เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

กรวยจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เสาหลักจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เสากั้นรถ Bollard

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เสากั้นทางเดิน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

หมุดถนน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

แผงกั้นจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

แผงกั้นยืดหดได้

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

แบริเออร์

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทก

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ประตูเลื่อนพับ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

การ์ดเรล

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

รั้วตาข่ายพลาสติก

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

อุปกรณ์กั้นทางเข้าออก

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

แผงกั้นแสงไฟหน้ารถ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

โซ่

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

คานจำกัดความสูง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ที่กั้นล้อ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

อุปกรณ์กันกระแทก

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เนินชะลอความเร็ว

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ยางป้องกันสายเคเบิ้ล

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ยางกันรถลื่น

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เกาะกลางถนน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ยางทางม้าลาย

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ยางรองขาตั้งเครน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ที่บังคับเดินรถทางเดียว

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ที่ปีนฟุตบาท

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

รับทำพื้นถนนยางมะตอย

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้ายจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

โปสเตอร์สแตนด์

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้ายเตือนตั้งพื้น

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เสาธง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

อุปกรณ์ติดตั้ง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เทปติดถนนมาตรฐานญี่ปุ่น

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เทปกั้นเขต

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

สติ๊กเกอร์สะท้อนแสง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เทปตีเส้น

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เทปกันลื่น

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เทปเรืองแสง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ทับทิมสะท้อนแสง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

สามเหลี่ยมแจ้งเตือน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เป้าจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ทางเดินคนพิการ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้อมจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เครื่องตรวจจับโลหะ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

แผ่นครอบบันไดกันลื่น

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

หุ่นจราจร จ่าเฉย

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

อุปกรณ์ป้องกันภัยทางน้ำ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

อุปกรณ์เพิ่มความปลอดภัยในคลังสินค้า

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เปลสนาม

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

โครงเหล็กต้นไม้

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้องกันการตก

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้องกันทางเดินหายใจ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้องกันเท้า

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้องกันร่างกาย

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้องกันดวงตา

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้องกันศรีษะ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

สำหรับเจ้าหน้าที่

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เครื่องดับเพลิง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้ายตั้งถังดับเพลิง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ตู้เก็บอุปกรณ์ดับเพลิง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

สายส่งน้ำดับเพลิง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

บันไดหนีไฟ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ชุดดับเพลิง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ข้อต่อและหัวจ่ายน้ำดับเพลิง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เครื่องตรวจจับควันไฟแบบตาแมว

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้ายทางออกฉุกเฉิน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ไฟฉุกเฉิน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เสียงสัญญาณเตือน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ถุงลมบอกทิศทาง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ที่ดับบุหรี่

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

กระบองไฟกระพริบ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ไฟเตือน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ไฟจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้ายไฟหยุดตรวจ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้ายกล่องไฟ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ป้ายไฟเตือนติดท้ายรถ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

รถเข็นไฟหมุน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

โคมไฟส่องสว่าง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

สีจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ที่จอดรถจักรยาน

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

อุปกรณ์เคลื่อนย้ายรถ Gojack

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ที่ก้ันที่จอดรถ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

แม่แรงยกรถ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เครื่องชารจ์รถยนต์ไฟฟ้า

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ที่ล็อคล้อ

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

รถเข็น

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

ถังขยะ

           ถ้าหากเราขับรถไปตามถนนหนทางต่างๆ คุณจะพบกับเครื่องหมายจราจรปรากฏไปตลอดเส้นทาง เครื่องหมายเหล่านี้ทำหน้าที่แบ่งช่องถนน จัดระเบียบเส้นทางเดินรถ และบอกให้ผู้ใช้ถนนรู้ว่าต้องขับรถอย่างไรจึงจะปลอดภัยกับทั้งตัวเอง ผู้ใช้รถคันอื่นและคนเดินเท้า เพื่อป้องกันและลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นบนท้องถนนได้

           เส้นจราจรมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็จะมีรูปแบบของเส้น ขนาดและสีที่ต่างกัน สื่อความหมายต่างกัน แต่อย่างไรก็ดีเส้นจราจรทุกประเภทจะต้องมีมาตรฐานที่เหมือนกันทั่วประเทศเพื่อคงความหมายเดิมให้ทุกคนเข้าใจตรงกัน จะได้ไม่เป็นปัญหาในภายหลัง

ร้านไทยจราจร เห็นว่ามาตรฐานของเส้นจราจรเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง จึงจะขอนำเสนอความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานและขนาดเส้นจราจรที่กรมทางหลวงกำหนดให้ทุกท่านได้อ่าน ดังต่อไปนี้

เส้นจราจรถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ตามทิศทางการวางตัวของเส้นบนถนน ได้แก่ 

