บทบาท หน้าที่ ของพยาบาล ด้านโภชนาการ

    ����ش����㹡�û�Ժѵԧҹ��ҧ� �ͧ��Һ�� ��ѡ�ҹ����Ӥѭ��������ö�͡�֧�������ԪҪվ�ͧ��Һ�� ��蹡��� �ѹ�֡�ҧ��þ�Һ�� �ǡ��Ҿ�Һ���ԪҪվ�ء��ҹ �֧��ͧ���˹ѡ ����������Ӥѭ �µ�ͧ�����������ѹ�ѹ�֡��觷������黯Ժѵԡ�ô��ż��������ҧ�դس�Ҿ���� ����ҡ����ҧ�蹪Ѵ㹺ѹ�֡�ҧ��þ�Һ�� �����׹�ѹ�������ԪҪվ�����Ѻ�ԪҪվ�Ң����� �Ф�� ���ѹ����㹵͹˹�ҹФ�� �ͺ�س��

บทบาทพยาบาลในการสง่ เสริมสุขภาพด้านโภชนาการ

มโนทัศนห์ ลัก

สขุ ภาพ หมายถึง ภาวะแห่งความสมบรู ณ์ของร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ รวมถึง
การดารงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างปกติสขุ และมิไดห้ มายความเฉพาะเพียงแตค่ วาม
ปราศจากโรคหรือความพิการทุพพลภาพเทา่ นัน้ (องคก์ ารอนามยั โลก WHO ใน ธีร
วีร์, 2557)
สขุ ภาพ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณท์ ้ังทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และ
ทางสงั คม เชือ่ มโยงกับเปน็ องคร์ วม อย่างสมดุล (พระราชบญญั ัติสุขภาพ
แห่งชาติ พ.ศ.2550)

มติขิองสุขภาพ แท้จริงแลว้ ในองค์ประกอบสุขภาพ ทงั้ 4 ด้าน
แต่ละดา้ นยังมี 4 มิติ ดงั นี้

1. การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ เปน็ กลไกการสรา้ งความ เข้มแขง็ ใหแ้ กส่ ุขภาพกาย สขุภาพจิต สุขภาพสงั คม และ
สขุ ภาพศลี ธรรม

2. การปอ้ งกันโรค ได้แก่ มาตรการลดความเสย่ี ง ในการเกิดโรครวมทง้ั การสร้างภมู ิคุ้มกันเฉพาะโรค ด้วย
วิธีการต่างๆ นานา เพ่อื มใิ หเ้ กิดโรคกาย โรคจิต โรคสงั คม และโรคศีลธรรม ท้ังการส่งเสริมสุขภาพ และการ
ปอ้ งกนั โรคน้จี ะเรียกรวมกันวา่ “การสรา้ งสุขภาพ” โดยใหท้ าก่อนเกิดโรค

3. การรกั ษาโรค เมอ่ื เกิดโรคข้นึ แล้ว เราต้องเร่ง วินจิ ฉัยโรคว่าเป็นโรคอะไร แล้วรีบใหก้ ารรักษาดว้ ยวิธีที่
ไดผ้ ลดีทีส่ ุดและปลอดภัยทีส่ ดุ เท่าที่มนุษย์จะรู้และ สามารถใหก้ ารบริการรักษาได้ เพอ่ื ลดความเสยี หายแก่
สุขภาพ หรอื แม้แตเ่ พ่อื ปอ้ งกนั มใิ หเ้ สียชวี ิต

4. การฟืน้ ฟูสุภาพ หลายโรคเมือ่ เป็นแล้วก็อาจเกิด ความเสยี หายต่อการทางานของระบบอวยั วะหรอื ทาให้
พกิ าร จึงต้องเริ่มมาตรการฟืน้ ฟใู หก้ ลับมามสี ภาพใกลเ้ คียงปกติที่สุดเท่าที่จะทาได้

กระบวนการพยาบาลกบั การประเมนิ ภาวะโภชนาการ

1. การประเมิน assessment
2. การตัง้ ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
3. การวางแผนการพยาบาล
4. การปฏิบัติการพยาบาล
5. การประเมินผลการปฏิบตั ิพยาบาล

โภชนบาบัดทางการแพทย์
(Medical Nutrition Therapy - MNT)

การประเมินภาวะโภชนาการ (Nutrition assessment)
การวางแผนและการให้โภชนบาบัด (Nutrition care plan and intervention)
การให้ความรู้และคาปรึกษาด้านโภชนาการ (Nutrition education and counseling)
การติดตามและประเมินผล (Follow up and evaluation)

