การบวชเป็นสามเณรผู้ที่จะบวชต้องมีอายุ 7 ปีขึ้นไปเรียกว่า

*** เนื่องจาก ThaiJO ปรับปรุงระบบ login แบบใหม่ ดังนั้นในการ login ใช้งานครั้งแรก กรุณากด Forgot Password เพื่อ reset password

*** ThaiJO has improved the new login system, so when logging in for the first time, please click "Forgot Password" to reset password.

     (2) ได้รับความเคารพ ยกย่อง บูชา กราบไหว้ และบำรุงด้วยปัจจัย 4 กล่าวคือ แม้จะเคยเป็นชาวนาต้องทำงานเสียภาษีให้รัฐ แต่เมื่อออกบวชเป็นบรรพชิตแล้ว ก็ไม่ต้องเสียภาษีให้รัฐอีกต่อไปแต่จะได้รับการบำรุงด้วยปัจจัย 4 จากหมู่ชนรวมทั้งผู้ปกครองบ้านเมืองด้วย

ความเป็นมาของ “สามเณร” (samanera) “เรียนรู้ภาษาไทยจากสื่อมวลชน” โดย...นายธีระพงษ์ โสดาศรี...

Posted by หมากแข้ง on Wednesday, March 11, 2020

ขอเชิญชวนกุลบุตรที่มีอายุตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไปเข้าร่วมโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนวัดสังฆทาน  เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และถวายเป็นอาจริยบูชาแด่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ หลวงพ่อสนอง กตปุญฺโญ และขอเชิญญาติธรรมร่วมเป็นเจ้าภาพในการบรรพชา อาหาร น้ำปานะ บริขารที่จำเป็น ค่าพาหนะ ทุนการศึกษา ฯลฯ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานวัดสังฆทาน 02-496-1242 สังฆทานนิวส์ 02-496-1266 สถานีวิทยุสังฆทานธรรม 02-443-0341-2 สถานีโทรทัศน์ดาวเทียมพุทธภูมิ 02-496-1160-66

รับสมัครสามเณรภาคฤดูร้อน ของทุกปี

หลักฐานการสมัคร
1. รูปถ่ายขนาด ๒ นิ้ว จำนวน ๑ รูป
2. สำเนาทะเบียนบ้านผู้สมัคร จำนวน ๑ ฉบับ
3. สำเนาทะเบียนบ้านผู้ปกครอง จำนวน ๑ ฉบับ
4. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือสำเนาสูติบัตรผู้สมัคร จำนวน ๑ ฉบับ
5. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้ปกครองจำนวน ๑ ฉบับ

ข้อที่ควรต้องรู้ก่อนบวชผ้าขาวที่จะบรรพชาเป็นสามเณร
1. ผ้าขาวควรมีอายุตั้งแต่ ๑๐ ปีขึ้นไป ช่วยเหลือตัวเองได้ (สามารถอาบน้ำ ซักผ้าได้ด้วยตนเอง)
2. ต้องมาบวชผ้าขาวถือศีล ๘ ก่อนบรรพชาในวันรับสมัคร
3. จะมีพิธีบรรพชาหมู่พร้อมกันใน
4. บวชแล้วจะต้องเชื่อฟังพระพี่เลี้ยง หากไม่ปฏิบัติตาม ต้องให้ลาสิกขา
5. ไม่ควรบังคับให้บุตรหลานมาบวช ควรให้เป็นไปตามความสมัครใจ และศรัทธา
6. ระหว่างบวชผ้าขาวห้ามใช้เงิน หรือเดินซื้อของทั้งในและนอกบริเวณวัด
7. ไม่ควรมาเยี่ยมบุตรหลานจนบ่อยเกินควร เพราะจะทำให้ผ้าขาวไม่สงบ ไม่มีเวลาปฏิบัติ
8. ไม่อนุญาตให้นำหนังสือการ์ตูน เครื่องเล่นเกมส์ วิทยุเครื่องเล่นเทป เข้ามาในเขตการอบรม
9. จะมีพิธีการลาสิกขาพร้อมกันใน
10. ผู้ปกครองควรมารับเด็กในวันลาสิกขาพร้อมเครื่องแต่งกายสำหรับผลัดเปลี่ยนหลังจากลาสิกขาแล้ว

บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า "บัณฑิต" เหตุเพราะเมื่อสามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนในบ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น

"เวลาที่ผู้มีบุญบำเพ็ญสมณธรรมจะมีเทพยดาคุ้มครองป้องกัน แม้แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเองก็ยังเสด็จไปช่วยอารักขา" ดังเช่นกรณีของสามเณรบัณฑิต

ในวันที่สามเณรน้อยตั้งใจบำเพ็ญเพียรปฏิบัติธรรม อาสน์ (ที่นั่งประทับ) ของท้าวสักกะเทวราช เทวดาผู้ปกครองสวรรค์ชั้นที่สองคือชั้นดาวดึงส์เกิดอาการร้อนขึ้นมา พระองค์จึงได้ลงมาอารักขาที่ประตูหน้ากุฏิ ท้าวมหาราชทั้งสี่ทิศ (เทวดาผู้ปกครองสวรรค์ชั้นแรก ชั้นจาตุมหาราชิกา) ได้ห้ามพระอาทิตย์และพระจันทร์ไม่ให้หมุน และไล่เสียงนกกาโดยรอบไม่ให้รบกวนแก่สามเณร องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งทรงทราบเหตุการณ์ทุกอย่างด้วยพระญาณ ก็ทรงไปอารักขาที่ซุ้มประตูวัด เพื่อเหนี่ยวรั้งการเข้าไปของพระสารีบุตรด้วยการตรัสถามปัญหา ๔ ข้อ เพื่อให้สามเณรได้บำเพ็ญเพียรสำเร็จเป็นพระอรหันต์ก่อน

พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ คือ พิธีที่บุคคลมีศรัทธาในพุทธศาสนา ประกาศตนยอมรับเอาพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึกการบวชเป็นภิกษุ สามเณร การประกาศตนของคฤหัสถ์ทั่วไปในการยึดเอาพระรัตนตรัยล้วนถือว่าเป็นการแสดงตนเป็นพุทธมามกะทั้งสิ้น

พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะของคฤหัสถ์ทั่วไปนั้น อาจจะกระทำเป็นรายบุคคลหรือเป็นหมู่เป็นคณะก็ได้ ก่อนเริ่มพิธีจะต้องจัดสถานที่ เช่น อุโบสถ ศาลาการเปรียญ หรือหอประชุมขึ้นอยู่กับจำนวนของผู้ที่จะเข้าแสดงตนเป็นชาวพุทธมามกะว่ามีมากหรือน้อย แล้วนิมนต์พระสงฆ์มาประกอบพิธีและรับรู้ในการประกาศตน ซึ่งเริ่มพิธีตามขั้นตอนดังนี้

1. ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย

2. ประธานกล่าวนำคำบูชาพระรัตนตรัย

3. ประธานกล่าวนำคำนมัสการพระรัตนตรัย

4. หัวหน้าของกลุ่มผู้จะประกาศตนเป็นพุทธมามกะนำพานเครื่องสักการะถวายพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน

5. ทุกคนกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์พร้อมกัน

6. ทุกคนทุกเข่าหรือยืนประนมมือ (แล้วแต่กรณี)

คำปฏิญาณต่อหน้าพระสงฆ์

1. คำนอบน้อมพระพุทธเจ้า

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส

2. ปฏิญาณสำหรับผู้ประกาศตนคนเดียว (ชาย)

เอสาหํ ภนฺเต สุจิรปรินิพฺพุตมฺปิ ตํ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ

ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ พุทธฺมามกาติ มํ สงฺโฆ ธาเรตุ

3. คำปฏิญาณสำหรับชายเป็นคณะ

เอเต มยํ ภนฺเต สุจิรปรินิพฺพุตมฺปิ ตํ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม

ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ พุทฺธมามกาติ โน สงฺโฆ ธาเรตุ

แปลว่า ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอถึงพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแม้ปรินิพพานนานแล้ว พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก ขอพระสงฆ์จงจำข้าพเจ้าทั้งหลายว่าเป็นพุทธมามกะ ผู้รับเอาพระพุทธเจ้าเป็นของตน คือผู้นับถือพระพุทธเจ้า

เมื่อจบคำปฏิญาณ พระสงฆ์ยอมรับเข้าเป็นพุทธมามกะ ด้วยการกล่าวคำ “สาธุ” แล้วผู้ปฏิญาณกล่าวคำขออาราธนาศีล 5 ต่อไป

(คนเดียว) อหํ ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห ปยฺจ สีลานิ ยาจามิ

ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห ปยฺจ สีลานิ ยาจามิ

ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห ปยฺจ สีลานิ ยาจามิ

(เป็นคณะ) มยํ ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห ปยฺจ สีลานิ ยาจามิ

ทุติยมฺปิ มยํ ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห ปยฺจ สีลานิ ยาจามิ

ตติยมฺปิ มยํ ภนฺเต วิสุง วิสุง รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห ปยฺจ สีลานิ ยาจามิ

ครั้นรับศีล 5 จบแล้ว พระสงฆ์ผู้เป็นประธานจะให้โอวาทเกี่ยวกับหลักของพระพุทธศาสนาโดยย่อ และกล่าวคำอนุโมทนาเป็นเสร็จพิธี...

การบวชเป็นสามเณรผู้ที่จะบวชต้องมีอายุ 7 ปีขึ้นไปเรียกว่าอะไร

1. การบรรพชา คือ คำที่ใช้ในการบวชสามเณร สามเณรี สิกขมานา และแม่ชี แต่ที่รู้จักกันในปัจจุบันจะใช้ในการบรรพชาสามเณร สำหรับ แม่ชีและสามเณรี จะให้คำว่าบวช สำหรับการบรรพชาสามเณร ผู้ที่ต้องการบรรพชาจะต้องมีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป การบรรพชาเป็นการบวชเพื่อเรียนรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

การบวชเป็นสามเณรเรียกว่าอะไร

(บันพะ-, บับพะ) น. การบวช เช่น บรรพชาเป็นกิจที่ทำได้ยาก, ถ้าใช้เข้าคู่กับคำ อุปสมบท เป็น บรรพชาอุปสมบท บรรพชา หมายความว่า การบวชเป็นสามเณร อุปสมบท หมายความว่า การบวชเป็นภิกษุ. บรรพชา

การบวชเป็นสามเณรเรียกว่าบรรพชาถือศีลกี่ข้อ

ศีล 10 นี้ ประกอบด้วยศีล 5 ข้อแรกเป็นของฆราวาส สำหรับผู้ครองเรือน ส่วนศีล 10 เป็นข้อปฏิบัติของสามเณร สามเณรี และสิกขมานา (ผู้ที่ขอบวชเป็นภิกษุณี ซึ่งต้องบวชเป็นสามเณรี และไม่ผิดศีลข้อ 1 2 3 4 5 6 เป็นเวลาถึง 2 ปีโดยไม่ขาดศีลทั้ง 6 ข้อโดยไม่ขาดเลย แต่ข้อ 7 8 9 10 ขาดได้บ้าง) รวมทั้งเป็นข้อปฏิบัติของ สมณะนักบวชนอกพระ ...

บวชเป็น พระ ภิกษุ เรียกว่า อะไร

ในพระพุทธศาสนา เรียกการบวชว่าการอุปสมบท (บาลี: อุปสมฺปทา) แต่เดิมนั้น การบวชเรียกว่าบรรพชา (บาลี: ปพฺพชฺชา แปลว่า เว้นทั่ว, เว้นจากความชั่วทุกอย่าง) ปัจจุบันคำว่าบรรพชาใช้กับการบวชสามเณร ในขณะที่อุปสมบทใช้กับการบวชพระภิกษุ