สมเด็จ พระเจ้าตากสิน มหาราช ทรง บำรุง พระพุทธ ศาสนา ใน เรื่อง ใด บ้าง

���¡�ا������ ���稾����ҵҡ�Թ����Ҫ �.�. 2310 � 2325

��ʹ�
��ÿ�鹿پ�оط���ʹ�����¡�ا��������������� 15 �� �մѧ���
1. ��èѴ����º�ѧ�����
2. ����Ǻ�������ûԮ�
3. ��ú�ó���л���ѧ�ó��Ѵ�������
4. ����ѭ�ԭ�������á��һ�д�ɰҹ��Ҫ�ҳҨѡ�
        
��èѴ����º�ѧ�����
��ѧ�ҡ���ʶһ���Ҫ�ҹ����� 㹻� �.�. 2311���ô���Ѵ����º�ѧ����� �������Ҿ��ʧ���鹼���˭� �������һ�Ъ���ѹ � �Ѵ�ҧ�����˭� (�Ѵ�Цѧ��Ե����) �������͡��駾��ʧ���鹼���˭����վ������зç�س���� �����觵�������稾���ѧ��Ҫ ����آ����ʧ�� ���ͨѴ��û���ͧ��ѧ����ŵ��� ����ô�觵�駾������˭���µ���ӴѺ����ѡ��� ���ǹ�����仨Ӿ���ҵ���Ѵ���������ҧ � 㹡�ا������ ��˹�ҷ��ѧ�Ѻ�ѭ�Ҿ��ʧ���������� ��Ѵ���¤ѹ���������Ի��ʹҸ���
        ����Ǻ�������ûԮ�
��ѧ�ҡ��ا�����ظ��ᵡ㹤������¡�ا���駷�� 2 ����� 7 ����¹ 2310 �Ѵ���������ҹ���ͧ�١������ ��Ф������ ����ûԮ� ��е��ҵ�ҧ � ��١�� ����٭������ѹ�ҡ ��ѧ�ҡ���稾����ҵҡ�Թ ��ʶһ�ҡ�ا���������Ҫ�ҹ����� ���ô����׺������ǧ�Ҿ���ûԮ����������ͧ��ҧ � ���ǹ��ҤѴ�͡������ͪ��о���ûԮ����� �ҷ� 㹤��������¡�Ѿ任�Һ�����������ո����Ҫ 㹻� �.�. 2312 ����������֡���ǡ��ô����������ûԮ��ҡ�����ո����Ҫ��÷ءŧ�������͹��ҤѴ�͡�����  � ��ا������ ���㹤��駷��¡�Ѿ任�Һ��������Ҿ�нҧ 㹻� �.�. 2313 ���ô���Ӿ���ûԮ��ҡ�Ѵ��Ҹҵ� ���ͧ�ҧ �صôԵ�� ������㹡���ͺ�ҹ�Ѻ�鹩�Ѻ������Ҩҡ�����ո����Ҫ �����Ǻ�������ûԮ��ѧ������º���¡�����Ѫ������¡�͹
        ��ú�ó���л���ѧ�ó��Ѵ�������
�ô����ôҢع�ҧ��駽��·�����о����͹ ��ɮ� �����ѹ���ҧ������ʶ �������� ਴��� �د� ������¾������� �������Ҫ��Ѿ���繨ӹǹ�ҡ �Ѵ����ô����óл���ѧ�ó��մѧ���
�Ѵ�ҧ���������(�Ѵ�Թ�����)  �Ѵ�ҧ�����˭�(�Ѵ�Цѧ��Ե����)  �Ѵ��(�Ѵ��س�Ҫ������)  �Ѵ�ҧ��������˹��(�Ѵ�Ҫ����)  
�Ѵ˧�������(�Ѵ˧���ѵ�����)

        �Ѵ����Ӥѭ��Ѫ��Ź���� �Ѵ�Թ�����
(�Ѵ�ҧ��������������Ѵ�ҧ������͹͡) ���稾����ҵҡ�Թ�ç������� ���Ǿ������� ����ô���¡�ҹТ���繾���������ǧ����͡����ɫ�����Ѵ�����Ի��ʹҸ���
        �Ѵ˧������� ��ó�����¡�ҹТ���繾���������ǧ����͡���¡���֡���������¹��л���ѵԸ���  
        �Ѵ�� ���Ѵ�ࢵ�ط����� ���ͧ�ҡ��������ࢵ����Ҫ�ҹ �֧����վ��ʧ��Ӿ���� ����ͤ��������֡���§�ѹ��� ���ѭ�ԭ �������á� �һ�д�ɰҹ � �Ѵ����觹�� �Ѵ���֧���¡����Ѵ����������¡�ا������
         