การประเมินภาวะโภชนาการ

1. การตรวจอาการทางคลินิก (clinical assessment)
2. การตรวจสารทางชวี เคมีในร่างกาย (biochemical assessment)
3. การสารวจอาหารที่รบั ประทาน (dietary assessment)
4. การวัดสดั สว่ นตา่ งๆของรา่ งกาย (anthropometric assessment)
5. ประเมนิ ปริมาณพลงั งานท่ไี ดร้ ับตามความต้องการของร่างกาย (energy expenditure)

แบบคัดกรองโภชนาการ

1. Mulnutriontion Universal Screening Tool : MUST
https://www.si.mahidol.ac.th/Th/division/nursing/NDivision/N_qd/admin/news_files/51_72_3.pdf
คาถามที่ถาม
1. BMI
2. รอยละของน้าหนกั ทีล่ ดลง ภายในระยะเวลา 3-6 เดือน
3. มโี รคทีม่ ผี ลตอภาวะโภชนาการที่ทาใหไมสามารถรบั ประทานอาหารไดตามปกติ

The triceps skinfold

วิธีประเมินภาวะโภชนาการ : ABCDE approach

Anthropometric measurement การวัดสดั ส่วนของร่างกาย
Biochemical determination การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Clinical observation การตรวจรา่ งกายและอาการและอาการแสดงตา่ งๆ
Dietary assessment การซักประวัติการบริโภคอาหาร
Ecological assessment การประเมินสิ่งแวดลอ้ ม ปจั จยั ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การบริโภคอาหาร

การวินิจฉยั ทางโภชนาการ จะมองปญั หาอยู่ 3 หมวดหมู่ คือ

1. ปญั หาทีเ่ กีย่ วข้องกบั การไดร้ บั อาหารและสารอาหาร เชน่ ได้รบั อาหารหรือ
สารอาหารมากเกนิ / น้อยเกนิ กว่าที่รา่ งกายต้องการ หรือเคยได้รับ
2. ปัญหาทางคลินิก คอื ปัญหาทางโภชนาการที่อาจสง่ ผลกระทบต่อสภาพรา่ งกาย
หรือ สภาวะทางคลินิกได้
3. ปญั หาทางพฤติกรรม-สิ่งแวดลอ้ ม เช่น ความรู้ ทศั นคติ ความเชือ่ สภาพแวดลอ้ ม
ทางกายภาพ การเขา้ ถงึ อาหาร ความปลอดภัยทางอาหาร

การวินิจฉัยการพยาบาล (การวินิจฉัยภาวะโภชนาการ)

1. ความไม่สมดลุ ของภาวะโภชนาการจาก...การไดร้ ับน้อยกวา่ ความต้องการของร่างกาย
/ จากการอดอาหาร/ จากการยอ่ ย การดูดซึมผิดปกติ / โรคเรื้อรัง / ภาวะเบ่อื อาหาร
2. น้าหนักตวั ไมเ่ หมาะสม เนือ่ งจาก การบริโภคคารโ์ บไฮเดรตมากเกนิ ความต้องการ
3. ผู้ปว่ ยได้รบั พลังงานจากอาหารมากเกนิ ไป เนือ่ งจากการบริโภคอาหารไขมันสูงในปริมาณ
มากบอ่ ยคร้งั สงั เกตไดจ้ ากการไดร้ ับพลงั งานเกนิ จากความตอ้ งการตอ่ วัน วันละ 500 กิโล
แคลอรี ร่วมกับนา้ หนกั ที่เพิม่ ขึน้ 5 กิโลกรมั ใน 6 เดือนที่ผา่ นมา
4. การใหอ้ าหารทารกไม่เหมาะสม เนือ่ งจากแมข่ าดความรูค้ วามเขา้ ใจทีถ่ กู ต้องเหน็ ไดจ้ าก
การที่แม่ให้ลกู ดื่มน้าผลไมใ้ นขวดนมกอ่ นนอนทกุ คนื

การปฏิบัติการพยาบาล: การให้คาแนะนาทางโภชนาการหรือโภชนบาบดั

1. แนะนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่ทาใหผ้ ปู้ ว่ ยไดร้ บั ใยอาหารอยา่ งน้อย 25-30 กรัมตอ่
วัน โดยเน้นไปที่ใยอาหารชนิดละลายน้า (7-13 กรัมต่อวัน) โดยเนน้ การบริโภคอาหาร เช่น
ผกั ผลไม้ ธญั พชื ไมข่ ดั สี ถัว่ ต่างๆ

2. แนะนาการบริโภคอาหารแบบ DASH ได้ โดยเนน้ การบรโิ ภคผกั ผลไม้ นมไขมันต่า และ
จากดั การบริโภคโซเดียมใหน้ ้อยกว่า 2300 มิลลิกรมั ตอ่ วัน

