โครงงานภาษาไทย เรื่อง อักษรย่อ

โครงงาน เรื่องคาท่ีมักเขยี นผิดในภาษาไทย คณะผูจ้ ัดทา นางสาว ปภสั รา หนแู กว้ เลขที2่ 6 ม.6/3 นางสาว อรอมุ า อนิ พรม เลขท2ี่ 8 ม.6/3 นางสาว ทพิ ยด์ าวัลย์ เค้าอนรุ กั ษ์ เลขท3่ี 8 ม.6/3 นางสาว อัญยาวี ภูมิเลศิ เลขที4่ 1 ม.6/3 ครผู ู้สอน นาย ธริ พงษ์ คงดว้ ง รายงานโครงงานงานฉบับน้ีเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย ท 33102 ภาคเรยี นท่ี2ปกี ารศกึ ษา2563 โรงเรยี นทปี ราษฎรพ์ ทิ ยา จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

1 โครงงานภาษาไทย เรื่อง คาทีม่ ักเขียนผิดในภาษไทย คณะผู้จดั ทา นางสาว ปภัสรา หนแู ก้ว เลขท่2ี 6 ม.6/3 นางสาว อรอมุ า อินพรม เลขท่2ี 8 ม.6/3 นางสาว ทิพย์ดาวัลย์ เคา้ อนรุ กั ษ์ เลขที3่ 8 ม.6/3 นางสาว อัญยาวี ภูมเิ ลศิ เลขที่41 ม.6/3 ครผู ูส้ อน นาย ธริ พงษ์ คงด้วง รายงานโครงงานงานฉบับนเ้ี ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวิชาภาษาไทย ท 33102 ภาคเรียนท่ี2ปกี ารศกึ ษา2563 โรงเรียนทีปราษฎร์พทิ ยา

2 คานา รายงานเลม่ น้ีเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวิชาภาษาไทย ใชใ้ นการนาเสนอและเพ่ือสรา้ งความ เขา้ ใจและความหมายในคาของภาษาไทย ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีมรี ายละเอียดเยอะ ซบั ซอ้ น งดงามอกี ทง้ั ยังเปน็ เคร่อื งสาคญั ทีช่ ว่ ยในการแสวงหาความร้ทู ั้งจากในหนงั สือ และแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศต่างๆท้ังนค้ี ณะผศู้ ึกษาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจและ เลือกสรรใชภ้ าษาที่ถกู ต้องเพ่อื ดารงไว้ซง่ึ ความถูกตอ้ งความภาคภูมใิ จของชาติและ สามารถนาไปใชพ้ ัฒนาทักษะอาชพี ตา่ งๆเพ่อื ประโยชน์ของตนเองและสังคมรกั ษา ภาษาไทยใหอ้ ยู่สบื ทอดตอ่ ไป คณะผู้จดั ทา

3 กิตติกรรมประกาศ รายงานฉบบั นจ้ี ดั ทาขนึ้ เพอ่ื นาเสนอโครงงาน เรอื่ ง คาทมี่ กั เขียนผดิ ใน ภาษาไทยคณะผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาจาก อินเตอรเ์ น็ตรวบรวมข้อมลู และเกบ็ บนั ทึก ขอ้ มลู เพอื่ ศึกษา ใหก้ ลุ่มนกั เรียน นักศกึ ษาหรอื บุคคลทั่วไปไดศ้ ึกษา และทาความ เขา้ ใจเกีย่ วกับ คาท่มี ักเขียนผดิ ในภาษาไทยการนาเสนอโครงงานช้ินน้ี และกอ่ ให้เกิด ประโยชน์สงู สดุ กลมุ่ ของขา้ พเจา้ หวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ โครงงาน เรอื่ ง คาทม่ี ักเขียนผิดใน ภาษาไทย ท่กี ล่มุ ของข้าพเจา้ ไดท้ าการศึกษาคน้ คว้ามานี้ จะก่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อผู้ พบเห็นและเป็นประโยชน์ตอ่ คนท่ีสนใจศึกษาต่อไป คณะผ้จู ัดทา