1.) เครื่องหมายจราจรบนพื้นทางตามแนวทางเดินรถ และ 

2.) เครื่องหมายจราจรบนพื้นตามขวาง โดยเส้นจราจรเหล่านี้ก็จะมีรูปแบบปลีกย่อยและมาตรฐานที่แตกต่างกันออกไปอีก แต่สิ่งที่เส้นจราจรทุกรูปแบบต้องมีเหมือนกัน คือ ต้องสามารถมองเห็นได้ชัดทั้งกลางวันละกลางคืน ซึ่งสามารถทำได้ด้วยการใช้เทปติดถนนสะท้อนแสงในการตีเส้นจราจร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

1.เครื่องหมายจราจรบนพื้นทางตามแนวเดินรถ

          ถูกตีขึ้นให้ทอดขนานไปตามทิศทางการเดินรถบนถนนเพื่อใช้สื่อสารกับผู้ขับขี่ยวดยานพานะให้ขับขี่ไปอย่างปลอดภัย เป็นระเบียบ ไม่สับสนเส้นทาง โดยกรมทางหลวงกล่าวถึงประเภทของเส้นแบ่งว่ามีทั้งหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ เส้นแบ่งทิศทางจราจร (Separation Lines) , เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines) และเส้นขอบทาง (Edge Lines)

1.1 เส้นแบ่งทิศทางจราจร มีลักษณะเป็นเส้นสีเหลือง ใช้สำหรับแบ่งทิศทางถนนที่รถขับสวนกัน เส้นแบ่งทิศทางการจราจรยังสามารถแบ่งออกได้อีก 3 ประเภท ดังนี้

1.1.1 เส้นแบ่งทิศทางจราจรปกติ มีลักษณะเป็นเส้นประสีเหลือง แบ่งทิศทางของถนนเป็น 2 ช่องจราจรให้รถขับสวนกันได้ โดยขนาดเส้นแบ่งทิศทางจราจรปกติของทางหลวงในเมือง ใช้เส้นความยาว 1 เมตร ความหนาวของเส้น 0.10 เมตร เว้นช่อง 3 เมตร และเส้นแบ่งทิศทางการจราจรปกติของทางหลวงนอกเมืองใช้เส้นความยาว 3 เมตร ความหนาของเส้น 0.10 เมตร เว้นช่อง 9 เมตร

  1. เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซง เป็นเครื่องหมายจราจรเส้นเดี่ยวหรือคู่ ห้ามขับรถผ่านหรือคร่อมเส้นโดยเด็ดขาด 
  • เส้นทึบเดี่ยวสีเหลือง หมายถึงบริเวณห้ามแซงบนทางหลวง 2 ช่องจราจร ความหนาของเส้น 0.10 เมตร
  • เส้นทึบคู่สีเหลือง หมายถึงบริเวณที่ห้ามแซงทั้งสองทิศทางบนทางหลวง 2 ช่องจราจร ความหนาของแต่ละเส้น 0.10 เมตร​ ระยะห่างของเส้นขนานทั้งสองเส้นต้องเท่ากับ 1-4 เท่าของความกว้าง

1.1.3เส้นแบ่งทิศทางจราจรห้ามแซงเฉพาะด้าน ใช้มากบริเวณทางลาดชัน เป็นสีเหลือง ลักษณะเส้นประขนานกับเส้นทึบ โดยที่

  • ความกว้างของเส้นทึบเท่ากับ 0.10 เมตร 
  • ความกว้างของเส้นประเท่ากับ 0.10 เมตร ความยาวเส้นประเท่ากับ 3 เมตร ช่องว่างยาว 9 เมตร

1.2 เส้นแบ่งช่องจราจร (Lane Lines) ใช้ควบคุมการจราจรของถนนที่มีตั้งแต่ 2 ช่องขึ้นไปและเดินรถไปในทิศทางเดียวกัน

