การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในการทำงาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

                ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application   software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ การทำงานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จำเป็นต้องเลือกหาซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการ นั้นๆ โดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน นำเสนองาน จัดทำบัญชี ตกแต่งภาพ ออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น  นอกจากนั้นอาจต้องคำนึงถึงงบประมาณในการจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้ด้วยว่ามีเพียงพอ หรือไม่เพียงใด ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถแบ่งออกเป็น  2 ประเภท ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทั่วไป และซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป

                ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป (general  purpose  software)  เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจง ผู้ใช้จึงต้องเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับ ลักษณะงาน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การสร้างตารางทำงาน การนำเสนอผลงาน เป็นต้น

1) ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ    (word processing  software)เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ ในการจัดทาเอกสารทุกชนิด  เช่น  รายงาน  จดหมายเวียน  หนังสือ  ใบปลิวส่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น  สามารถแก้ไข เพิ่ม  แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเก็บ เป็นแฟ้มข้อมูล  และสามารถนำมาแก้ไขใหม่ได้  ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น Microsoft Word, PageMaker, Corel Draw เป็นต้น

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

2) ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน (spreadsheet software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการ คำนวณ วิเคราะห์ตัวเลข เพื่อใช้งานในด้านการเงิน บัญชี สถิติ คณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ การทำงานของซอฟต์แวร์ตารางทำงานประกอบด้วยตารางขนาดใหญ่สำหรับใส่ตัวเลข ข้อความ สูตรการคำนวณ ซึ่งมีเครื่องคำนวณเตรียมไว้สำเร็จ สามารถสั่งให้คำนวณตามสูตรหรือเงื่อนไขที่ กำหนด ผู้ใช้สามารถประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอื่นๆ ได้กว้างขวาง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Excel, Open Office Calcในโปรแกรมชุด Pladao Office เป็นต้น

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

4) ซอฟต์แวร์นำเสนอ (presentation software) เป็นโปรแกรมที่ใช้นำเสนอ ข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สร้างเอกสารที่ประกอบไปด้วยตัวอักษรรูปภาพ  ภาพเคลื่อนไหว โดยแสดงออกมาทีละรายการ รวมทั้งยังสามารถใส่เสียงประกอบการนำเสนอได้ สามารถกำหนด ระยะเวลาการแสดงและกำหนดจุดเชื่อมโยงไปยังหน้าที่ต้องการได้ เพื่อใช้ประกอบการบรรยายและการเสนอผลงาน ซอฟต์แวร์นำเสนอที่นิยมใช้ เช่น Microsoft PowerPoint  Open Office Impress,Pladao Office เป็นต้น   

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (database  management  software)การใช้ งานคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง คือ การใช้เก็บ ข้อมูลและจัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลต่างๆ เหล่านั้น เรียกว่า ฐานข้อมูล ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ จัดการฐานข้อมูล เพื่อช่วยในการจัดเก็บเรียก ค้นทำงาน และสรุปผลข้อมูลในเครื่อง คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ เช่น Dbase, Paradox, FoxBASE, MicrosoftAccess เป็นต้น

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

5)  ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดีย  (graphics  and  multimedia software) เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัฒนาข้นสำหรับจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดียมีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบชิ้นงานเกี่ยวกับการตกแต่งภาพ   วาดภาพปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์  ซอฟต์แวร์ทาง ด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย   เช่น  Adobe  InDesign, Adobe  Illustrator, Adobe  Photoshop Macromedia Dreamweaver เป็นต้น

6)  ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บไซต์และการติดต่อสื่อสาร (web site and communications software) การเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทำให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น มีทั้งการตรวจเช็คอีเมล์ เข้าเว็บไซต์การจัดการและดูแลเว็บไซต์ส่งข้อความติดต่อส่อสาร รวมไปถึงการประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บไซต์ และการติดต่อสื่อ1สาร เช่น Microsoft Outlook, Microsoft Net meeting, MSN Messenger/Windows Messenger เป็นต้น        

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

                ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน    (application software for specific purpose) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนำไปประยุกต์ใช้งานกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งโดยเฉพาะ ออกแบบและสร้างข้นโดยผู้ผลิตซอฟต์แวร์ที่มีความชำนาญในด้านนั้นๆ หรืออาจพัฒนาโดยนักเขียนโปรแกรมของ องค์กร โดยผ่านการวิเคราะห์  ออกแบบ ลงมือสร้าง และทดสอบโปรแกรมให้สามารถทำงานได้ ถูกต้องก่อนจึงจะนำมาใช้งานได้ เช่น โปรแกรมคำนวณภาษีของกรมศุลกากร   โปรแกรมบันทึก เวลาการปฏิบัติงานของพนักงาน โปรแกรมเงินเดือน  ซึ่งต้องมีการออกแบบโครงสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

1) ซอฟต์แวร์สาหรับงานธุรกิจ(business software) การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สาหรับงานธุรกิจมักจะเน้นการใช้งานทั่วไป  แต่อาจจะนำมาประยุกต์ใช้โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างได้ เช่น  กิจการธนาคาร  มีการฝาก-ถอนเงิน  งานทางด้านบัญชี  หรือ ในห้างสรรพสินค้ามีงานการขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ สำหรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์สำหรับงานธุรกิจมักจะเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษา รูปแบบการทำงานหรือความต้องการของธรกิจนั้น  แล้วจึงจัดทำขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ทีมี หลายส่วนทำงานร่วมกัน  ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจำหน่าย ระบบงานสินค้าคงคลัง ระบบงานบริหารการเงิน เป็นต้น

2) ซอฟต์แวร์อื่นๆ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงานนอกจากจะเป็นซอฟต์แวร์สำหรับ งานธุรกิจแล้ว ยังมีซอฟต์แวร์อื่นๆ อีกเช่น โปรแกรมช่วยค้นหาคำศัพท์ โปรแกรมเพื่อความบันเทิง เป็นต้น

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

การ ใช้ ซอฟต์แวร์ ใน การ ทํา งาน

ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทํางานมีอะไรบ้าง

2.1) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งานทั่วไป (1) ซอฟต์แวร์ประมวลคำ(Word processing software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพิมพ์เอกสาร (2) ซอฟต์แวร์ตารางงาน(Spreadsheet software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการคิดคำนวณ (3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล(Database management software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์

ซอฟต์แวร์คืออะไร ทำหน้าที่อะไร

ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงเป็นส่วนสำคัญที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ให้ดำเนินการตามแนวความคิดที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว คอมพิวเตอร์ต้องทำงานตามโปรแกรมเท่านั้น ไม่สามารถทำงานที่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในโปรแกรม ชนิดของซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ตามลักษณะการใช้งานหมายถึงอะไร

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้น

ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูลมีอะไรบ้าง

รูปกราฟต่างๆ เพื่อนำมาแสดงหรือนำเสนอง่าย ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประเภทนี้ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ฮาร์เวิร์ดกราฟิก (Harvard Graphic) ซอฟต์แวร์โลตัสฟรีแลนซ์(Lotus Freelance) และซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์เพาเวอร์ พอยต์(Microsoft PowerPoint) และซอฟต์แวร์ปลาดาว(Pladao Office) เป็นต้น