สารบญั 4 บทท1ี่ บทนา หนา้ ท1่ี ทีม่ าและความสาคัญ หน้าท1ี่ วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา หน้าท่ี2 ขอบเขตการศกึ ษา หน้าท่ี2 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ หน้าท่ี3 นยิ ามศัพท์ หนา้ ที่3 บทท2ี่ เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง หนา้ ที่4 บทท3ี่ วิธดี าเนนิ การ หนา้ ท่ี6 การรวบรวมข้อมลู บทท4ี่ การวเิ คราะห์ หน้าที่7 บทท5่ี สรุปผล อภิปราย ขอ้ เสนอแนะ หนา้ ที่8 วธิ ีการศึกษา หนา้ ท่ี9 สรปุ ผลการคน้ ควา้ หน้าท่ี9 ข้อเสนอแนะ หนา้ ท่ี9 บรรณานุกรม หน้าที่9

สารบญั ตาราง 5 ตัวอยา่ งคาทม่ี ักเขยี นผดิ หนา้ 4-5 ระยะเวลาในการทา หน้า7

6 โครงงานเรอื่ ง การศกึ ษาคาทมี่ กั เขยี นผิดในภาษาไทย คณะผ้จู ดั ทา 1)นางสาว ปภัสรา หนูแกว้ เลขท2่ี 6 ม.6/3 2)นางสาว อรอุมา อนิ พรม เลขท2ี่ 8ม.6/3 3)นางสาว ทพิ ย์ดาวัลย์ เค้าอนุรักษ์ เลขท่ี38ม.6/3 4)นางสาว อญั ยาวี ภมู ิเลิศ เลขท่ี41ม.6/3 บทท่ี1บทนา ทีม่ าและความสาคญั การเขียนภาษาไทยใหถ้ ูกตอ้ งนนั้ นับวา่ เปน็ การดแี ละเป็นความน่าภาคภมู ิใจเปน็ อย่างมากเพราะเป็นคาของชาติตวั เอง การเขียนคาภาษาไทยได้ถูกต้องเป็นการแสดง ถงึ ความเขา้ ใจ และให้ความสาคญั อย่างลกึ ซง้ึ กับภาษาซงึ่ เปน็ มรดกล้าคา่ ของไทยแต่ โบราณมา แตใ่ นปจั จุบัน การเขยี นภาษาไทยเปน็ ไปอย่างกว้างขวางทว่ั ถึง อกี ทั้ง ภาษาไทยเป็นภาษาท่งี ดงามซบั ซอ้ น มตี ัวพยัญชนะถงึ 44 ตวั มีคาพอ้ งรูป พอ้ งเสยี ง มากมาย จงึ ทาให้เกิดความสับสน ในการสะกดคาบางคา นานวันเข้าจงึ มคี าท่มี ักเขยี น ผิดเพราะอาจจะดว้ ยเราใช้ภาษาพูดเป็นส่วนใหญ่เมอื่ ต้องเขยี นอาจจะเขียนผิดบ้างถกู บา้ งและในบางครง้ั เราอาจจะละเลยการเขียนทถี่ กู ตอ้ งเพราะไม่อยากมานง่ั ใหม้ นั ซบั ซ้อนหรอื ลาบากจนเกินไปเพราะบางคาในภาษาไทยมีรายละเอียดเยอะนัน้ ทางเรา คณะผจู้ ัดทาจงึ ศึกษาและทาโครงงานนีข้ นึ้ มาเพราะเล็งเห็นถึงความสาคัญของภาษา อยากใหภ้ าษาอยตู่ ่อสบื ทอดความถูกต้องตอ่ ไป

7 วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา 1. เพื่อรวบรวมคาทม่ี ักเขียนผดิ ในภาษาไทย ค้นควา้ แก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง 2. เพ่ือคน้ หาความหมายของคาท่ีได้แก้ไขให้ถกู ต้องแลว้ นั้นมาแสดงไว้ให้งา่ ย ตอ่ การค้นควา้ 3. เพ่ือให้การเขียนคาในภาษาไทยเปน็ ไปอย่างถูกตอ้ งตามแบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ซง่ึ เป็นมาตรฐานในการเขียนคาภาษาไทย ขอบเขตของการศึกษาค้นควา้ รวบรวมคาที่มกั เขยี นผิดในอนิ เตอรเ์ น็ตแหล่งความรตู้ า่ งๆ เรียบเรียง ใหม่ตามลาดับตวั อักษรและค้นหาความหมายของคานัน้ ๆ ตามลาดบั ตัวอกั ษร ก-ฮ ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1. ได้รวบรวมคาท่ีมักเขยี นผิดในภาษาไทย ค้นคว้าแกไ้ ขให้ถกู ต้องแลว้ เรียบเรียงใหม่ ตามลาดับตวั อักษรต้งั แต่ ก-ฮ 2. ไดค้ น้ หาความหมายของคาทีไ่ ด้แก้ไขให้ถกู ตอ้ งแลว้ นนั้ มาแสดงไวใ้ ห้งา่ ยตอ่ การ คน้ คว้า 3. ไดใ้ หก้ ารเขียนคาในภาษาไทยเป็นไปอย่างถกู ต้องตามแบบพจนานุกรม ฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ซึ่งเปน็ มาตรฐานในการเขยี นคาภาษาไทย