3. แนะนาแบบแผนอาหารทีม่ ีการจากัดพลังงาน โดยเน้นไปทีก่ ารลดการบริโภค
คาร์โบไฮเดรตและไขมนั แตเ่ พิม่ กิจกรรมทางกายแทน แหล่งพลงั งานไมใ่ หส้ ารอาหารอื่นๆ
เช่นนา้ ตาล และแอลกอฮอล์ ควรจากัดให้มากทีส่ ุด

การติดตามและประเมินผลการให้โภชนบาบัด

1. ติดตามและประเมนิ ผลการใหโ้ ภชนบาบัดเปน็ ระยะ โดยทาการประเมนิ ตัวชว้ี ดั ตา่ งๆ ที่
เกีย่ วข้องกับองค์ประกอบของร่างกาย การบริโภคอาหาร/ไดร้ บั สารอาหาร ผลทาง
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การตรวจวินิจฉัย หัตถการทางการแพทย์ รวมไปถึงอาการแสดงทางคลินิกที่
เกี่ยวข้องกับโภชนาการ และประวตั ิผปู้ ่วย เพือ่ ให้ทราบความเปลี่ยนแปลง

การเขียน SOAP NOTE

การเขียนบันทึกข้อมูลโภชนาการผู้ป่วยที่ดี ย่อมสามารถทาให้ผู้อ่านข้อมูลเข้าใจและ
ทราบรายละเอียดท้ังหมดของผู้ป่วยได้ มีวิธีการเขียนบันทึกข้อมูลหลายวิธี ที่นิยมใช้กันมาก
คอื การเขียนบันทึกแบบ SOAP NOTE

S หมายถงึ Subjective
O หมายถงึ Objective
A หมายถงึ Assessment
P หมายถึง Plan

21

วตั ถปุ ระสงค์ในการเขียนบนั ทึกข้อมลู โภชนาการผปู้ ว่ ย

1. รวบรวมประวัติของผปู้ ่วย และขอ้ มลู ทางโภชนบาบดั ในสว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั นักกาหนดอาหาร
2. สือ่ สารขอ้ มลู ทีไ่ ด้ และสิ่งที่ไดแ้ นะนา แผน และการติดตามผลตามแผนทีว่ างไว้ ใหแ้ พทย์ และ
ทีมดแู ลผู้ปว่ ยได้รับทราบ
3. เพือ่ ใหก้ ารรักษาผูป้ ว่ ยเป็นไปในทิศทางเดยี วกัน
4. ใหผ้ ้ปู ว่ ยไดร้ บั ความรู้สึกที่ดี เมื่อทราบวา่ ตนเองกาลงั ได้รับการดแู ลอยา่ งไรตอ่ ไป
5. ลดการทางานซบั ซอ้ น

22

บทบาทพยาบาลในการสง่ เสริมโภชนบาบัด
หญิงตง้ั ครรภ์

1. ภาวะโภชนาการทีด่ ีในขณะตงั้ ครรภย์ ่อมส่งผลดีต่อสขุ ภาพของสตรี
ตัง้ ครรภ์และพัฒนาการของทารก

2. การมีน้าหนักตัวทีเ่ พิ่มขึ้นอยา่ งเหมาะสมจะส่งผลดีทงั้ ต่อสตรีตัง้ ครรภ์
และทารกในครรภ์ หากสตรีต้ังครรภ์ มีนา้ หนกั ตัวเพิม่ ข้นึ น้อย หรือมี
ภาวะขาดสารอาหาร ยอ่ มส่งผลใหท้ ารกในครรภเ์ จริญเตบิ โตไดไ้ ม่ดี
ในทางตรงกันขา้ ม

3. หากสตรีต้ังครรภ์มีน้าหนกั ตัวเพิ่มขึ้นมากเกินไป อาจส่งผลให้ทารกมี
น้าหนักตวั มากและเกิดการคลอดยาก ซึ่งผลจากการคลอดยาก คอื สตรี
ต้งั ครรภ์อาจต้องไดร้ ับการผา่ ตัดคลอดทางหน้าทอ้ ง

ตย.ผลการวิจยั ภาวะโภชนาการผูป้ ่วยในรพ.(ขณะนอนรพ.)

ความสัมพนั ธร์ ะหว่างภาวะทพุ โภชนาการกบั ระยะวันนอนในหอผ้ปู ่วยไอซยี ศู ลั ยกรรมผปู้ ่วยมี
ระยะวันนอนในหอผู้ปว่ ยไอซียูศัลยกรรมเฉลีย่ 14.9 วนั สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8.9 เมื่อวิเคราะห์
ความ สัมพนั ธ์ของคะแนนภาวะทุพโภชนาการและระยะวันนอน โดยใชส้ ถิตคิ ่าสมั ประสิทธ์ิ
สหสมั พนั ธ์ของเพียรส์ นั พบว่า คะแนนรวมของระดบั ภาวะทุพโภชนาการมีความสัมพนั ธ์ทางบวก
กบั ระยะเวลาวันนอนในหอผู้ปว่ ยไอซยี ศู ัลยกรรมอย่างมี นยั สาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05) โดยมีค่า
สมั ประสิทธส์ิ หสัมพันธ์ 0.23 (สรุ ีพร อยั แก้ว และคณะ, 2555)