����ѭ�ԭ�������á��һ�д�ɰҹ��Ҫ�ҳҨѡ�
�������á� ���;�оط��������ѵ�����ҡ� �繾�оط��ٻ�ѡ����Է���ͧ�� ����������ѵԡ�þ������á � ���ͧ��§��� ����¡�ا������ ���稾����ҵҡ�Թ �ô��� ������Ҿ������ҡ�ѵ�����֡¡�Ѿ仵����§�ѹ��� ���ª���������ѭ�ԭ�������á���о�кҧ ���ѧ��ا������ �»�д�ɰҹ � �Ѵ�� ���վ���Ҫ���Ԩ����ҧ����ҷ����������Ѫ������¡�͹

ด้านเศรษฐกิจ

ผลกระทบโดยตรงของสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง คือ การเกิดทุพภิกขภัยครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย นอกจากนี้เศรษฐกิจยังเสียหายอย่างร้ายแรงอันเนื่องมาจากการปล้นสะดม และเมืองท่าที่สำคัญตกเป็นของพม่าอย่างเด็ดขาดถึงสองเมือง ได้แก่ มะริดและตะนาวศรี และยังเสียปืนใหญ่และปืนคาบศิลารวมหลายหมื่นอีกด้วย

เพื่อที่จะหาทรัพย์มาใช้จ่าย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกเลิกประเพณีงดเก็บส่วยอากร 3 ปีเมื่อมีพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่เสด็จขึ้นครองราชย์ อันเป็นประเพณีซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงแจกจ่ายข้าวของเงินทองอันได้มาสี่ครั้ง ได้แก่ เมื่อครั้งตีค่ายชาวบ้านกง ครั้งตีเมืองจันทบุรี ครั้งปล้นเรือสำเภาพ่อค้าจีนที่ตราด และครั้งตีเมืองนครศรีธรรมราช สามารถช่วยราษฎรได้หลายหมื่นคน บรรดาข้าราชการทหารพลเรือนได้รับแจกข้าวสารหนึ่งถังกินยี่สิบวัน และโปรดให้ซื้อข้าวสารบรรทุกมาขายจากพุทไธมาศ ถังละ 3-5 บาท เมื่อราษฎรทั้งหลายทราบก็ได้อพยพตามหัวเมืองต่าง ๆ มายังกรุงธนบุรีเป็นจำนวนมาก ต่อมา ทรงให้ข้าราชการทั้งหลายทำนาปรังทุกแห่งทุกตำบล ราคาข้าวเริ่มถูกลงใน พ.ศ. 2311 ก่อนจะกลับมีราคาสูงผิดปกติอีกเมื่อปลายปี พ.ศ. 2312 เนื่องจากมีหนูระบาด เมื่อหนูหายไปแล้ว ราคาข้าวก็กลับลดลงอีก

พระองค์ทรงวางแผนเพิ่มพื้นที่ปลูกข้าวในกรุงธนบุรี โดยในปี พ.ศ. 2314 ทรงให้ปรับพื้นที่สวนป่านอกกำแพงพระนครให้เสมอกันไว้ทำนา ครั้นบ้านเมืองสงบก็ทรงให้แม่ทัพคุมกองทัพมาทำนา ซึ่งทำให้กรุงธนบุรีกลายสภาพเป็นแหล่งทำนาแห่งใหม่ และได้ชื่อว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ดีที่สุดของประเทศไทย

พระองค์ยังทรงทำนุบำรุงการค้าขายทางเรืออย่างเต็มที่ ทรงแต่งสำเภาหลวงออกไปหลายสาย ทางตะวันออกถึงจีน ทางตะวันตกถึงอนุทวีปอินเดีย ผลกำไรจากการค้าช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจ และมีรายได้จากภาษีเข้าออกของเรือต่างชาติ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรียังทรงส่งเสริมการนำสินค้าพื้นเมืองไปขาย ทำให้ราษฎรมีงานทำ มีรายได้ ทั้งมีพระราชประสงค์ที่จะฝึกให้คนไทยเชี่ยวชาญการค้าขาย ป้องกันมิให้การค้าตกอยู่ในมือชนต่างชาติ และรักษาประโยชน์ของสินค้าพื้นเมืองมิให้ถูกทอดทิ้ง พระองค์ทรงพยายามผูกไมตรีกับจีนเพื่อประโยชน์ทั้งในด้านความมั่นคงของชาติและประโยชน์ในด้านการค้า

ด้วยความสัมพันธ์อันดีกับจีน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงกระตุ้นให้ชาวจีนเข้ามาตกรกร้างในธนบุรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเมืองแต้จิ๋ว ซึ่งบางส่วนมีจุดประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ซบเซา

