สำนวน ไทย เกี่ยว กับ การ ฟัง

Facebook

邮箱或手机号 密码

忘记帐户?

注册

无法处理你的请求

此请求遇到了问题。我们会尽快将它修复。

  • 返回首页

  • 中文(简体)
  • English (US)
  • 日本語
  • 한국어
  • Français (France)
  • Bahasa Indonesia
  • Polski
  • Español
  • Português (Brasil)
  • Deutsch
  • Italiano

  • 注册
  • 登录
  • Messenger
  • Facebook Lite
  • Watch
  • 地点
  • 游戏
  • Marketplace
  • Facebook Pay
  • Oculus
  • Portal
  • Instagram
  • Bulletin
  • 本地
  • 筹款活动
  • 服务
  • 选民信息中心
  • 小组
  • 关于
  • 创建广告
  • 创建公共主页
  • 开发者
  • 招聘信息
  • 隐私权政策
  • Cookie
  • Ad Choices
  • 条款
  • 帮助中心
  • 联系人上传和非用户
  • 设置
  • 动态记录

Meta © 2022

Article Sidebar

สำนวน ไทย เกี่ยว กับ การ ฟัง

เผยแพร่แล้ว: ก.ย. 27, 2021

คำสำคัญ:

สานวนไทย ทักษะภาษา การสื่อสาร

Main Article Content

บทคัดย่อ

ภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติที่คงความเป็นเอกลักษณ์ที่มีความสำคัญยิ่งของชาติไทย
หน้าที่ของคนไทยทุกคนจะต้องศึกษาเรียนรู้และฝึกฝน ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการ
เขียน เพื่อจะได้สามารถใช้ภาษาไทยสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งการใช้สำนวนไทย ซึ่งเป็นทักษะทางภาษาที่ต้องอาศัยการเรียนรู้ทั้งทางหลักวิชาและการปฏิบัติ
สำนวนไทยเป็นเครื่องชี้ให้เห็นความสามารถทางภาษา การเรียบเรียงถ้อยคำ การรวมข้อความยาว ๆ ให้
สั้น อาจใช้เป็นเครื่องเตือนใจ เช่น ให้คนเรามีความรอบคอบ ให้รู้หน้าที่ รู้เวลา เป็นต้น หรือเป็น
เครื่องบ่งชี้ให้เห็นวิถีการดำเนินชีวิตของคนในอดีตสะท้อนให้เห็นความอุดมสมบูรณ์ อาชีพการดารงชีวิต
ร่วมกัน ความเชื่อและประเพณี จึงชี้ให้เห็นว่าคุณค่าของสานวนไทยนั้นปรากฏอย่างชัดเจน มีผู้นำไปใช้
ประโยชน์ในแง่มุมต่าง ๆ ตามต้องการ สำนวนไทยเป็นจำนวนมากที่ได้รับความนิยม และมีบทบาทอย่าง
แพร่หลายในทุกวงการ อันสืบเนื่องมาจากมีความหมายที่ลึกซึ้งกินใจจึงได้แพร่กระจายออกไปทั้งใน
ลักษณะของภาษาพูดและภาษาเขียนที่นามาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่ควร
เรียนรู้ เนื่องจากการใช้สำนวนไทยประกอบการสื่อสารด้านการพูด และการเขียนในปัจจุบัน สื่อ
ความหมายไม่ได้ดีเท่าที่ควร เพราะผู้ใช้ขาดความรู้ ความเข้าใจในความหมายของสำนวน หรือใช้สำนวน
ผิดเนื่องจากความสามารถการใช้ภาษาแตกต่างกันตามปัจจัยต่าง ๆ เช่น วัย ภูมิหลังทางสังคม อาชีพ
ความสนใจ เป็นต้น แต่สาเหตุที่สาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การนำสำนวนมาใช้สื่อสารโดยมีการตัดหรือ
เพิ่มเติมคำหรือสร้างขึ้นใหม่จากเค้าความเดิม

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

JOURNAL OF MCU LOEI REVIEW
ISSN 2730-1451

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย วิทยาลัยสงฆ์เลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เลขที่ 119 หมู่ 5 ตาบลศรีสองรัก อาเภอเมือง จังหวัดเลย 42100.
โทรศัพท์ : 042 039 630
โทรศัพท์ : 085 419 3595
Email :

