ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อหาประสิทธิภาพของหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนา ทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมของนักศึกษา เพื่อหา ประสิทธิผลหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคม พหุวัฒนธรรมของนักศึกษา โดยประเมินความสามารถทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมสำ หรับนักศึกษา มี 5 ทักษะ เพื่อศึกษาความคิดเห็น ต่อการใช้หลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุ วัฒนธรรม ของนักศึกษาหลังการใช้หลักสูตร และเพื่อนำ หลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนา ทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมไปขยายผลกับนักเรียน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การดำ เนินการวิจัยมี 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 เป็นการ วิเคราะห์ความต้องการจำ เป็น เป็นการศึกษาความต้องการจำ เป็นในการพัฒนา หลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ของนักศึกษา ระยะที่ 2 การออกแบบและการพัฒนา เป็นการพัฒนาและหาคุณภาพ ของหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุ วัฒนธรรมของนักศึกษา ระยะที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร เป็นการนำ หลักสูตรเสริม เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมของนักศึกษา ไปใช้ ระยะที่ 4 การประเมินคุณภาพหลักสูตร ผลการวิจัย พบว่า

  1. การพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันใน สังคมพหุวัฒนธรรมของนักศึกษา มุ่งพัฒนาทักษะทางสังคม อันได้แก่ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการเคารพสิทธิ ทักษะการทำ งานร่วมกัน ทักษะการอยู่ร่วมกันแบบเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน ทักษะการยอมรับความหลากหลายของวัฒนธรรม โดยใช้กระบวนการ จิตตปัญญาศึกษา การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ซึ่งหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ของนักศึกษา ประกอบด้วย 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องเรียนรู้ รู้จักตนเอง และเปิดเผยตนเอง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องเรียนรู้และยอมรับผู้อื่น และ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องมุ่งพัฒนาสู่สังคม เมื่อทำ การพัฒนาหลักสูตรเสริมแล้วผู้วิจัย ได้ดำ เนินการให้ผู้เชี่ยวชาญหาความเหมาะสมและหาความสอดคล้องของโครงร่าง หลักสูตร พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความสอดคล้องกัน

2. ผลการทดลองใช้หลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วม กันในสังคมพหุวัฒนธรรมของนักศึกษา พบว่า ทักษะทางสังคมทั้ง 5 ทักษะ มีร้อยละ ของค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงทุกทักษะ ได้แก่ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการเคารพสิทธิ ทักษะการทำ งานร่วมกัน ทักษะการอยู่ร่วมกันแบบเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และทักษะ การยอมรับความหลากหลาย ผลการศึกษาความคิดเห็นต่อการใช้หลักสูตรเสริมเพื่อ พัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ของนักศึกษา พบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นโดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด 3. ผลการนำ หลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมสำ หรับการอยู่ร่วมกันใน สังคมพหุวัฒนธรรมไปขยายผลกับนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่าอยู่ใน ระดับสูง

        ทักษะสังคม (social skills)เป็นกลุ่มของทักษะต่าง ๆ ที่ใช้ในการปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารระหว่างกันในสังคม อันได้แก่ ทักษะการสื่อสาร การพูด การฟัง การทำงานร่วมกันเป็นทีม ฯลฯ รวมทั้งความสามารถในการเข้าใจถึงสถานการณ์ต่าง ๆ ที่หลากหลาย กฎกติกาต่าง ๆ ในสังคม ความสามารถในการรู้จักผู้อื่น และการคิดคำนึงถึงคนรอบข้างอย่างเข้าอกเข้าใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ในทางบวกให้เกิดขึ้น เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็นสำหรับทุกเพศทุกวัย ทั้งวัยเด็กที่ต้องการการพึ่งพา การเรียนรู้สิ่งใหม่ในชีวิต วัยรุ่นที่ต้องการการยอมรับจากเพื่อนฝูงคนรอบข้าง วัยผู้ใหญ่ที่เริ่มสร้างครอบครัวและต้องการความสำเร็จในหน้าที่การงาน ทักษะสังคมเป็นทักษะที่จำเป็นต้องได้รับการฝึกฝนอย่างเป็นระบบเช่นเดียวกับทักษะอื่น ๆ