8 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1.การศกึ ษา หมายถงึ การหาความรแู้ ละประสบการณเ์ พิ่มเติมให้ตนเองรวมถงึ การ พัฒนาตนเอง 2.คา หมายถงึ เสยี งทเี่ ปล่งออกมาครัง้ หน่ึง ๆ, เสยี งพูด หรือตวั หนังสอื ที่เขยี นขนึ้ มี ความหมายในตวั ไม่วา่ จะมีก่พี ยางค์ก็ตาม 3.มกั หมายถึง ชอบ, พอใจ 4.เขียน หมายถึง ขีด หรือวาดให้เป็นตวั อกั ษรตวั เลข หรอื รปู ภาพ, แต่งหนังสอื , ประพันธ์ 5.ผิด หมายถึง ไมต่ รงกบั ความจริง หรือที่กาหนดไว,้ ไมถ่ กู , แตกต่างออกไป, แปลก ไป, ไมเ่ หมือน 6.ภาษาไทย หมายถงึ เปน็ ภาษาราชการและภาษาประจาชาตขิ องประเทศไทย

9 บทท่ี2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง การศกึ ษาเกยี่ วกับกลมุ่ คาที่มกั เขียนผดิ ในภาษาไทยทางคณะไดจ้ ัดการ คน้ คว้าเกย่ี วกับความร้แู ละความเข้าใจของกลุ่มนกั เรียนหรอื วยั รุน่ ในปจั จบุ ัน ทางกลุ่มคณะจะทาการศกึ ษากลุ่มคาพวกนี้ โดยมปี ระเด็นที่จะศึกษามี ดังนี้ 1)ตัวอยา่ งคาทท่ี างคณะผูจ้ ดั ทาไดย้ กตัวอยา่ งมาบางสว่ น 2)ลกั ษณะคาพ้องรูป พ้องเสยี ง -ความหมายของการเขยี นทต่ี ่าง แตล่ กั ษณะการออกเสยี งเหมือนกัน -ความสาคัญของการใช้ภาษาในปัจจบุ ัน -องคป์ ระกอบทส่ี าคัญในการเขียนแตล่ ะคา 3) ตวั อย่างคาทีม่ กั ใชผ้ ดิ และคาทถ่ี ูก -จากเว็บไซต์อนิ เทอร์เน็ต http://nawapat.is.in.th/?md=contennt&ma=show&id=45 1.ตวั อยา่ งคาทมี่ กั เขยี นผดิ ในภาษาไทย และการเขียนทถ่ี ูกตอ้ ง คาที่ถูกต้อง คาที่มกั เขียนผดิ กะเทย กระเทย จกั จั่น จกั จนั่ เซน็ ตเิ มตร เซนตเิ มตร ดอกไม้จันทน์ ดอกไมจ้ ันทร์ ตาหรบั ตารับ ของคาพอ้ งเเบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดงั นี้