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการยอมคู่กรณีเพื่อไม่ให้มีเรื่องราวใหญ่โต แต่ถ้าหากไม่ยอมแพ้ก็จะมีปัญหาและเรื่องราวอาจจะบานปลาย

ที่มาของสํานวน เป็นธรรมเทศนาที่มีกุศโลบายสอนให้คนรู้จักระงับความโกรธ โดยหากใช้ความอดกลั้นและยอมถอย ไม่ทะเลาะด้วย เรื่องราวร้ายๆก็จะไม่เกิด ถึงแม้จะเป็นฝ่ายแพ้ในการโต้เถียง แต่ก็ขึ้นชื่อได้ว่าประเสริฐนัก

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงให้รู้จักกาละเทศะ รู้จักที่ต่ำที่สูง ไม่ตีตนเสมอด้วย

ที่มาของสํานวน ท้องฟ้าเปรียบถึงความสูงส่ง ส่วนแผ่นดินนั้นอยู่ต่ำกว่าท้องฟ้ามากนัก และมีความห่างชั้นกันมาก สำนวนนี้เป็นสำนวนไทยแท้ ตั้งแต่สมัยอดีต แต่คนต่างชาติจะไม่มีค่านิยมเช่นนี้

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการพูดถึงเรื่องเก่าๆขึ้นมา เพื่อให้มีประเด็นปัญหาขึ้นอีก ทั้งๆที่เรื่องราวนั้นได้จบลงไปแล้ว

ที่มาของสํานวน

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการรับฟังเรื่องราวต่างๆ ให้เพียงแต่รับฟังไว้ก่อน อย่าเพิ่งเชื่อสิ่งที่ได้รับฟังทั้งหมด

ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึงการที่คนเราฟังเรื่องราวใดๆ ให้ใช้หูฟังข้างเดียว ส่วนหูอีกข้างให้เอาไว้ก่อน คือปิดหูอีกข้างไว้

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการได้ยินเรื่องราวใดๆมาแบบไม่เข้าใจถ่องแท้ แล้วนำมาถ่ายทอดแบบผิดๆ หรือนำมาใช้แบบผิดๆ

ที่มาของสํานวน “กระเดียด” คือ ค่อนข้าง,หนักไปทาง เมื่อมารวมกันเป็น “ฟังไม่ได้ศัทพ์ จับเอามากระเดียด” ก็จะหมายถึงการฟังอะไรมาแบบไม่เข้าใจถ่องแท้ แต่ก็นำไปใช้ตามความเข้าใจที่เข้าใจเองว่าน่าจะถูก

สํานวนสุภาษิตนี้ มีความหมายเหมือนกับคำว่า “จับไม่ได้ ไล่ไม่ทัน” หมายถึงผู้ที่พูดจาตลบแตลง กลับกลอก เอาตัวรอดเก่งรู้จักใช้คำพูดพลิกแพลงเอาตัวรอดได้เสมอ แต่มีลักษณะไม่น่าเชื่อถือ

ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึงคนที่หลบหลีกเก่งได้คล่องแคล่ว แม้จะเอามะกอกซัก 3 ตะกร้าขว้างไปก็ไม่โดน

สํานวนสุภาษิตนี้ หากเหตุการณ์ยังไม่มีความแน่นอน อย่าเพิ่งด่วนเตรียมการมากเกินไป เพราะอาจจะเสียเปล่าได้ สำนวนนี้มีความหมายเหมือนกับสำนวน “ไม่เห็นกระรอก อย่าโก่งหน้าไม้”

ที่มาของสํานวน คำว่า “ฟั่นเชือก” หมายถึงการทำสิ่งที่เป็นเส้นให้เข้าเกลียวขดเป็นเชือก คำว่า “เรือก” หมายถึงไม้ไผ่ที่ผ่าออกเป็นซีก แล้วร้อยด้วยหวายให้ติดกันสำหรับปูเป็นพื้น สำนวนนี้เปรียบว่า หากยังไม่ได้วัวก็อย่าเพิ่งฟั่นเชือกไม่เช่นนั้นจะเสียแรงโดยเปล่าประโยชน์