เริ่มต้นดี มีชัยไปกว่าครึ่ง” คำกล่าวนี้ไม่เกินจริงเลย เพราะการมีพื้นฐานที่ดี ย่อมส่งผลดีในอนาคตเช่นกัน เช่นเดียวกับลูกน้อย ที่คุณพ่อคุณแม่มีส่วนช่วยเริ่มสร้างพื้นฐานที่ดีให้กับลูกได้ ด้วยร่างกายและจิตใจที่เหนือกว่า ทั้งพัฒนาการทางสมองและภูมิต้านทานตั้งแต่ช่วงแรกของชีวิต ให้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ ควบคู่กับทัศนคติเชิงบวก พร้อมที่จะเผชิญทุกอุปสรรคบนเส้นทางแห่งความสำเร็จ จึงต้องมี ทักษะทางสังคม 10 ประการ ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จ

 

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

 

ทักษะสังคม ที่สำคัญ 10 ประการ ทักษะทางสังคม มีอะไรบ้าง

1. ทักษะการเข้าสังคม ความมุ่งมั่น

การพัฒนาทักษะทางสังคมแรงผลักดันสู่ความสำเร็จ ที่ไม่หยุดหย่อนอาจเป็นเหมือนดาบสองคมได้ พ่อแม่ หรือ ครูอาจารย์ไม่ควรหวังพึ่งการผลักดันลูกหรือนักเรียนไปตลอด โดยเฉพาะช่วงที่ลูกเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษา

วิธีการ: ส่งเสริมให้ลูกแสดงออกถึงความคิดเห็นที่ลูกมี หรือสิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจของลูก อย่าเก็บไว้คนเดียว

 

2. ทักษะการเข้าสังคม ระเบียบวินัย

ด้วยสื่อสังคมออนไลน์ ที่มีรุกคืบอย่างมากในปัจจุบัน การมีระเบียบวินัย ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ทำได้ยากสำหรับเด็กในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การมีระเบียบวินัยในตนเองอยู่เสมอ สามารถช่วยให้นักเรียนประสบความสำเร็จในเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้

วิธีการ: ส่งเสริมให้ลูกเป็นคนมีระเบียบวินัยโดยให้ทำกิจกรรมที่สร้างระเบียบวินัยขึ้น เช่น เรียนเล่นดนตรี เป็นต้น

 

3. ความพากเพียร

ในการเข้าสังคมสิ่งใดมีความสำคัญมากที่สุด"ไม่มีอะไรได้มาง่าย ๆ " ไม่มีทางลัดสำหรับความสำเร็จของชีวิต และนักเรียนจำเป็นต้องเรียนรู้ให้มาก นั่นเป็นเพียงหนทางเดียวที่จะก้าวไปสู่จุดสูงสุดของชีวิต ซึ่งต้องมาจากความขยันหมั่นเพียรนั่นเอง

วิธีการ: สอนให้ลูกคุณเข้าใจว่าไม่มีอะไรได้มาง่าย ๆ ตั้งแต่เขาอายุยังน้อย และลูกจะได้รางวัลตอบแทนก็ต่อเมื่อเขาได้ใช้ความพยายามแล้ว

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ : ลูกงอแง ร้องไห้โยเย อาจเป็นเพราะผื่นผ้าอ้อมทำให้ลูกรักไม่สบายตัว

 

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

4. เข้าสังคม

ในชีวิตนี้คุณจะพบเจอกับผู้คนมากมาย และคุณต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่นเพื่อหนทางสู่ความสำเร็จของคุณ การจะเป็นเช่นนั้นได้ คุณต้องทำให้พวกเขาชอบคุณเสียก่อน

วิธีการ: เข้าร่วมกิจกรรมหลักสูตรพิเศษต่าง ๆ ตั้งแต่อายุยังน้อย นักเรียนจะได้พบเจอ กับผู้คนมากมาย และ จะพัฒนาทักษะที่จำเป็นต้องใช้ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม

 

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

5. ความเป็นผู้นำ

ความเป็นผู้นำเป็นเรื่องของคุณภาพที่ตอนนี้นายจ้างจำนวนมากปรารถนา โรงเรียนเองก็มีการพัฒนา และมองหาความสามารถในการเป็นผู้นำในตัวนักเรียนเช่นกัน