10 1. คาพอ้ งรปู คือ คาท่เี ขียนเหมือนกนั แตอ่ อกเสียงตา่ งกนั ในการอ่านจึงต้องระมดั ระวัง โดยดูจากบรบิ ทของคาแวดล้อม เพือ่ ใหถ้ กู ต้องและส่อื ความหมายไดต้ รงกับเจตนารมณ์ ของสาร เชน่ กรี อา่ นว่า กรี (อ่านแบบควบกํลา้ ) แปลว่า อวยั วะสว่ นหวั กงุ้ อา่ นว่า กะ-รี แปลวา่ ช้าง แหน อ่านวา่ แหน (อ่านแบบอักษรนา) แปลวา่ พืชนํา้ ชนดิ หนงึ่ อา่ นว่า แหน แปลว่า หวง เฝา้ เพลา อา่ นว่า เพลา (อ่านแบบควบกํลา้ ) แปลว่า ตกั ส่วนของรถ เบาลง อ่าน ว่า เพ-ลา แปลวา่ เวลา ตัวอยา่ ง คาพ้องรูป ปักเปา้ ปัก-กะ-เปา้ หมายถึง ชื่อปลาชนิดหนงึ่ ปัก-เป้า หมายถงึ ชื่อว่าว ชนิดหน่ึง สมาธิ สะ-มา-ทิ หมายถงึ การสารวมใจเเน่วเเน่ สะ-หมาด หมายถงึ ทา นั่งขดั สมาธิ สระ สะ หมายถึง แอง่ นา้ ขนาดใหญ๋ สะ-หระ หมายถึง อกั ษรเเทนเสยี ง สระ 2. คาพ้องเสียง คอื คาที่เขยี นไม่เหมือนกัน แต่ออกเสียงเหมอื นกัน และมคี วามหมาย ตา่ งกัน เช่น กาล กาฬ กานต์ กาล อ่านว่า กาน แปลว่า เวลา กาฬ อ่านว่า กาน แปลว่า ดา กานต์ อา่ นว่า แปล่วา่ ท่ีรัก จัน จันทน์ จันทร์ จนั อ่านวา่ จนั แปลว่า ต้นไม้ชนิดหน่งึ จันทน์ อา่ นวา่ จัน แปลวา่ ไมห้ อม จนั ทร์ อา่ นว่า จัน แปลว่า ดวงเดือน คายอ่ และอักษรย่อ ตวั อยา่ ง คาพ้องเสียง กรรณ (ห)ู , กัณฐ์ (คอ), กนั ต์ (ตดั ,โกน) = กนั ขา้ (คนรบั ใช)้ , ค่า (คุณประโยชน์), (ทาใหต้ าย) = ข้า ควาน (เอามือคน้ หาของ), ควาญ (ผูเ้ ลยี้ งเเละขับข่ชี ้าง) = ควาน ศรี (สริ มิ งคล), สี (สิง่ ทท่ี าให้เปน็ สตี า่ งๆ

11 บทท่ี3 วิธีดาเนนิ การ การศกึ ษาเกย่ี วกับคาในภาษาไทยทม่ี กั เขียนผิดไดท้ าการศึกษาเพือ่ สร้างความรคู้ วาม เขา้ ใจเกย่ี วกับคาในภาษาท่ีมกั เขียนผิดมวี ตั ถุประสงค์เพอ่ื ทาเข้าใจเกย่ี วกับคา โดยมขี น้ั ตอนการดาเนินวจิ ยั ดังนี้ 1. วางแผนขั้นตอนขอบเขตการศกึ ษาเรอ่ื งท่ีจะคน้ คว้า 2.เลอื กเนอื้ หาการใช้คาท่ถี ูกและรูปแบบตวั อย่างทผ่ี ิดเพื่อเป็นข้อมลู ในการ นาเสนอ 3.รวบรวมขอ้ มูลภาษาและการใช้คาท่ไี ดจ้ ากช่องทาง ทางอนิ เทอร์เน็ต และ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ มาจากเว็บไซต์อืน่ ๆ 4.ดาเนนิ การวเิ คราะห์หวั ข้อทท่ี างคณะผจู้ ัดทาไดท้ าขึน้ 5. จัดทารปู เล่มรายงานการศกึ ษาค้นควา้ สรุปและอภปิ รายผลขอ้ มลู การศึกษา ค้นคว้า 6.นาเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้

12 เกณฑ์การวิเคราะหม์ ีการใชก้ ลวิธี 3 แบบดังนี้ กลวถิ ใี ชภ้ าษาที่ถกู ตอ้ ง -การใชร้ ปู แบบวรรณยกุ ต์ สระ -การแยกแยะภาษาเฉพาะกลมุ่ และภาษาคาท่ีเกดิ ใหม่ -วเิ คราะหจ์ ากแหลง่ อ้างองิ -เปน็ แหล่งข้อมลู ทชี่ ดั เจน และเปน็ จริง การรวบรวมขอ้ มลู ในการจดั ทามีระยะเวลาในการดาเนินดังนี้ ขั้นตอนการศกึ ษา ช่วงเวลา ผูร้ ับผดิ ชอบ รวบรวมขอ้ มลู วนั จนั ทร์ ท่ี 25 ธันวาคม 2563 คณะผูจ้ ัดทา เอกสารและงาน วเิ คราะหก์ ลุ่มคา จนั ทรพ์ ธุ ท่ี20 มกราคม 2564 คณะผู้จัดทา สรปุ และอภปิ ราย วนั จันทร์ ท่ี 25 มกราคม 2564 คณะผจู้ ดั ทา 7

