โครง งาน กระดาษสา จาก ใบ เตย หอม

กระดาษสาจากใบเตย

ผู้จัดทำ

ด.ช.ประยูรศักดิ์   ฉิมวัย   เลขที่20

ด.ญ.ณัฏฐนิชา  เผ่าพันธุ์   เลขที่27

ด.ญ.ธนัญญา   โสภณ       เลขที่33

ด.ญ.นุจรีย์    แซ่เอีย          เลขที่37

ด.ญ.ปวีณ์นุช  ทองมาเอง  เลขที่ 42

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/8

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ประกอบการเรียนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์

กระดาษสาจากใบเตย

ผู้จัดทำ

ด.ช.ประยูรศักดิ์   ฉิมวัย   เลขที่20

ด.ญ.ณัฏฐนิชา  เผ่าพันธุ์   เลขที่27

ด.ญ.ธนัญญา   โสภณ       เลขที่33

ด.ญ.นุจรีย์    แซ่เอีย          เลขที่37

ด.ญ.ปวีณ์นุช  ทองมาเอง  เลขที่ 42

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2/8

อาจารย์ที่ปรึกษา  นันทวัน บุญชุ่ม

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย  สุพรรณบุรี

ปีการศึกษา2556

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์นันทวัน  บุญชุ่ม อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ให้คำเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์  ผู้ศึกษาจึงกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง

                                                                                             ด.ช.ประยูรศักดิ์   ฉิมวัย  

                                                                                              ด.ญ.ณัฏฐนิชา  เผ่าพันธุ์  

                                                                                            ด.ญ.ธนัญญา   โสภณ      

                                                                                         ด.ญ.นุจรีย์    แซ่เอีย         

ด.ญ.ปวีณ์นุช  ทองมาเอง 

บทคัดย่อ

ปัจจุบันกระดาษสามีราคาค่อนข้างแพงมากในตาท้องตลาด เวลาจะใช้กระดาษสาแต่ละที ทำให้พวกเราเสียเงินโดยไม่จำเป็น คณะผู้จัดทำจึงศึกษาพืชที่สามรถนำมาทำเยื่อกระดาษได้ และไม่เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม อาทิเช่น ใบเตย มาผสมกระดาษหนังสือพิมพ์ และกระดาษA4  มาทดลองทำกระดาษสา เพื่อเปรียบเทียบ เนื้อกระดาษ ว่าเยื่อกระดาษที่ผสมกับหนังสือพิมพ์ หรือเยื่อใบเตยที่ผสมกับกระดาษA4  แบบไหนจะสามารถทำกระดาษสาได้ดีกว่ากัน และเรายังได้คิดที่จะนำกระดาษที่ได้มาผสมสี โดยใช้สี 2 ชนิด เพื่อเปรียบเทียบกันคือ สีโปสเตอร์ และสีผสมอาหาร

คำนำ

    โครงงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์  โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้จัดทำได้ฝึกการศึกษาค้นคว้า และนำสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาสร้างเป็นชิ้นงานเก็บไว้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนของตนเองและครูต่อไป

             ทั้งนี้ เนื้อหาได้รวบรวมมาจากหนังสือแบบเรียนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์และจากหนังสือคู่มือการเรียนอีกหลายเล่ม ขอขอบพระคุณอาจารย์นันทวรรณ บุญชุ่มอย่างสูงที่กรุณาตรวจ ให้คำแนะนำเพื่อแก้ไข ให้ข้อเสนอแนะตลอดการทำงาน ผู้จัดทำหวังว่าโครงงานฉบับนี้คงมีประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามความคาดหวัง 

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ

เรื่อง                                                                                                                           หน้า

กิตติกรรมประกาศ

คำนำ

สารบัญ

บทที่

    บทที่1  บทนำ

    -ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

    -จุดมุ่งหมาย

    -สมมุติฐาน

    -นิยามเชิงปฏิบัติการณ์

     บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

     -

     -

     บทที่3 อุปกรณ์และการทดลอง

    -อุปกรณ์

    -การดำเนินการทดลอง

    -การทดลองที่1

    -การทดลองที่2

     บทที่ 5

     -สรุปผลการทดลอง

     -อภิปรายผลการทดลอง

    -ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม

บทที่1

บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

ใบเตยหอมเป็นพืชสมุนไพร  ในอดีตนิยมนำใบเตยหอม มาประกอบอาหารและทำขนมหวานใช้แต่งกลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว  หรือนำไปแต่งกลิ่นและสีของขนม  จะเห็นได้ว่าเราใช้สมุนไพรเตยหอมมากมาย  ใบเตยมักจะขึ้นในที่ชื้นแฉะใกล้น้ำ  
กระดาษสาเป็นกระดาษชนิดหนึ่ง  ที่ทำมาจากต้นกระดาษสาซึ่งต้นปอสา เป็นพืชเส้นใยในตระกูลเดียวกับหม่อนและขนุน   ในปัจจุบันกระดาษสานอกจากจะมีราคาแพงและมีความสวยงามแล้ว  ยังเป็นสินค้าที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภค  คณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะนำใบเตยมาทำเป็นกระดาษสา  เพราะใบเตยเป็นพืชที่มีเส้นใยสูง  จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะนำมาทำเป็นกระดาษสาเหมือนกับวัสดุธรรมชาติอื่น ๆ

จุดมุ่งหมายของโครงงาน
                   1.   เพื่อหาสูตรที่เหมาะสมสำหรับการทำกระดาษสาจากใบเตยหอมโดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษโรเนียว และกระดาษกล่องเป็นส่วนผสม 
                   2.   เพื่อเปรียบเทียบสีที่เหมาะสมการทำกระดาษสา

สมมติฐานของโครงงาน
                   ใบเตยสามารถนำมาทำเป็นกระดาษเหมือนกับต้นปอสาได้
ตัวแปร
(เค้าไม่รู้ -.,- )
นิยามเชิงปฏิบัติการ
(เค้าก็ไม่รู้ง่า...........)

บทที่2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

เรื่อง

(ยังไม่รู้อ่า)

บทที่3

อุปกรณ์และการทดลอง

อุปกรณ์
          1.   มีด 
          2.   กระดาษหนังสือพิมพ์ 
          3.   กรรไกร 
          4.   กระดาษโรเนียว 
          5.   เครื่องปั่น 
          6.   กระดาษกล่อง 
          7.   ปลั๊กไฟ                    
          8.   ตะแกรงไนล่อน ( เฟรม ) 
          9.   อ่างน้ำ   
          10.   กะละมัง 
          11.   กะละมัง
          12.   สีโปสเตอร์ 
          13.   สีย้อมผ้า 
          14.   ผ้าขาวบาง 
          15.   สีผสมอาหาร 
          16.   กระชอน 
          17.   หม้อ 
          18.   เตาไฟ 
          19.   เครื่องชั่ง
          20.   พืชที่ใช้ทดลอง  ได้แก่  ใบเตยหอม

การดำเนินการทดลอง
    การทดลองที่1
วิธีทำ

การทดลองที่2
วิธีทำ

บทที่4

ผลการทดลอง

ผลการทดลองที่1

(ตรงนี้ทำเป็นตารางนะแจ๊ะ!!!!!!!!!!)

ผลการทดอลงที่2

(ตรงนี้ก็ทำเป็นตาราง)

บทที่5

สรุปและอภิปรายผล

สรุปผลการทดลอง

อภิปรายผลการทดลอง

ข้อเสนอแนะ