พยาบาลกบั การสง่ เสริมสขุ ภาพด้าน
โภชนาการในสตรีตัง้ ครรภ์

การสง่ เสริมสุขภาพด้านโภชนาการในสตรี
ตงั้ ครรภ์ หมายถงึ การกระทาหรอื การปฏิบัติ
กิจกรรมการส่งเสริม สุขภาพด้านโภชนาการ
เกีย่ วกับการเลือกรับประทานอาหารอยา่ ง
ถูกตอ้ งและเหมาะสมกบั ความต้องการของสตรี
ต้ังครรภ์ เพือ่ ให้ได้คณุ คา่ ทางโภชนาการ
ครบถ้วน ทาให้มีสขุ ภาพ แข็งแรงในขณะ
ต้งั ครรภ์ ท้ังน้ี การสง่ เสริมสุขภาพ ด้าน
โภชนาการในสตรีต้งั ครรภเ์ ริ่มตงั้ แต่ระยะแรก
ของ การตงั้ ครรภ์

1. การซกั ประวัติ การรบั ประทานอาหาร
การใชย้ า
การเจ็บครรภ์/การตง้ั ครรภ์
การเจบ็ ปว่ ย
เศรษฐานะ

2. การตรวจรา่ งกาย คัดกรองโรคตา่ งๆ
การขาดสารอาหาร
การตรวจฟัน

3.การประเมนิ ดัชนีมวลกาย

4.การประเมินน้าหนกั ตวั ที่ควรเพิ่มขึน้ ในขณะ นน.มาตรฐานควรมีนน.ตัวเพิม่ 11.5-16 กก.

ตัง้ ครรภ์ ตลอดการตงั้ ครรภ์
หากอว้ นควรเพิ่มไม่เกนิ 9 กก.

เกณฑ์แนะนานา้ หนกั ตัวทีค่ วรเพิ่มขึ้นในขณะต้ังครรภ์ (ACOG, 2013)

นน.ตวั ก่อนตัง้ ครรภ์ นน.ตวั ทีค่ วรเพิ่มขึ้นทง้ั หมด ค่าเฉลี่ยอัตราการเพิม่
ของนน.ตวั ในไตรมาส 2,3
นน.ตวั น้อยกวา่ ปกติ 12.50 – 18.00 (กก/สป)
นน.ตวั ปกติ 11.50-16.00 .51 (.44-.58)
นน.ตัวมากกว่าปกติ .42 (.33-.50)
ภาวะอว้ น 7.00-1150
.28 (.23-.33)
5.00-9.00
.22 (.17-.27)

แนวทางการสง่ เสริมสุขภาพด้านโภชนาการในสตรีตงั้ ครรภ์

1. แนะนาใหร้ ับประทานอาหารใหไ้ ดพ้ ลังงานและสารอาหารทแี่ นะนาใหบ้ ริโภคต่อวนั โดยต้อง
รบั ประทานอาหารใหค้ รบ 3 มือ้ ต่อวนั และมีอาหารวา่ งทีมีประโยชน์อีก 2- 3 มือ้ โดยแนะนา
เมนอู าหารให้สอดคล้องกบั นน.ตัวทีค่ วรเพิ่มขึ้นในแตล่ ะไตรมาส เชน่ ไตรมาสแรก แนะนา
อาหารทีส่ ร้างเน้อื เยือ่ และการเจริญเติบโตของทารก ไดแ้ ก่ โปรตีน แคลเซีย่ ม ธาตุเหล็ก
และโฟเลต ไตรมาสที่ 2 แนะนาอาหารเพิม่ พลังงาน ลดอาการทอ้ งผกู และไตรมาสที่ 3 แนะนา
อาหารบารุงเซลลส์ มองของทารก

2. ใหค้ วามรู้ด้านโภชนาการ อาจให้เป็นรายกลุม่ ควรให้ความร้เู มื่อสตรีตง้ั ครรภ์มาฝากครรภ์
แรก โดยใหค้ วามร้ใู นรปู ธงโภชนาการ และควรมีห่นุ จาลองประกอบการใหค้ วามรู้ เพื่อให้เกิด
ความรู้ ความเข้าใจและทกั ษะในการเลือกซอ้ื เลือกรบั ประทานอาหารทีถ่ ูกตอ้ ง เหมาะสม

พลงั งานและสารอาหารหลักทคี่ วร
ไดร้ ับขณะตง้ั ครรภ์

สิง่ ทพ่ี ยาบาลควรจา
1. ในไตรมาสแรก สตรีตง้ั ครรภ์นน.มกั ไม่เพิม่
หรือเพิ่มเล็กน้อย (.5-2 Kg)
2. ในไตรมาสที่ 2 ควรเพ่มิ พลงั งานจากเดิม
340 kcal.
3.ในไตรมาสที่ 3 ควรเพิ่มพลงั งานจากเดมิ
425 Kcal.