13 บทท่ี4 การวเิ คราะห์ การศกึ ษาค้นคว้าเรอื่ ง การใชค้ าทีม่ กั เขยี นผิดในภาษาไทยของคณะผูจ้ ดั ทาได้ แบง่ วิเคราะห์ขอ้ มลู ออกเปน็ 2 ประเด็น ตามวตั ถุประสงคใ์ นการศกึ ษาค้นควา้ ได้แก่ เพอ่ื ศกึ ษาคาท่ีสระกดผดิ ในวรรณยกุ ต์ การศกึ ษาคาท่ผี ิดในสระ อย่างมี ความรูเ้ พอื่ สรา้ งเข้าใจ 1.การศึกษาคาทีส่ ระกดผิดท่ีพยัญชนะควบกลา้ การสะกดผิดทเี่ กดิ จากความผดิ พลาดของคาควบกล้านี้เป็นลักษณะ การ สะกดผดิ ที่เมอื่ เรยี งตามจานวนคาผิดทถี่ ูกจาแนกตามลกั ษณะการสะกดผดิ แล้วอยูใ่ นลาดับท5่ี พบว่ามีจานวนคาทีส่ ะกดผิดเน่อื งจากความผดิ พลาดใน ของการใชค้ าควบกลา้ 2.คาท่ีสะกดผดิ ในสระ การสะกดผดิ ท่เี กดิ จากการเลอื กใชส้ ระไมถ่ ูกตอ้ ง ซึง่ พบว่ามีคาที่สะกด ผิดในลักษณะนี้ 56 คา จาก 108 คา คดิ เปน็ 51.85% ซ่ึงรปู แบบของการ สะกดผดิ ในลกั ษณะนม้ี ักจะเปน็ การเลอื กใชส้ ระผดิ ระหว่าง สระ (ไ) และ (ใ) ตัวอยา่ งเช่น ไตฝ้ นุ่ เขียนผิดเปน็ ใตฝ้ ่นุ และ เยื่อใย เขยี นผดิ เปน็ เยอื่ ไย เป็น ต้น

14 บทที่5 สรุป อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าเรือ่ ง คาทมี่ กั เขียนผดิ ในภาษาไทยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือสร้าง เขา้ ใจที่ตรงกันของคนที่ต้องการท่ีจะศึกษาการให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป และต้องการท่ี จะเผยแพรค่ วามรู้ให้คนรุ่นต่อๆไปได้ร้จู ากสอื่ อินเตอรเ์ น็ต วดิ ีโอ เวบ็ ไซตต์ า่ งๆ มวี ธิ กี ารศกึ ษาดังน้ี 1)รวบรวมกล่มุ คาทต่ี ้องการศึกษา 2)ศึกษากลวิธีการใช้รปู วรรณยุกต์ คาพ้องเสยี ง 3)ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบคา และกลุ่มคาทม่ี กั ใชผ้ ิดๆ 4)นาเสนอขอ้ มลู จดั เปน็ หมวดหมู่ 5)วิเคราะห์ขอ้ มูล 6)สรุปผล สรปุ ผลการศึกษาค้นคว้าครง้ั น้ี คณะผู้จดั ทาไดร้ วบรวมขอ้ มลู ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ การใช้คาผิดในภาษาไทย ซึ่งมีขั้นตอนการดาเนินการดงั นี้ จากการจัดทาโครงงานและสารวจกลุ่ม เยาวชนในยคุ ปัจจบุ ันพบว่าคนกลุ่มมากใชภ้ าษพดู มากกว่าภาษาเขยี นเป็น สว่ นใหญ่ จึงมอี าจมกี ารเขยี นถกู บางผิดบางเพราะในยุคปจั จุบนั เราอาจไม่ ไดม้ านั่งสนใจในการเขยี นละเลยในคาทีถ่ กู และค่อนขา้ งไม่มีความรทู้ ถ่ี กู ตอ้ ง มากพอ ทางคณะผ้จู ัดทาจงึ เลง็ เหน็ ถงึ ความสาคัญวา่ เราจะตอ้ งนาความรู้มา เผยแพร่ เพ่ือไหก้ ลุม่ เยาวชนกลุ่มนี้มีหลักการเขยี นทีถ่ กู ต้อง

15 ขอ้ เสนอแนะ 1)ควรมกี ารศกึ ษาคน้ คว้าจากสื่อความรตู้ า่ งๆใหห้ ลากหลายมากกวา่ นี้ 2)ควรมีการนาผลการศกึ ษาไปเผยแพร่

16 บรรณานุกรม ที่มา.http://nawapat.is.in.th/?md=content&ma=show&id=45 https://www.youtube.com/watch?v=PMgNwlncmHM https://www.dek-d.com/writer/10857/