  1. เส้นแบ่งช่องเดินรถ แบ่งช่องเดินรถทิศทางเดียวกันเป็น 2 ช่อง ลักษณะเส้นประสีขาว กว้าง 0.10 เมตร สำหรับทางหลวงนอกเมือง ใช้เส้นยาว 3 เมตร เว้นช่อง 9 เมตร ส่วนทางหลวงในเมือง ใช้เส้นยาว 1 เมตร เว้นช่อง 3 เมตร
  2. เส้นแสดงความต่อเนื่อง (Continuity Lines) ใช้ในบริเวณที่ต้องเร่งหรือลดความเร็ว เป็นเส้นประสีขาวที่มีความกว้าง 0.20-0.30 เมตร ยาว 2 เมตร เว้นระหว่างเส้น 4 เมตร
  3. เส้นแนวช่องเดินรถผ่านทางแยก พบบริเวณทางแยก นิยมใช้เส้นประแบบถี่สีขาว กว้าง 0.10 เมตร ยาว 1 เมตร เว้นระยะ 2 เมตร
  4. เส้นห้ามเปลี่ยนช่องเดินรถ เป็นเส้นทึบสีขาว ทำหน้าที่บอกให้รู้ว่าต้องขับอยู่ภายในช่องจราจรเท่านั้น  โดยความกว้างเส้นเป็น 0.10 เมตร แต่ถ้าหากลากต่อจากเส้นแสดงความต่อเนื่อง ให้ใช้ความกว้างเป็น 0.20-0.30 เมตร
  5. เส้นแบ่งช่องเดินรถประจำทาง เส้นนี้มีลักษณะเป็นเส้นประถี่มาก มีความกว้าง 0.20 เมตร ยาว 0.60 เมตร และเว้นช่องว่าง 0.60 เมตร
  • ในถนนที่รถประจำทางเดินรถไปในทางเดียวกับรถปกติจะใช้เส้นประสีขาว
  • ในถนนที่รถประจำทางเดินรถสวนทางกับรถปกติจะใช้เส้นประสีเหลือง

1.2.6เส้นขอบทางใช้แสดงสุดขอบทางเดินรถ โดยปกติจะเป็นเส้นทึบหรือประสีขาวถูกตีให้ห่างจากฉนวนแบ่งช่องเดินรถ แต่ถ้าหากขอบทางอยู่ติดกับเกาะกลางถนนให้ใช้เส้นสีเหลือง มาตรฐานของเส้นขอบทางต้องกว้าง 0.10 เมตร

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

2.เครื่องหมายจราจรบนพื้นตามขวาง

เป็นเส้นที่วางขวางแนวเดินรถ ซึ่งเส้นประเภทนี้มีอีก 4 รูปแบบ ได้แก่

2.1 เส้นหยุด เป็นเส้นทึบสีขาว ตีขวางทางเดินรถบริเวณที่ต้องหยุดรถ ต้องมีความกว้าง 0.30-0.60 เมตร ขึ้นกับความเร็วรถ ถ้าหากมีเส้นทางข้ามขวางอยู่ เส้นหยุดต้องอยู่ห่างจากเส้นทางข้ามประมาณ 1 เมตร

2.2 เส้นให้ทาง เป็นเส้นประสีขาว ยาว 0.60 เมตร ระยะห่างเท่ากับ 0.30 เมตร กว้าง 0.30-0.60 เมตร เช่นกัน

2.3 เส้นทางข้าม แถบหนาสีขาวหลายๆ แถบประกอบกัน เส้นทางข้ามยังแบ่งได้อีก 2 ประเภท ได้แก่ 

  1. ทางม้าลาย เป็นแถบหนาสีขาว วางเรียงตัวขนานกันขวางทางเดินรถ โดยมีความยาว  2-4 เมตร หนา 0.60 เมตร เว้นระยะระหว่างเส้น 0.80 เมตร 
  2. แนวคนข้าม หรือ ทางเดินคนข้าม เป็นเส้นแถบมีความหนาและช่องว่างเหมือนทางม้าลาย แต่จะมีความยาว 8 เมตร และต้องมีสัญญาณไฟจราจรอยู่ด้วยเสมอ

2.4 เส้นทแยงห้ามหยุดรถ เป็นเส้นทแยงสีเหลืองตัดกันไปมาอยู่ภายในกรอบสีเดียวกัน  โดยเส้นกรอบมีความหนา 0.20 เมตร ส่วนเส้นทแยงมีความหนา 0.15 เมตร

 

มาตรฐานของเส้นจราจรเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม หากผู้อ่านท่านใดกำลังมองหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตีเส้นจราจรให้ได้ตามที่กรมทางหลวงกำหนด หรือกำลังมองหาอุปกรณ์การจราจรอื่นๆ ร้านไทยจราจร ยินดีให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง ที่ www.trafficthai.com

 

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

เส้นชะลอความเร็ว กรมทางหลวง

   ปรึกษาสินค้าและบริการ ฟรี! โทร 02-114-7006

อุปกรณ์จราจร มากกว่า 1,000 ชนิด !!ร้านไทยจราจร คือแหล่งรวบรวมอุปกรณ์จราจรที่ทันสมัยและครบวงจรมากที่สุดในประเทศไทย สินค้าของทางร้านจะมีการอัพเดทใหม่ตลอดเวลา ซึ่งมีผลิตในประเทศและนำเข้าจากต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน เพื่อมีความหลากหลายในการตอบโจทย์ และแก้ปัญหาให้กับผู้ใช้งานทุกท่าน