3. พยาบาลควรมีการประเมินภาวะโภชนาการของสตรีตัง้ ครรภ์
เชน่ ประเมินนน.ตวั ทีเ่ พิม่ ขึ้น หรือประเมินดัชนมี วลกายเป็นระยะ
และใหก้ าลงั ใจ หรือชมเชยในกรณีสตรีต้งั ครรภ์สามารถปฏิบัติ
ตวั ไดถ้ กู ต้อง

แนวคิด 5 กุญแจสาหรบั อาหารปลอดภัย (Five
Keys to Safer Food)

1. การรกั ษาความสะอาด ลา้ งมือก่อนปรงุ ประกอบอาหาร ดูแลไม่ให้
มสี ตั ว์ในบริเวณปรงุ

2. การแยกวตั ถดุ ิบและสุก ตอ้ งแยกเนอ้ื สด สัตว์ปีก และอาหารทะเล
สด ออกจากอาหารสกุ

3. การปรุงสุก การปรงุ สุกต้องผ่านความร้อนอยา่ งน้อยอณุ ภมู ิ 70
องศาเซลเซียส เพราะจะฆ่าเชื้อจุลลินทรีย์

4. รักษาอาหารในอณุ ภูมิทีเ่ หมาะสม

5. การใช้นา้ และวัตถุดิบในการปรุงที่ไมป่ นเป้อื น : ตอ้ งเฝ้าระวังบอ
แรกซ์ สารฟอกขาว สารกันรา ฟอร์มาลีน ลว้ นเป็นอนั ตรยตอ่ ทารกใน
ครรภ์ เนือ่ งจากผ่านทางรก

บทบาทพยาบาลในการส่งเสริม แพทย์
โภชนาการผปู้ ่วยภาวะวิกฤต

ญาติ ผ้ปู ่วย นักกาหนด
วิกฤต อาหาร

พยาบาล

บทบาทพยาบาลในการสง่ เสริมโภชนาการผ้ปู ่วยภาวะวิกฤต

1. การประเมนิ ภาวะโภชนาการ
-การซกั ประวัติ ชง่ั นน.วดั สว่ นสูง เพื่อคานวณ BMI ประวัติการเจ็บป่วย : subjective global
assessment (SGA)
-การตรวจร่างกาย ไดแ้ ก่การวดั สัดสว่ น ไขมันใตช้ ัน้ ผิวหนัง (anthropometry) การช่ังนน.และวัด
ส่วนสูง เพื่อคานวณBMI
-การตรวจและติดตามผลทางหอ้ งปฏิบัติการ ไดแ้ ก่ค่า อัลบูมนิ (albumin) ครเี อตินิน (creatinine)
-การประเมินความต้องการพลังงานและสารอาหารในแตล่ ะวนั

สูตรการคานวณความตอ้ งการพลังงานของ Harris-Benedict

1. คานวณความตอ้ งการพลังงานพื้นฐาน BEE : Basal Energy Expenditure)

◦ A. ชาย BEE = 66.5 + 13.7 W + 5.0 H + 6.8 A
◦ B หญิง BEE = 655.1+ 9.5W + 1.8 H – 4.7 A
W=นน.ตวั เป็น กก. A = อายุ เป็นปี H = ส่วนสงู เป็น ซม.
2. คานวณ ความต้องการพลังงานรวม Total energy expenditure : TEE

TEE = BEE x AF x IF
AF = activity factor
IF = injury factor

◦ http://www-users.med.cornell.edu/~spon/picu/calc/beecalc.htm

Activity Factors

Restricted 1.1 ON VENTILATOR
Sedentary 1.2 BED REST
Aerobic 3 x/ week 1.3 ACTIVITY ปกต,ิ EXERCISE
5 x/ week 1.5 ออกก าลงั กาย
7 x/ week 1.6
True athlete 1.7 นักกฬี า

Injury factor

Surgery factor : minor 1.0-1.1 Trauma: skeletal 1.2-1.35
major 1.1-1.2 blunt 1.15-1.35
Infection: mild 1.0-1.2 Head trauma treated with steroids 1.6
moderate 1.2-1.4 Burns: Up to 20% body surface area (BSA) =1.0-1.5
severe 1.4-1.8 20%-40% BSA = 1.5-1.85
40% BSA = 1.85-1.95

