          เนื่องจากในยุคสมัยที่ผ่านมา โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ได้ใช้สารเคมีซีเอฟซี หรือคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC : Chlorofluorocarbon) เป็นจำนวนมาก พบมากในโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องทำความเย็น และอุตสาหกรรมผลิตโฟม ทำให้สารเคมี ซีเอฟซีระเหยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ และไปทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน จนก๊าซโอโซนถูกทำลาย และลดปริมาณลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งสารเคมีซีเอฟซีเป็นสารที่สลายตัวเองได้ยาก จึงทำให้ตกค้างอยู่ในชั้นบรรยากาศเป็นเวลานาน ร่วมกับก๊าซโอโซนถูกทำลายลงไปมาก จึงทำให้รังสียูวีอุลตราไวโอเลตเข้าสู่พื้นโลกมาขึ้น ซึ่งส่งผลให้สิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งสัตว์และ มนุษย์เกิดเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง ด้วยเหตุนี้เองจึงได้มีการกำหนดให้วันที่ 16 กันยายนของทุกปี เป็นวันโอโซโลก นับตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา นานาประเทศได้ร่วมกันจัดทำอนุสัญญาการป้องกันชั้นบรรยากาศโอโซน ขึ้นในปี พ.ศ. 2528 เรียกว่า “อนุสัญญาเวียนนา และพิธีสารว่าด้วยการเลิกใช้สารทำลายชั้นโอโซน” และจัดให้ลงนามใน “พิธีสารมอนทรีออล” ขึ้นในวันที่ 16 กันยายน ปี พ.ศ. 2530
          สำหรับประเทศไทยได้ร่วมลงนามในพิธีสารนี้ เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2531 และให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2532 มีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2532

วัตถุประสงค์ของการกำหนดวันโอโซนโลก

1. เพื่อกระตุ้นให้ประเทศปฏิบัติต่ออนุสัญญา ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
2. เพื่อช่วยกันลดใช้สารซี เอฟ ซี และสารฮาลอน ซึ่งเป็นตัวทำลายบรรยากาศโอโซนในชั้นบรรยากาศ

          : �֧�����ҡ�ҫ����͹��͡䫴�, CO2 ����� �س������š�٧���1.5 ͧ�������� ����ҡ���� ��� CFCs ��觷�����س������š�٧��� 0.8 ͧ��������  ����ҡ���ҡ�ҫ������� ���ҫ����Դ�ҡ�����ҵԨФǺ������ҡ���� ��� CFCs ������ѧ�������� �ѧ���������֧����ö�Ǻ�����ա��� ��ǹ��ҫ CO2������Ǣ�ͧ�Ѻ�����ҵ��ҡ���������Ҩ��繴�ҹ������ԧ ���ҡ�ȷ��������� �����Ҩ��繵�ǡ����ѡ��������ҹ���ѧ��ͧ��鹵ç�Ѻ�����ҵ��ҡ����������

        คือสนธิสัญญาสากลที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง, และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 (1989) เป็นต้นมา ตั้งแต่นั้นมา ได้มีการแก้ไขปรับปรุงพิธีสาร 5 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรก ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เมื่อ พ.ศ. 2533 (1990), ครั้งที่สอง ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เมื่อ พ.ศ. 2535 (1992), ครั้งที่สาม ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เมื่อ พ.ศ. 2538 (1995), ครั้งที่สี่ ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา เมื่อ พ.ศ. 2540 (1997) และครั้งที่ห้า ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อ พ.ศ. 2542 (1999) เนื่องจากมีการนำไปใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งได้รับเสียงสนับสนุนและชื่นชมจากนานาประเทศและหลาย ๆ องค์กร พิธีสารมอนทรีออลจึงได้รับการยกย่องให้เป็นตัวอย่างการร่วมมือกันระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ

ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของอนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออล

คือสนธิสัญญาสากลที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อควบคุม, ยับยั้ง, และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไปเนื่องจากสารเหล่านี้ โดยพิธีสารได้เปิดให้ประเทศต่างๆ ลงนามเป็นประเทศภาคีสมาชิกในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 ...

อนุสัญญาเวียนนาและพิธีสารมอนทรีออลคืออะไร

การการอนุรักษ์และการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก อนุสัญญาเวียนนา Vienna Convention และพิธีสารมอนทรีออล Montreal Protocol. เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่สืบเนื่องมาจากความวิตกเกี่ยวกับปัญหาโอโซนของโลกถูกทำลายซึ่งเป็นผลมาจาก การใช้สารที่มีตัวทำลายโอโซน ในกิจกรรมต่างๆ

อนุสัญญาอะไรที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกเลิกการใช้สารซีเอฟซี

มอนทรีออล ณ นครมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ซึ่งทั้ง 47 ประเทศได้ให้คำสัตยาบันด้วยการลดและเลิกใช้สารทำลายชั้นโอโซน ซึ่งได้แก่ สาร CFCs และ Halon ซึ่งประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกว่าในปี 2532 ในปัจจุบันสมาชิกอนุสัญญาเวียนนามีทั้งหมด 176 ประเทศ พิธีสารมอนทรีออลมี 175 ประเทศ (ข้อมูลปี 2543) โดยจะให้มีความตระหนัก ถึงความสำคัญใน ...

อนุสัญญาเวียนนามีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

อนุสัญญาเวียนนา (The Vienna Convention) - การป้องกันชั้นโอโซนในบรรยากาศมิให้ถูกทาลาย และร่วมกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจารูโหว่ของชั้นโอโซน โดยสนับสนุนให้เกิดการวิจัย และความร่วมมือในการ แลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างประเทศต่างๆ นอกจากนี้อนุสัญญายังประกอบด้วยข้อตกลง ระหว่างประเทศที่จะลดและเลิกการใช้สารเคมีที่ก่อให้เกิด ...