ด้านคมนาคม

ในยุคนี้ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกเลิกความคิดแนวเก่าที่ว่าหากถนนหนทาง ทางคมนาคมดีมากแล้วจะเป็นการอำนวยประโยชน์ให้ข้าศึกศัตรูและพวกก่อการจลาจล แต่กลับทรงเห็นเป็นประโยชน์ในทางค้าขายมากกว่า ดังนั้น ในฤดูหนาวหากว่างจากศึกสงคราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนและขุดคลอง จะเห็นได้จากแนวถนนเก่าๆ ในเขตธนบุรีซึ่งมีอยู่หลายสาย ส่วนการขุดชำระคลองมักมีวัตถุประสงค์เบื้องต้นเพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ เช่น คลองท่าขาม จากนครศรีธรรมราชไปออกทะเล เป็นต้น

ด้านการศึกษา

สมัยกรุงธนบุรีเป็นระยะเวลาที่บ้านเมืองยังไม่สงบเรียบร้อย การฟื้นฟูการศึกษาจึงทำได้ไม่มากนัก แต่วัดก็ยังเป็นแหล่งที่ให้การศึกษาอยู่ โดยมีแต่เด็กผู้ชายเท่านั้นที่มีโอกาสศึกษา เพราะต้องอยู่กับพระที่วัดเรียนหนังสือและได้รับการอบรมความประพฤติ เรียนพระธรรม ภาษาบาลีสันสกฤต และศัพท์เขมร เพื่อประโยชน์ในการอ่านคัมภีร์พระพุทธศาสนา นอกจากนี้มีวิชาเลข เน้นมาตรา ชั่ง ตวง วัด มาตราเงินไทย และการคิดหน้าไม้ ซึ่งจะต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีวิชาช่างฝีมือสำหรับเด็กโต ส่วนใหญ่เกี่ยวกับงานช่างก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ในการบูรณะซ่อมแซมเสนาสนะ และสิ่งก่อสร้างภายในวัด สำหรับการเรียนวิชาชีพโดยตรงนั้นเป็นหน้าที่ของพ่อแม่ ใครมีอาชีพอะไรก็ถ่ายทอดวิชานั้นๆ ให้แก่ลูกหลานของตนตามสายตระกูล เช่น วิชาแพทย์แผนโบราณ วิชาช่างปั้น ช่างถม ช่างแกะสลัก ช่างปูนปั้น ช่างเหล็ก ช่างเงิน ช่างทอง ส่วนการศึกษาสำหรับเด็กหญิง จะถือตามประเพณีโบราณคือ เรียนเย็บปักถักร้อย ทำกับข้าว การจัดบ้านเรือน การฝึกอบรมมารยาทของกุลสตรี สังคมสมัยนั้นไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียนหนังสือ จึงมีน้อยคนที่อ่านออกเขียนได้

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงโปรดเกล้าฯให้บำรุงการศึกษาตามวัดต่างๆ และยังโปรดเกล้าฯให้ตั้งหอหนังสือขึ้นเช่นเดียวกับสมัยอยุธยา ซึ่งคงเทียบได้กับหอพระสมุดในระยะหลัง นอกจากนี้ยังโปรดเกล้าฯให้แสวงหาและรวบรวมตำราต่างๆ ที่กระจัดกระจายไปเมื่อคราวกรุงแตกไว้ที่พระอารามหลวงหรือหามาจำลองไว้เป็นแบบฉบับเพื่อใช้ศึกษาเล่าเรียน

ด้านศาสนา

สมเด็จ พระเจ้าตากสิน มหาราช ทรง บำรุง พระพุทธ ศาสนา ใน เรื่อง ใด บ้าง

วัดอินทารามวรวิหาร (วัดบางยี่เรือนอก หรือวัดบางยี่เรือใต้) พระอารามหลวง วัดประจำรัชกาลของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

ถึงแม้ว่าในรัชสมัยของพระองค์ บ้านเมืองจะตกอยู่ในภาวะสงครามเกือบตลอดเวลา แต่พระองค์กลับมิได้ทรงละเลยงานด้านศาสนจักร ได้ทรงมุ่งมั่นทำนุบำรุงศาสนาพุทธให้เจริญรุ่งเรืองเหมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา พระราชกรณียกิจด้านฟื้นฟูพระพุทธศาสนามีดังนี้ เช่น การบทสวดมนต์พุทธชัยมงคลคาถาและสร้างพระยอดธง มีบันทึกโบราณบอกไว้ดังนี้ "เมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชตีเมืองจันทบุรีได้แล้วก็ทรงเล็งเห็นว่า สงครามกู้ชาติต่อจากนี้ไปจะต้องหนักหนาและยืดยาว จึงโปรดเกล้าให้สร้างพระยอดธงแบบศรีอยุธยาขึ้น แล้วนิมนต์พระเถระทั้งหลายมาสวดบทพาหุงมหากาบรรจุไว้ในองค์พระ และพระองค์ก็ทรงเจริญรอยตามพระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราชด้วยการเจริญพาหุงมหากา จึงบันดาลให้ทรงกู้ชาติสำเร็จ"

สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดระเบียบสังฆมณฑลทันทีภายหลังการสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี ครั้งที่ยกทัพไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝางเมื่อทรงเห็นว่าพระสงฆ์ทางฝ่ายหัวเมืองเหนือมัวหมอง ก็ได้อาราธนาพระราชาคณะจากในกรุงไปสั่งสอน ทำให้พระสงฆ์กลับบริสุทธิ์และเป็นปกติสุขขึ้น นอกจากนี้พระองค์ยังทรงมุ่งมั่นในการสืบเสาะค้นหาต้นฉบับพระไตรปิฎกภาษาบาลีที่ยังเหลืออยู่หลังจากเสียกรุง เพื่อนำมาคัดลอกจำลองไว้สำหรับการสร้างพระไตรปิฎกฉบับหลวงต่อไป ซึ่งจะเห็นได้จากเมื่อคราวที่เสด็จไปปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราชในปี พ.ศ. 2312 ได้มีรับสั่งให้ขอยืมคัมภีร์พระไตรปิฎกจากนครศรีธรรมราชบรรทุกเรือเข้ามาคัดลอกในกรุงธนบุรี และในปีถัดมาในคราวที่เสด็จฯ ไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝางที่เมืองอุตรดิตถ์ได้โปรดเกล้าฯ ให้นำพระไตรปิฎกลงมาด้วย ต้นฉบับที่ได้จากเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งนับเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการสังคายนาพระไตรปิฎกในสมัยต่อมา

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรากฎหมายว่าด้วยวัตรปฏิบัติในทางธรรมวินัยของพระสงฆ์ในปี พ.ศ. 2316 โดยถือเป็นต้นฉบับกฎหมายพระสงฆ์ฉบับแรกของไทยและทรงนำแนวคิดทางพระพุทธศาสนา มาใช้เป็นหลักในการจัดระเบียบสังคมในสมัยนั้นด้วยและหลังจากกอบกู้แผ่นดินได้แล้ว พระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าเอกทัศมาจัดถวายพระเพลิงอย่างสมพระเกียรติและยังทรงรับอุปการะบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ในพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาทุกพระองค์ด้วยความกตัญญูกตเวที 

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง เช่น วัดอินทารามวรวิหาร วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร วัดราชคฤห์วรวิหาร และวัดเสาธงหิน เป็นต้น

ภายหลังจากที่รบชนะเมืองเวียงจันทน์ สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร และพระบางกลับมายังกรุงธนบุรีด้วย โดยให้จัดเรือกระบวนพยุหยาตราชลมารคถึง 246 ลำ และเสด็จพระราชดำเนินขึ้นไปรับด้วยพระองค์เอง แล้วให้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปประดิษฐานไว้ ณ พระอุโบสถ วัดอรุณราชวราราม ต่อมารัชกาลที่ 1 ได้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปประดิษฐานไว้ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งอยู่ในเขตพระบรมมหาราชวัง

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาอย่างไร

๓. สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชมีความสาคัญต่อ พระพุทธศาสนาอย่างไร ช่วยทานุบารุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง โดย การจัดระเบียบสังฆมณฑล รวบรวมพระไตรปิฎก อัญเชิญพระแก้วมรกตจากเมืองเวียงจันทร์มา ประดิษฐานในไทย และบูรณะวัดวาอารามค่ะ

พระเจ้าตากสินเด่นเรื่องใด

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงมีคุณูปการต่อชาติบ้านเมือง มีพระทัยเด็ดเดี่ยวกล้าหาญสร้างชาติให้มั่นคง มีพระปรีชาสามารถ มีความเด็ดขาดและแต่อบอุ่นแบบธรรมิกราชา และทรงเสียสละเพื่อชาติบ้านเมือง เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติต่อพระองค์ท่าน ใน พ.ศ.๒๕๒๔ คณะรัฐมนตรีลงมติให้ใช้ พระราชสมัญญานามของพระองค์ ว่า “สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช”

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีคุณธรรมข้อใดที่เด่นชัดที่สุด

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีคุณธรรมข้อใดที่เด่นชัดที่สุด ความเมตตา ความเสียสละ ความกล้าหาญ

ศาสนสถานที่สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้แก่อะไรบ้าง

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง เช่น วัดอินทารามวรวิหาร วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร วัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร วัดราชคฤห์วรวิหาร วัดเสาธงหิน ...