สารอาหารที่ผูป้ ่วยวิกฤต ควรได้ในแต่ละวัน

สารอาหาร ปกติ ภาวะวกิ ฤต

โปรตีน 0.8-1.2 กรัม/กก./วนั 1.2-1.5 กรัม/กก./วนั
รอ้ ยละ 20-50 ของพลงั งานทั้งหมด

คารโ์ บไฮเดรต(นา้ ตาล) 110-150mg/dl ≥ 150 g./วนั หรือรอ้ ยละ50-70 ของ
พลงั งานท้ังหมด

ไขมัน 1-1.5gm/kg/วนั

ภาวะโภชนาการของ
ผปู้ ่วยมะเร็ง

การประเมนิ ภาวะโภชนาการของผปู้ ว่ ย
มะเร็ง มเี ครอ่ื งมอื หลายชนิดเชน่
1. Patient Generated Subjective Global
Assessment (PG-SGA),
2. Subjective Global Assessment (SGA)
3. Bhumibol Nutrition Triage (BNT)

บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมโภชนาการผ้ปู ว่ ยมะเรง็

ปกติผปู้ ว่ ยมะเรง็ จะมีภาวะทุพโภชนาการ จากปัจจยั ของผู้ป่วยเอง ดังนน้ั พยาบาลตอ้ งทา
1. ติดตามสอบถามถึงอาการผู้ป่วย และอาการแสดงอืน่ ๆ เชน่ คลืน่ ไส้ อาเจียน เบอ่ื อาหาร
รนุ แรง ปากแหง้ เจ็บแผลในปาก ทอ้ งผูก ทอ้ งเสีย ฯลฯ
2. บันทึกการเปลีย่ นแปลงของภาวะโภชนาการผปู้ ว่ ยอย่างตอ่ เนอ่ื ง
3. ส่งเสริมใหผ้ ปู้ ว่ ยไดร้ บั อาหารมากเพียงพอกบั ความต้องการของร่างกาย จดั แบ่งมือ้ ละ
เลก็ น้อย แตบ่ ่อยครง้ั เลือกที่ชอบ และมีสิ่งแวดลอ้ มที่ดีในการรับประทานอาหาร
4. ดแู ลปากฟนั ให้สะอาด เพือ่ กระตนุ้ ความอยากอาหาร ให้บว้ นปากด้วยน้าเกลืออ่นุ กรณีมี
แผลในปาก และใหด้ ืม่ นา้ มากๆ อยา่ งน้อย 2 ลิตร/วนั

บทบาทพยาบาลในการสง่ เสริมโภชนาการผ้ปู ว่ ยมะเร็ง

5. หากพบวา่ ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ ก็จัดอาหารทางหลอดเลือดดา หรือทาง
สายยาง และคอยสังเกตการเคลือ่ นไหวของลาไส้ และการย่อยอาหาร
6.ลดการใชพ้ ลงั งานของผปู้ ่วยดว้ ยการชว่ ยเหลือผปู้ ่วยในการทากิจกรรมต่างๆ
7.จัดระบบการคัดกรอง ประเมิน และติดตามภาวะโภชนาการของผู้ป่วย และร่วมกบั สหวิชาชีพ
ในการสง่ ตอ่ ผู้ป่วยใหพ้ บกบั นักกาหนดอาหาร เมื่อพบการเปลี่ยนแปลงใดๆ
8. ทาหน้าทีใ่ ห้คาปรกึ ษากบั ญาติและผู้ดแู ลผู้ป่วย ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะที่จาเปน็ ที่
เกย่ี วข้องกับภาวะโภชนาการของผปู้ ว่ ย
9. สง่ เสริมให้คาปรึกษาดา้ นจติ ใจดว้ ย เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยและญาติ มีความกลา้ หาญในการเผชิญ
ปัญหาต่างๆ

บทบาทพยาบาลด้านโภชนาการในผ้ปู ว่ ยโรคกระดกู และข้อ

1. โรคเกา๊ ท์ : ภาวะที่รางกายมีระดับของกรดยรู คิ ในเลอื ดสูง
กรดยรู ิค ในร่างกายสงู ไดจ้ าก รับเขา้ มามาก และขับถา่ ยออกนอ้ ย
รบั เขา้ มามากโดย
- รบั ประทานอาหารทมี่ สี ารพวิ รีนมาก เชน ตับ ไต สมอง เครื่องใน เนือ้ สัตว นา้ ซุป ปลา กระปอง กะป ถว่ั
เห็ด และอาหารทมี่ ไี ขมันมาก ซึ่งจะทาใหขับ uric ยากขึน้
-สังเคราะหมากขนึ้ มักเกีย่ วกับกรรมพันธุ์
-การขับกรดยูรคิ ไดนอยเกินไป เชนการดืม่ แอลกอฮอล ภาวะแทรกซอนจากโรคตางๆ ขดั ขวางการขบั ถาย
กรดยรู ิค เชน โรคไตเรือ้ รัง ภาวะเปนพิษจากสารตะก่ัว โรคเบาหวานรนุ แรง การใชยา Thiazide ขัดขวางการ
ขบั ถาย Uric เพศหญิงวัยหมดประจาเดอื นเปนโรคเกาทมากเนอื่ งจากไมมฮี อรโมนเอสโตรเจนชวยขบั ถาย
uric ออกไดดขี ึ้น

