สรุปอัตราเงินสมทบประกันสังคม 2564

สำนักงานประกันสังคมปรับลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคมสำหรับนายจ้างและผู้ประกันตน มาตรา 33 จากเดิม 5% ลดเหลือ 2.5% เป็นระยะเวลา 3 เดือน (มิถุนายน - สิงหาคม 2564) เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของนายจ้างและผู้ประกันตน จากสถานการณ์ COVID-19

สรุปมาตรการลดหย่อนเงินสมทบ

สรุปอัตราเงินสมทบประกันสังคม 2564

ปรับลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม เริ่ม มิ.ย. - ส.ค. 2564

กรณีผู้ประกันตนตามมาตรา 39

  • ปรับลดจาก 9% เหลือ 4.5% นาน 3 เดือน ตั้งแต่ มิถุนายน - สิงหาคม 2564

อ้างอิง: ข่าวประกันสังคม

Facebook

邮箱或手机号 密码

忘记帐户?

注册

无法处理你的请求

此请求遇到了问题。我们会尽快将它修复。

  • 返回首页

  • 中文(简体)
  • English (US)
  • 日本語
  • 한국어
  • Français (France)
  • Bahasa Indonesia
  • Polski
  • Español
  • Português (Brasil)
  • Deutsch
  • Italiano

  • 注册
  • 登录
  • Messenger
  • Facebook Lite
  • Watch
  • 地点
  • 游戏
  • Marketplace
  • Facebook Pay
  • Oculus
  • Portal
  • Instagram
  • Bulletin
  • 本地
  • 筹款活动
  • 服务
  • 选民信息中心
  • 小组
  • 关于
  • 创建广告
  • 创建公共主页
  • 开发者
  • 招聘信息
  • 隐私权政策
  • Cookie
  • Ad Choices
  • 条款
  • 帮助中心
  • 联系人上传和非用户
  • 设置
  • 动态记录

Meta © 2022

สรุปอัตราเงินสมทบประกันสังคม 2564

กระทรวงแรงงาน แจ้งเงื่อนไข ผู้ประกันตน ม.33-39-40 ยื่นลดหย่อนภาษี ปี 2564 

วันที่ 23 ธันวาคม 2564 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน แจ้งว่า กรมสรรพากรให้ประชาชนที่เป็นผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม ตามมาตรา 33, 39 และ 40 ที่มีเงินได้หรือรายได้ตามเกณฑ์กำหนด ยื่นภาษี ต้นปี 2565 โดยนำรายได้มาหักค่าใช้จ่ายลดหย่อนภาษี ซึ่งผู้ประกันตนแต่ละมาตรา จะมีสิทธิการลดหย่อนที่แตกต่างกัน ดังนี้

  • ยอดรถยึดทะลัก 3 แสนคัน ค้างผ่อนค่างวด 1.54 แสนล้าน
  • ประเมินโอกาส สันติ ภิรมย์ภักดี หวนกำกับดูแล บุญรอดบริวเวอรี่
  • ตรวจสอบสถานะ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 2565 วิธีเช็กผลลงทะเบียน

ผู้ประกันตน มาตรา 33 สามารถขอเอกสารได้ที่สถานประกอบการที่ตนเองทำงานอยู่ โดยนายจ้างจะออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งจะแสดงยอดประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย และจำนวนเงินสมทบประกันสังคมที่หักไว้ เพื่อใช้สำหรับยื่นเสียภาษีประจำปี เงินสมทบมาตรา 33 สามารถนำไปลดหย่อนภาษีประจำปีได้ ตามจำนวนเงินที่จ่ายจริง ไม่เกิน 9,000 บาท (750×12 เดือน = 9,000 บาท)

ขณะที่ ในปี 2564 มีการลดอัตราเงินสมทบ ม.33 จะลดหย่อนสูงสุดไม่เกิน 5,100 บาท ดังนี้

  • เดือน ม.ค. 2564 ส่งเงินสมทบ 3% สูงสุด 450 บาท
  • เดือน ก.พ.-มี.ค. 2564 ส่งเงินสมทบ 0.5% สูงสุด 75 บาท
  • เดือน เม.ย.-พ.ค. 2564 ส่งเงินสมทบ 5% สูงสุด 750 บาท
  • เดือน มิ.ย.-พ.ย. 2564 ส่งเงินสมทบ 2.5% สูงสุด 375 บาท
  • เดือน ธ.ค. 2564 ส่งเงินสมทบ 5% สูงสุด 750 บาท

เงื่อนไข ม.39 ลดหย่อนภาษี

เงินสมทบมาตรา 39 สามารถนำไปลดหย่อนภาษีประจำปีได้ ตามจำนวนเงินที่จ่ายจริง ไม่เกิน 5,184 บาท (432×12เดือน = 5,184 บาท) แต่ในปี 2564 มีการลดอัตราเงินสมทบ ม.39 จะลดหย่อนสูงสุดไม่เกิน 3,003 บาท ดังนี้

  • เดือน ม.ค. 2564 ลดเงินสมทบเหลือ 278 บาท
  • เดือน ก.พ.-มี.ค. 2564 ลดเงินสมทบเหลือ 38 บาท
  • เดือน เม.ย.-พ.ค. 2564 ส่งเงินสมทบ 432 บาท
  • เดือน มิ.ย.- ส.ค. 2564 ลดเงินสมทบเหลือ 216 บาท
  • เดือน ก.ย.-พ.ย. 2564 ลดเงินสมทบเหลือ 235 บาท
  • เดือน ธ.ค. 2564 ส่งเงินสมทบ 432 บาท

เงื่อนไข ม.40 ลดหย่อนภาษี

เงินสมทบมาตรา 40 สามารถนำไปลดหย่อนภาษีประจำปีได้ ตามจำนวนเงินที่จ่ายจริง ไม่เกิน 3,600 บาท (300×12 เดือน = 3,600 บาท) แต่ในปี 2564 มีการลดอัตราเงินสมทบ ม.40 ดังนี้

ทางเลือกที่ 1 ส่งเงินสมทบ สูงสุดไม่เกิน 700 บาท

  • เดือน ม.ค-ก.ค. 2564 เงินสมทบ 70 บาท
  • เดือน ส.ค.-ธ.ค. 2564 ลดเงินสมทบเหลือ 42 บาท

ทางเลือกที่ 2 ส่งเงินสมทบ สูงสุดไม่เกิน 1,000 บาท

  • เดือน ม.ค-ก.ค. 2564 เงินสมทบ 100 บาท
  • เดือน ส.ค.-ธ.ค. 2564 ลดเงินสมทบเหลือ 60 บาท

ทางเลือกที่ 3 ส่งเงินสมทบ สูงสุดไม่เกิน 3,000 บาท

  • เดือน ม.ค-ก.ค. 2564 เงินสมทบ 300 บาท
  • เดือน ส.ค.-ธ.ค. 2564 ลดเงินสมทบเหลือ 180 บาท

ทั้งนี้ผู้ประกันตน สามารถนำบัตรประชาชนตัวจริง ไปติดต่อขอคัดสำเนาการนำส่งเงินสมทบ เพื่อนำไปลดหย่อนภาษี ได้ที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา ทุกแห่ง (ยกเว้น สำนักงานใหญ่ บริเวณกระทรวงสาธารณสุข)

สรุปอัตราเงินสมทบประกันสังคม 2564

สรุปอัตราเงินสมทบประกันสังคม 2564

ไม่พลาดข่าวสำคัญ เจาะลึกทุกประเด็น
เพิ่มเราเป็นเพื่อนทาง @prachachat

สรุปอัตราเงินสมทบประกันสังคม 2564