บอกลักษณะของการทําธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัยอย่างน้อย 3 ข้อ

Skip to content

Show

8 วิธี ใช้เงินออนไลน์อย่างไรให้ปลอดภัย ไร้โจรกรรม

    ในยุคที่การจัดการการเงินเป็นเรื่องง่ายเพียงปลายนิ้ว ด้วยการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ ในยุคที่การจัดการการเงินเป็นเรื่องง่ายเพียงปลายนิ้ว ระบบชำระเงินที่คนไทยได้รับความนิยมมากขึ้น  เนื่องจากมีการใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Banking) และผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet Banking) ทดแทนการใช้เงินสดแบบเดิมด้วยข้อดีไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และลดความเสี่ยงข้อผิดพลาดต่างๆจากการบริหารจัดการเงินสด  ด้วยการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ มาดูกันว่า อะไรควรทำ ไม่ควรทำ เพื่อให้การทำธุรกรรมปลอดภัย ห่างไกลมิจฉาชีพ กับ 8 วิธี ใช้เงินออนไลน์ อย่างไรให้ปลอดภัยมาดูกันว่า อะไรควรทำ ไม่ควรทำ เพื่อให้การทำธุรกรรมปลอดภัย ห่างไกลมิจฉาชีพ กับ 8 วิธี ใช้เงินออนไลน์  อย่างไรให้ปลอดภัย

1.จำกัดวงเงินการทำธุรกรรม
2.ตั้งรหัสผ่านเข้ามือถือ เพื่อป้องกันผู้อื่นเข้าแอปทำธุรกรรมการเงินของเรา
3.ตั้งรหัสผ่านที่เดาได้ยาก มีทั้งตัวเลขและตัวอักษร และหมั่นเปลี่ยนรหัสบ่อยๆ
4.Download Application ของธนาคารจาก App Store หรือ Google play เท่านั้น
5.ระวังการแอบอ้างหรือเลียนแบบสถาบันการเงินหรือหน่วยงานราชการ
6.สมัคร SMS หรือ Email แจ้งเตือนการทำธุรกรรมทางการเงินเพื่อตรวจสอบความเคลื่อนไหวได้ทันที
7.ออกจากระบบทุกครั้ง หลังทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์
8.ไม่ใช้ Wi-Fi ในการทำธุรกรรม เพราะเสี่ยงต่อการโดนขโมยข้อมูล

   สิ่งสำคัญที่สุดคือ ผู้ใช้บริการควรหมั่นศึกษารูปแบบธุรกรรมและวิธีการรักษาความปลอดภัยที่ผู้ให้บริการเสนอ ก่อนตัดสินใจใช้บริการ ศึกษากลโกงด้วยวิธีการต่างๆ และติดตามข่าวสารเทคโนโลยีอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้รู้เท่าทันและป้องกันภัยทางการเงินต่างๆ และเพื่อให้เป็นผู้ใช้บริการทางการเงินที่ทันต่อยุคดิจิทัลอย่างเหมาะสม

บอกลักษณะของการทําธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัยอย่างน้อย 3 ข้อ

อ้างอิง : สำนักงานกิจการยุติธรรม

Next Post

  • ข่าว-NEWS
  • ข่าวภาคใต้

จ.ยะลา ตลาดขายทุเรียนคึกคัก พร้อมช่องทางขายทุเรียนออนไลน์เพิ่มมูลค่ามหาศาลในยุคโควิด-19

Sun Jun 21 , 2020

จ.ยะลา ตลาดขายทุเรียนคึกคัก พร้อมช่องทางขายทุเรียนออนไลน์เพิ่มมูลค่ามหาศาลในยุคโควิด-19 เมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 63 ที่ผ่านมา บ้านเลขที่ 13 หมู่ที่ 3 ต.สะเอะ อ.กรงปีนัง จ.ยะลา ซึ่งเป็นสวนของนายยูโซะ ดอเลาะบองอ อายุ 56 ปี สมาชิกเกษตรกรกลุ่มทุเรียนแปลงใหญ่ของ อ.กรงปินัง จ.ยะลา ได้เริ่มทำการตัดทุเรียนหมอนทอง รุ่นที่ 1 เพื่อตัดจำหน่ายให้กับสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ที่แปลงเรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลไม้ทุเรียน จังหวัดยะลา ตามโครงการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2561 ทางเกษตรอำเภอกรงปินัง จ.ยะลา ยังได้ส่งเสริมให้มีการขายทุเรียนในรูปแบบขายออนไลน์ ถือว่าได้เพิ่มการขายอีกช่องทางหนึ่งที่จะให้ทุเรียนในพื้นที่ อ.กรงปีนัง จ.ยะลา ได้จำหน่ายสู่ตลาดออนไลน์อย่างกว้างขวางและทั่วถึงมากขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีแก่เกษตรกรชาวสวนทุเรียนเป็นอย่างมาก กอรปรกับในช่วงนี้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโควิด – 19 ในพื้นที่ เริ่มคลี่คลายลง จึงทำให้ผู้บริโภคมีความสนใจที่อยากจะทานทุเรียนมากขึ้น และเป็นที่ต้องการในตลาดเป็นอย่างมาก ทางด้านนางวีระ สมศิริ […]

บอกลักษณะของการทําธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัยอย่างน้อย 3 ข้อ

ผมเชื่อว่าหลายคนรู้จัก Internet Banking หรือธนาคารออนไลน์สำหรับทำธุรกรรมทางการเงินผ่านคอมพิวเตอร์หรือมือถือ ไม่ต้องเดินไปธนาคาร สะดวกทุกที่ ทุกเวลา ขอให้มีสัญญาณอินเทอร์เน็ตเท่านั้นก็ใช้งานได้ ผมอยากบอกว่า ก่อนหน้านี้ไม่เคยคิดจะใช้ กลัวมันไม่ปลอดภัย กลัวโดนแฮกข้อมูล ก็เลยเดินไปธนาคารรับบัตรคิว ต่อแถวเอา และถ้าจะให้ Shopping Online แล้วเลิกคิดได้เลย ไม่กล้าใส่เลขบัตรเครดิต กลัวโดนขโมยข้อมูลไป แต่...

วันเวลาผ่านไปสัญญาณอินเทอร์เน็ตแรงมากขึ้น แอปพลิเคชันเกี่ยวกับ Internet Banking ก็พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ เว็บไซต์ Shopping Online มีเพียบ ผมเลยรู้สึกว่า ถ้ามันไม่ดี ไม่ปลอดภัย ก็ไม่น่าจะใช้กันมาถึงปัจจุบัน ดู ๆ แล้วแสดงว่า พัฒนาปรับปรุงระบบได้ดีและปลอดภัยมากขึ้น

เมื่อผมได้ลองใช้งาน ก็สะดวกดีนะ สามารถโอนเงินเรียบร้อย โดยที่เรายังนั่งอยู่โต๊ะทำงาน ยิ่งถ้าเป็นช่วงต้นเดือนคนเต็มธนาคาร เราไม่ต้องเสียเวลาไปต่อแถวยาว ๆ ที่ธนาคาร เพียงแค่จิ้ม ๆ บนมือถือก็เสร็จแล้ว พอได้ใช้ไปเรื่อย ๆ ก็สะดวกดี เริ่มติดใจ รู้สึกว่าระบบนี้ช่วยเราประหยัดเวลาได้ดีทีเดียว และเริ่มกล้าใช้บัตรเครดิตในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์มากขึ้น ซึ่งไม่มีปัญหาอะไรตามมา กลายเป็นว่า ผมใช้งานบ่อยมากขึ้น แต่ผมก็คำนึงเรื่องความปลอดภัยเสมอ ยังระมัดระวังในการใช้งานอยู่เหมือนกัน เพราะรู้สึกมีพวกมิจฉาชีพจ้องอยู่รอบตัวเราในโลกออนไลน์ ผมจึงขอสรุปการใช้งานอย่างปลอดภัยมาฝากครับ

1. จำและพิมพ์ชื่อเว็บของธนาคารให้แม่น

จะทำธุรกรรมทางการเงินกับธนาคารผ่านเว็บไซต์ ก็ควรเลือกธนาคารที่มีความปลอดภัย ควรจำและพิมพ์ชื่อเว็บของธนาคารให้ดี ไม่ควรใช้ Google ในการค้นหา เพราะบางทีเราอาจจะเจอเว็บเลียนแบบทำให้เราเข้าใจผิด ในกรณีเว็บหลอกลวง ทางธนาคารก็ประกาศเตือนให้ระวังอยู่บ่อย ๆ

(อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับธุรกรรมทางการเงินบน iOS และ Android)

2. เครื่องคอมที่ใช้ต้องมีสแกนไวรัส

ถ้าไม่มีก็ถือว่าเสี่ยง หากเราใส่ข้อมูลไปแล้ว อาจมีไวรัสในเครื่องซึ่งไม่รู้ว่าฝังตัวมาจากไหน ดักจับเอาข้อมูลจากเราไปได้ ควรหมั่นสแกนไวรัสบ่อย ๆ และถ้าเครื่องคอมไม่ใช่ของเรา ไปยืมคนอื่น ไปใช้งานที่ร้านเน็ต ยิ่งมีความเสี่ยงสูงต้องระวังให้ดี บางทีการใช้ WIFI สาธารณะก็น่ากลัวเหมือนกัน อาจมีดักจับสัญญาณข้อมูลที่ส่งได้ ซึ่งก็เคยมีข่าวคนร้ายได้ข้อมูลบัตรเครดิตเราไปปลอมแปลงใช้งานต่อได้