อาการโรคเกา๊ ท์

อาการเริ่มแรก ปวดรุนแรงอยางทนั ทีทนั ใด มักเกดิ ที่หวั แมเทา
เปนแหงแรก อาจเกิดภายหลังที่กิน อาหารทีม่ ีแคลเซียมสูงมากๆ
หรือ การดืม่ เหลามากเกินขนาด ผูปวยมกั มไี ข หนาวสน่ั ออนเพลีย
เม็ดเลือดขาวสูง อาการจะคอยๆดขี ึน้ ใน 2-3 วนั และหายไปเองใน
ระยะ 5-7 วัน บางครง้ั อาจเกิด หลังการผาตดั หรือหลงั การเปน็
โรคติดเชือ้ อยางรุนแรงของจมกู และคอ ความปวดจะทวีมากขึ้น
เมือ่ มนี ้าเขาไปสะสมอยูในขอและในเนื้อออนรอบๆ ขอมากขึ้น
ผิวหนงั ตรงขอจะตงึ รอน เปนมัน อาการอาจหายไปเองภายใน 3
วัน-2 สปั ดาห หรือไดรบั ยาขับกรด ยรู ิคออกจากรางกาย

อาการโรคเก๊าท์

ระยะพกั ไมแสดงออก เปนระยะทีไ่ มมีอาการแสดง แตปรมิ าณกรดยรู ิคในเลือดยงั สูงอยชู วงเวลา
ระหวางที่อาการหาย และเปนขึ้นมาอกี แตละชวงจะสัน้ ลง จนถงึ ขั้นเปนเรื้อรัง เกิดเปนโรคเกาตซึง่
มีลักษณะคลายโรคขออกั เสบรูมาตอยด์

ระยะเปนโรคเกาต เรื้อรงั เปนชวงที่แสดงอาการของโรคเกาตเปนระยะๆ จากการที่มผี ลึกยูเรต (
Urate crystal) จานวนมากสะสมอยูในขอกระดกู และเยือ่ ออนโดยรอบ ขอกระดูกทีไ่ ดรบั
ผลกระทบจากโรคเกาตจะเปลีย่ นแปลงจนผิดรูป ทาใหเกิดความพิการที่ขอกระดกู นนั้ ๆ ได ถาเปน
มากจะสังเกตวามีปุมกอนขึน้ ทีบ่ รเิ วณที่เคยอักเสบบอยๆเรียกวา ตมุ โทไฟ โตขึ้นเรอ่ื ยๆจนแตก
ออก มีสารขาวๆคลายชอลกหรือยาสีฟนไหลออกมากลายเปนแผลเรือ้ รังหายชา สุดทายขอจะค
อยๆพกิ าร และใชงานไมได ระยะนีม้ ักมีไตวายรวมดวย

หลกั การจัดอาหาร : อาหารสาหรบั ผปู วยโรคเกาท (อาหารงดพิวรีน)

1. งดเน้อื ไก ปลา ทกุ ชนิด
2. เนยแขง็ ทีม่ ีเนือ้ สัตวประกอบ
3. ขนมปงที่ทาจากแปง Whole Wheat ธัญพชื สีดวยมือ
4. หนอไมฝรงั่ ถ่ัวเมลด็ แหงตางๆ ถว่ั เหลือง ถงั่ ลันเตา เห็ด กระหล่าดอก ผักโขม
5. ไขมนั ทีล่ ะลายจากเนอ้ื
6. ซปุ ที่ทาจากผกั ทีต่ องงด และน้าตมกระดูก
7. ขนมหวานที่มลี ูกนทั หรือทาจากแปง Whole Wheat
8. ชา กาแฟ นา้ จากธัญพืช (น้าขาว)

อาหารทีค่ วรหลีกเลยี่ ง

อาหารสาหรับผูป้ ่วยโรคตับ
และถงุ น้าดี

ผู้ป่วยพอกินอาหารไดค้ วรใหเ้ ปน็ อาหารออ่ น
หรืออาหารเหลว เพอ่ื ใหก้ ินไดง้ ่ายมีพลังงาน
ไมต่ ่ากว่า 35 กิโลแคลอรตี อ่ วัน หรือ น้าตาล
เป็นสารอาหารหลักที่ให้พลังงาน งดไขมนั
เพราะจะทาใหท้ ้องอดื ใหโ้ ปรตีนในปริมาณ
นอ้ ยไม่ควรเกิน 20-30กรัมต่อวนั ถา้ ผู้ปว่ ย
มอี าการดีข้นึ จงึ เพิ่มจานวนโปรตีนขน้ึ ชา้ ๆ
จนถึงสงู สุดประมาณ 1-1.2กรมั ต่อนา้ หนกั ตวั
หนึ่งกิโลกรัม ถา้ รบั อาหารทางปาก ไม่ได้
เพยี งพอเช่นท้องอืด เบ่อื อาหารหรือความ
ร้สู ึกตวั ลดลง ต้องลดอาหารทางปากและให้
อาหารทางหลอดเลือดดาเข้ามาเสรมิ