วิธีการ: การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมนอกห้องเรียนเป็นวิธีที่จะช่วยพัฒนาทักษะความเป็นผู้นำได้

 

6. ความยืดหยุ่น

ไม่มีใครมีชีวิตที่สมบูรณ์แบบไปทุกอย่าง และทุกคนก็มีวันที่ผิดหวังด้วยกันทั้งนั้น สิ่งที่สำคัญคือ เราต้องมีความเข้มแข็ง ที่จะยืนขึ้นสู้อีกครั้งได้

วิธีการ : ตามที่สมาคมด้านจิตวิทยาของอเมริกากล่าวไว้ การปลูกฝังให้เด็กมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นกับเพื่อน ๆ และ ครอบครัวจะทำให้เขาได้รับการสนับสนุนที่ดี และเขาจะมีกำลังใจที่จะกลับมาต่อสู้กับสิ่งต่าง ๆ ได้อีกครั้ง หลังจากที่ต้องทุกข์กับเรื่องร้าย ๆ

 

7. เป็นคนดี

ทำอย่างไรได้อย่างนั้น ถ้าคุณดีกับคนอื่น คนอื่นก็จะดีกับคุณเช่นกัน

บทความจากพันธมิตร

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

ชีวิตครอบครัว

เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

ชีวิตครอบครัว

ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

ชีวิตครอบครัว

ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

ชีวิตครอบครัว

เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10

วิธีการ: สอนให้ลูกคุณรู้จักผิดชอบชั่วดีตั้งแต่เขาอายุยังน้อย เมื่อโตขึ้นเขาจะมีเข็มทิศที่ช่วยชี้นำสิ่งผิดสิ่งถูก

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ : ลูกงอแงระหว่างเที่ยว มีสาเหตุจากอะไร และคุณแม่ควรรับมืออย่างไร

 

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

8. ความรับผิดชอบ

คนที่ประสบความสำเร็จมักเป็นคนที่มีความรับผิดชอบสูงมาก และหากนักเรียนขาดคุณสมบัติข้อนี้แล้ว พวกเขาจะไปได้ไม่ไกล

วิธีการ: จัดแบ่งภาระหน้าที่เบา ๆ ให้ลูกรับผิดชอบ เช่น ให้ลูกรับผิดชอบงานบ้านตั้งแต่อายุยังน้อย ดูให้เหมาะสมตามอายุของลูก เขาจะเรียนรู้ถึงความสำคัญของการรับผิดชอบงาน เป็นต้น

 

9. รู้จักให้อภัย

การให้อภัยเป็นเรื่องที่สำคัญ การนึกถึงเรื่องหมางใจ ไม่เพียงแต่ทำให้จิตใจเหนื่อยล้า แต่ยังทำให้คุณสูญเสียโอกาสหลายอย่าง และทำให้คุณเป็นไม่ค่อยมีความสุขในชีวิตด้วย

วิธีการ: สอนให้ลูกรู้จักให้อภัยและรู้จักลืม เพื่อให้เขาฝึกมีทัศนคติในด้านบวก

 

10. รู้จักอดทน

"ช้า ๆ ได้พร้าเล่มงาม" คนที่รู้จักรอคอยมักได้สิ่งที่ดี นั่นจึงทำให้ความอดทนมีความสำคัญ การเป็นคนใจร้อนหรือขึ้น ๆ ลง ๆ อยู่ตลอดเวลา มักนำไปสู่การตัดสินใจที่ผิดพลาดได้

วิธีการ: สอนให้ลูกคุณรู้จักอดทนตั้งแต่เขายังอายุยังน้อย

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ : วิธีแก้ลูกเอาแต่ใจตัวเอง เลี้ยงลูกยังไงให้พอดีในยุคโซเชียล ก่อนจะสายเกินแก้

 

ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม

 