3. ควรใช้บริการ SMS

เวลาสมัครใช้งาน Internet Banking ควรสมัครใช้บริการ SMS ไว้ส่งข้อมูลแจ้งเตือนหลังจากทำธุรกรรมเสร็จแล้ว ผมแนะนำว่าดีทีเดียว เป็นการตรวจสอบว่าเราทำรายการ หรืออาจจะมีแจ้งการใช้งานผ่านอีเมลก็ได้ หากวันดีคืนดี มี SMS เด้งขึ้นมาว่ามีการถอนเงิน เราก็จะรู้ได้ทันทีว่างานเข้า ต้องรีบตรวจสอบว่าเกิดจากอะไร

4. ตั้งวงเงินในการโอนและถอนให้เหมาะสม

ตั้งว่าสูงสุดเท่าไหร่ เพื่อป้องกันกรณีถูกขโมยข้อมูลไปแล้ว เงินในบัญชีเราจะไม่หายไปหมด

(อ่านมาตรฐานความปลอดภัยของธุรกรรมออนไลน์)

5. เปลี่ยนรหัสผ่านบ่อย ๆ

ไม่ควรใช้รหัสครั้งแรกที่สมัครแล้วไม่เปลี่ยนเลย การเปลี่ยนรหัสผ่านลดความเสี่ยงจากการถูกขโมยข้อมูลได้ ที่สำคัญเวลาเข้าเว็บ เมื่อพิมพ์รหัสผ่านเสร็จแล้ว ห้ามให้เครื่องจำรหัสผ่าน พิมพ์เองใหม่ทุกครั้งปลอดภัยกว่า

6. ซื้อของออนไลน์ก็ให้เข้าเว็บที่น่าเชื่อถือ

สำหรับนักช็อปควรเลือกซื้อของกับเว็บที่มีระบบรักษาความปลอดภัย จะได้อุ่นใจเวลาบอกข้อมูลบัตรเครดิตของเรา

"อย่าลืมครับ ว่าอะไรที่ใช้งานได้สะดวกสบาย ความปลอดภัยก็จะน้อยลงไป Internet Banking มีทั้งประโยชน์และโทษในตัว ซึ่งผมมองว่าอนาคตเรา มนุษย์เงินเดือนไปจนถึงนักลงทุนหนีไม่พ้นชีวิตออนไลน์แน่นอน เราควรหันหน้าเข้าหาและทำความเข้าใจ ใช้ให้เกิดประโยชน์และใช้อย่างระมัดระวัง เพียงเท่านี้ ก็จะช่วยให้เราสะดวกสบาย และประหยัดเวลาได้มากขึ้น เอาเวลาไปศึกษาเลือกกองทุน ดูหุ้นได้มากขึ้นอีกด้วย"

ทําธุรกรรมการเงิน ออนไลน์ อย่างไรให้ปลอดภัย

ทำธุรกรรมออนไลน์อย่างไร.
1. ต้องทำธุรกรรมออนไลน์ด้วยตัวเองเท่านั้น ... .
2. เลือกร้านค้าออนไลน์ที่น่าเชื่อถือ ... .
3. หลีกเลี่ยงการผูกบัตรเครดิต/เดบิต กับแอปพลิเคชันต่างๆ ... .
4. ไม่ส่งต่อ OTP ให้กับบุคคลอื่น ... .
5. ปรับวงเงินสูงสุดสำหรับการชำระค่าสินค้าทางออนไลน์ให้เหมาะสม.

ข้อใดคือการซื้อสินค้าออนไลน์อย่างปลอดภัย

วิธีซื้อของออนไลน์ให้ปลอดภัย ป้องกันถูกหลอก สูญเงินเปล่า.
1. เลือกร้านค้าที่น่าเชื่อถือ ... .
2. เว็บไซต์ไหนปลอดภัยให้ดูจาก URL. ... .
3. ระวังเรื่อง Wi-Fi สาธารณะ ... .
4. ตรวจสอบบิลบัตรเครดิตอยู่เสมอ ... .
5. เปลี่ยนพาสเวิร์ดบ่อย ๆ ... .
6. เก็บหลักฐานการโอนเงินให้ครบ.

การทำธุรกรรมมีอะไรบ้าง

ธุรกรรมทางการเงิน คือ การทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการทำนิติกรรมสัญญา หรือการดำเนินการใด ๆ ทางการเงินกับผู้อื่น ซึ่งเป็นการกระทำที่มีผลทางกฎหมาย ธุรกรรมทางการเงิน ที่เรามักคุ้นเคย และทำกันอยู่เป็นประจำ เช่น การโอนเงิน ถอนเงิน การจ่ายบิล การซื้อหน่วยลงทุน การเปิดบัญชีธนาคาร การกู้เงิน