หลักการจัดอาหาร คือ ขจัดสาเหตุ เพือ่ ป้องกนั การทาลายเนื้อตบั ชว่ ยให้เซลล์
ตับงอกใหมแ่ ละปอ้ งกัน หรือรักษาอาการแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดขึน้ โดยมีหลกั ดังนี้

สารอาหารตอ่ วนั พลังงานตอ่ วนั

คารโ์ บไฮเดรท รอ้ ยละ 50-70 ของพลังงาน 250-400 กรัม

โปรตีน วันละ 1.5 กรมั ต่อน้าหนกั ตวั 60-80 กรัม

ไขมนั ควรไดป้ รมิ าณพอสมควร ประมาณร้อยละ
25-30 ของพลังงานทีไ่ ดร้ ับ

วิตามิน กลมุ่ วิตามินบรี วมต้องเพยี งพอ หากมี เลือดออกงา่ ย
ต้องใหว้ ิตามนิ เคด้วย

นา้ และโซเดียม 250-500 กรัม นา้ ประมาณ วนั ละ หากมีอาการบวม โซเดียมสงู และมอี าการทอ้ งมาน

1,000-1,500 มลิ ลลิตร น้า ต้องควบคมุ ปริมาณน้า และเกลอื ดว้ ย

บทบาทพยาบาลในการดแู ล
ดา้ นโภชนาการสาหรับ
ผูป้ ่วยศลั ยกรรม

ความสาคญั ของโภชนาการ

1. ความสาคญั ของโภชนบาบัดหลงั การผา่ ตัดชว่ ยส่งเสริมการหายของบาดแผลผา่ ตดั การส่งเสรมิ ภาวะ
โภชนาการใหก้ บั ผปู้ ่วยที่มบี าดแผลจากการผา่ ตัดใหไ้ ด้รับสารอาหารในปริมาณที่เพียงพอเหมาะสม จึงมี
ความสาคัญเป็นอยา่ งมาก

2. เนอ่ื งจากรา่ งกายจะนาสารประกอบทางเคมที ี่ได้จากอาหารไปช่วยในการซ่อมแซมเนอ้ื เยือ่ และทาใหเ้ ซลลม์ ี
พลังงานเกิดปฏกิ ิรยิ าตามกระบวนการหายของแผลตามธรรมชาติ ลดการติดเชื้อของแผล ช่วยลดอาการ
อ่อนเพลีย ดงั นน้ั อาหารจึงมีสว่ นสาคัญอย่างมากทีจ่ ะชว่ ยทาใหผ้ ปู้ ว่ ยฟืน้ ตวั และกลบั เข้าสู่ภาวะปกติไดเ้ รว็ ขึน้
นอกจากน้ยี ังมีความสาคัญเกีย่ วกับเรื่องการควบคุมน้าหนักภายหลงั การผ่าตัดเพื่อลดแรงกระทาตอ่ ขอ้ เขา่ ที่
เพ่งิ ผา่ ตัด ทาให้ข้อเขา่ ไมต่ อ้ งแบกรับนา้ หนักมาก ลดอาการปวดและสง่ ผลใหก้ ารรักษาเปน็ ไปไดด้ ว้ ยดี

หลังการผา่ ตัดผปู้ ว่ ยจะอยู่ในหอ้ งพักฟื้นเป็นเวลา 1 - 2 ชัว่ โมง เมอ่ื ผูป้ ่วยฟืน้ ตวั จากยาสลบแล้วจะยา้ ยกลับไป
หอ้ งพักผปู้ ว่ ย โดยในช่วงแรกหลังผา่ ตัดอาจจะมีการให้เลือด ใหน้ า้ เกลือ และยาปฏชิ วี นะหลังผ่าตดั ใหมๆ่
ผู้ปว่ ยอาจจะมีอาการคลืน่ ไสแ้ ละความรสู้ ึกตวั ยังไม่ดี เพราะฉะนนั้ จาเป็นต้องใหน้ า้ เกลือจนสามารถทาน
อาหารไดเ้ องเพียงพอ และพกั รกั ษาตวั ตอ่ ในโรงพยาบาลสว่ นใหญ่ประมาณ 5-7 วนั