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการที่คนมีความรู้ด้านนั้นน้อย แต่กลับไปหลอกลวงผู้ที่มีความรู้เรื่องนั้นเป็นอย่างดี สำนวนนี้ต่างจาก “สอนจระเข้ว่ายน้ำ” หรือ “สอนหนังสือสังฆราช” เพราะสองสำนวนนี้หมายถึงการที่ ผู้ที่รู้น้อยกว่าไปสอนหรือแนะนำคนที่มีความรู้มากกว่าแต่ ผู้สอนมีเจตนาที่บริสุทธ์

ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึงการที่คนนำมะพร้าวห้าว ที่เป็นมะพร้าวแก่จัด ไปหลอกขายคนสวนมะพร้าวที่มีความรู้ด้านมะพร้าวเป็นอย่างดี จึงไม่สามารถที่จะหลอกคนสวนได้

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึง การที่บุคคลหนึ่งไม่ยอมช่วยงานส่วนรวม แต่ยังทำตัวเกะกะการดำเนินงานของส่วนรวมมีความลำบากมากขึ้นไปอีก

ที่มาของสํานวน คำว่า “รา” ในที่นี้ แปลว่า ทำให้น้อยลง อ่อนลง หมดไปอย่างช้าๆ “มือไม่พายเอาเท้าราน้ำ” เปรียบเปรยถึงผู้ที่ลงเรือลำเดียวกับคนอื่นแล้วไม่ยอมช่วยพายเรือ แต่ยังเอาขาจุ่มลงไปในน้ำ ยิ่งจะทำให้คนพายอื่นๆต้องใช้ลำบากมากยิ่งขึ้น

สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงผู้ที่จะเอาชนะคู่แข่งให้ได้ไม่ว่าจะด้วยวิธีใด คือถ้าทำวิธีแรกไม่สำเร็จ ก็จะหาพยายามใช้วิธีที่สอง ถ้าวิธีที่สองไม่ได้อีก ก็จะหาทางอื่นๆเพื่อให้สำเร็จให้ได้ สํานวนนี้จะใช้กับการกระทำที่มีลักษณะไม่ซื่อ หรือการกระทำด้วยวิธีที่ไม่ดี

ที่มาของสํานวน

สํานวนภาษาไทยมีอะไรบ้าง

รวม 30 สํานวนไทย พร้อมความหมาย ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน.
สุกเอาเผากิน การทำงานหรือทำอะไรสักอย่างแบบลวกๆ ให้พอเสร็จสิ้นและผ่านพ้นไป.
ผักชีโรยหน้า ... .
งมเข็มในมหาสมุทร ... .
หัวล้านนอกครู ... .
ไม่เอาถ่าน ... .
ช้าๆ ได้พร้าเล่มงาม ... .
รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง ... .
คนล้มอย่าข้าม.

สํานวนใดเกี่ยวกับการพูด

1. ขวานผ่าซาก หมายถึง การพูดจาตรงเกินไป โผงผาง ไม่เกรงใจใคร พูดไม่ดูกาลเทศะ ไม่ใส่ใจว่าคนฟังจะรู้สึกอย่างไร 2. ฆ้องปากแตก หมายถึง ปากโป้ง, เก็บความลับไม่อยู่, ชอบนำความลับของผู้อื่นไปโพนทะนา 3. ชักแม่น้ำทั้งห้า หมายถึง พูดจาหว่านล้อมเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ

สำนวนข้อใดให้แง่คิดเกี่ยวกับการพูด

ปากฉีกถึงใบหู หมายถึง พูดเยอะมาก พูดจนเบื่อ พูดซ้ำแล้วซ้ำอีก อ้าปากก็เห็นลิ้นไก่ หมายถึง รู้เท่าทันคำพูดที่พูดออกมา

สํานวนใดสัมพันธ์กับการพูดโดยไม่ยั้งคิด

ปลาหมอตายเพราะปาก หมายถึง การพูดพล่อย ๆ ไปเรื่อยโดยไม่ยั้งคิด สุดท้ายตนเอง ก็ได้รับอันตรายจากคำพูดนั้น เป็นสำนวน สุภาษิตเชิงสั่งสอนให้ฉุกคิดก่อนพูด ไม่ควรพูดเรื่องที่อาจจะนำภัยสู่ตัวในภายหลัง