การที่ลูก จะความสำเร็จได้นั้น  ต้องมีองค์ประกอบหลายประการ เช่น ความรับผิดชอบ ความมีวินัยในตนเอง ความมุ่งมั่น  ขยันหมั่นเพียร  การคบเพื่อนที่ดี  การประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย การรู้จักปรับตัว ในยุคของการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การดูแลสุขภาพให้แข็งแรงและ มีสุขภาพจิตดี (อารมณ์ดี) เป็นต้น

พ่อ แม่ คือ แรงบันดาลใจ เพราะเรา ต้องการเห็นรอยยิ้มอันอิ่มเอมบนใบหน้า ของพ่อแม่ที่แสดงถึงความภูมิใจในสิ่งที่ลูกทำสำเร็จ  ต้องการให้พ่อแม่มีความสุข เมื่อเห็นความสำเร็จของตนเอง ต้องการทำตามใจพ่อแม่ เพื่อให้ท่านได้สุขใจ  ต้องการตอบแทนพระคุณ ที่ท่านทุ่มเทกับการเลี้ยงดู ส่งเสริม สนับสนุน   เมื่อท่านให้กำลังใจก็ทำให้ฮึดสู้ขึ้นมา   จนบรรลุผลสำเร็จ  ช่างเป็นบรรยากาศของความรัก  ความผูกพันในครอบครัว ที่ส่งต่อให้กันและกันอย่างสุขใจ จึงกล่าวได้ว่าความรักความผูกพันของครอบครัว เป็นจุดเริ่มแห่งความสำเร็จ

 

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

ความมั่นใจในตัวเองของลูกสาว จะลดตอนอายุแปดขวบ คุณช่วยอะไรลูกได้บ้าง?

วิธีการเลี้ยงลูกให้โตไปประสบความสำเร็จ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ส่งผลอย่างไร

สำนักส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก กรมอนามัย จับมือ theAsianparent ยกระดับ ความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

ทักษะการเข้าสังคมมีอะไรบ้าง

7 ทักษะการเข้าสังคมง่ายๆ ที่ทำให้คุณกลายเป็น 'ที่ประทับใจ' ของใคร....
1. รู้จักสบตา ... .
2. วางมือถือลง แล้วให้ความสนใจคนที่อยู่ตรงหน้า ... .
3. การเรียกชื่อของคู่สนทนา ... .
4. การยิ้ม ... .
5. การจับมือทักทาย ... .
6. การฟัง ... .
7. ไม่ใช่แค่ฟังผ่านๆ แต่ต้องฟังอย่างตั้งใจ ... .
5 สิ่งที่คุณควรทำเมื่อขาดแรงบันดาลใจ.

ทักษะชีวิต ทั้ง 10 ประการมีอะไรบ้าง

10 ทักษะสำคัญ ที่เด็กยุคนี้ควรมี.
1. ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ... .
2. การสื่อสาร (Communication) ... .
3. การคิด วิเคราะห์ (Critical thinking) ... .
4. ความเป็นผู้นำ (Leadership) ... .
5. การเจรจาต่อรอง (Negotiation) ... .
6. ทักษะสมอง (Brain Skill) ... .
7. กรอบความคิดแบบเติบโต (Growth mindset) ... .
8. ความฉลาดด้านสังคม (Social Intelligence).

ทักษะทางสังคมที่ทำให้เกิดความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นมีทักษะใดบ้าง

1. #ทักษะการสื่อสารเบื้องต้น เช่น การฟัง การใส่ใจ การสนทนา การทำตามคำสั่ง การแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง น้ำเสียง และการทำความเข้าใจสีหน้า ท่าทาง และน้ำเสียงของผู้อื่น 2. #ทักษะการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าใจผู้อื่น เช่น การเข้าหาเพื่อน การเชื่อมโยงกับเพื่อน และการไม่จดจ่อกับตนเองหรือผู้อื่นที่มากหรือน้อยเกินไป

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการฝึกทักษะในการเข้าสังคม

มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม เจริญเติบโต และเรียนรู้ผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น หากปราศจากทักษะนี้ก็เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่อาจนำไปสู่ผลเสียต่อสุขภาพจิต ดังนั้น “ทักษะทางสังคม” จึงเป็นทักษะสำคัญของมนุษย์ที่ใช้ปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกัน และจำเป็นสำหรับทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กที่กำลังเรียนรู้โลก ...