จดทะเบียน สมรสกับชาวตุรกีในไทย

การรับรองแปลต้องใช้เอกสารประกอบอะไรบ้าง ?

กรณีเจ้าของเอกสารมารับรองเอกสารด้วยตนเอง

คนไทยใช้สำเนาบัตรประชาชน คนต่างชาติใช้สำเนาหนังสือเดินทางต่างประเทศ

กรณีที่ไม่ใช่เจ้าของเอกสาร

จะต้องมีหนังสือมอบอำนาจจากเจ้าของเอกสาร พร้อมสำเนาบัตรประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ ทั้งนี้ เอกสารที่จะรับรองจะต้องมีต้นฉบับมาแสดงด้วยเสมอ

ทั้งนี้ ต้องนำเอกสารไทยที่จะไปใช้ในประเทศฝรั่งเศสไปรับรองสำเนาถูกต้องที่กองสัญชาติฯ กระทรวงการต่างประเทศก่อน แล้วนำมาติดต่อสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส เพื่อรับรองการแปลเป็นภาษาฝรั่งเศสอีกชั้นหนึ่ง

บุตรที่เกิดนอกราชอาณาจักรไทย จะได้สัญชาติไทยอย่างไร ?

  • กรณีบิดาสัญชาติไทย จดทะเบียนสมรสกับ มารดาสัญชาติไทย บุตรได้สัญชาติไทย
  • กรณีบิดาสัญชาติไทย ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับ มารดาสัญชาติไทย บุตรได้สัญชาติไทย
  • กรณีบิดาสัญชาติไทย จดทะเบียนสมรสกับ มารดาต่างสัญชาติ บุตรได้สัญชาติไทย
  • กรณีบิดาสัญชาติไทย ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับ มารดาต่างสัญชาติ บุตรไม่ได้สัญชาติไทย
  • กรณีบิดาต่างสัญชาติ จดทะเบียนสมรสกับ มารดาสัญชาติไทย บุตรได้สัญชาติไทย
  • กรณีบิดาต่างสัญชาติ ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับ มารดาสัญชาติไทย บุตรได้สัญชาติไทย

ในการออกสูติบัตร เด็กจะใช้นามสกุลของมารดา หรือบิดา ?

  1. หากบิดามารดาจดทะเบียนสมรส : ให้ใช้ชื่อสกุลบิดาได้ แต่หากทั้งบิดาและมารดายินยอม เด็กจะใช้นามสกุลของมารดาแทนก็ได้ (สถานทูตต้องสอบปากคำและบันทึกไว้)
  2. หากบิดามารดาไม่จดทะเบียนฯ : ให้ใช้นามสกุลมารดาได้ หากจะใช้ นามสกุลบิดา มารดาต้องให้ความยินยอมก่อน หากใบเกิดท้องถิ่นของบุตรใช้นามสกุลบิดาให้สอบปากคำมารดาว่ายินยอมให้บุตรใช้นามสกุลบิดาหรือไม่หากยินยอมให้ออกสูติบัตรตามนั้น

การแก้ไขนามสกุลของผู้ที่เป็นบุตรบุญธรรมจะกระทำได้โดยวิธีใด ?

  1. หากผู้เป็นบุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะแล้วสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง แต่หากยังไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้ปกครอง (บิดา-มารดาบุญธรรม) ต้องดำเนินการแทน
  2. มท. ผ่อนผันให้มีการเปลี่ยน ชื่อ/สกุล ได้ด้วยวิธี ดังต่อไปนี้
    2.1) กรอกแบบ ช1.
    2.2) มี นส. มอบอำนาจให้ผู้อื่นในประเทศไทยไปดำเนินการแทนได้ ทั้งนี้ นส. มอบอำนาจนี้ต้องกระทำ ณ สอท./สกญ.
  3. สถานที่ติดต่อหรือเปลี่ยนแปลงนามสกุล คือ ภูมิลำเนาในประเทศไทยของผู้เป็นบุตรบุญธรรม มิใช่กรมประชาสงเคราะห์

คนต่างด้าวสามารถถือกรรมสิทธิ์ที่ดินในประเทศไทยได้เพียงใด ?

คนต่างด้าวไม่สามารถถือกรรมสิทธิ์ที่ดินในประเทศไทยได้ ยกเว้น ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินในฐานะทายาทโดยชอบธรรม และต้องไม่เกินจำนวนที่กฎหมายกำหนดไว้ (คือ เพื่ออยู่อาศัยต้องไม่เกิน 1 ไร่/ครอบครัว เพื่อการพาณิชยกรรมต้องไม่เกิน 1 ไร่ เพื่อการอุตสาหกรรมต้องไม่เกิน 10 ไร่ เพื่อการเกษตรกรรมต้องไม่เกิน 10 ไร่/ครอบครัว เพื่อการศาสนาต้องไม่เกิน 1 ไร่ เพื่อการกุศลและสาธารณะต้องไม่เกิน 5 ไร่ และสุสานของตระกูลต้องไม่เกิน 1/2 ไร่) นอกจากนี้ นับแต่ปี 2542 คนต่างด้าวที่นำเงินมาลงทุนในไทยไม่น้อยกว่า 40 ล้านบาท สามารถมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยได้ไม่เกิน 1 ไร่

ชาวต่างชาติจะขอรับใบอนุญาตขับขี่ระหว่างประเทศของไทย จะต้องใช้หลักฐานอะไรบ้าง ?

ระเบียบกรมการขนส่งทางบกว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ พ.ศ. 2536 กำหนดให้ชาวต่างชาติที่จะขอรับใบอนุญาตขับขี่ระหว่างประเทศของไทย ต้องใช้หลักฐานประกอบคำขอดังต่อไปนี้

  1. ใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคลหนึ่งปี ใบอนุญาตขับรถยนต์สาธารณะ หรือใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ ตามกฎหมายไทย ซึ่งยังไม่สิ้นอายุ (โดยผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตขับรถดังกล่าวได้จะต้องได้รับใบอนุญาตขับรถชนิดชั่วคราวมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี) พร้อมภาพถ่าย
  2. หนังสือเดินทาง (VISA ประเภท NON-IMMIGRANT) พร้อมภาพ 
  3. ใบรับรองถิ่นฐานที่อยู่ในประเทศไทย ออกโดยสถานทูต หรือหน่วยงานราชการ
  4. รูปถ่ายขนาด 4×6 เซนติเมตร (2 นิ้ว) จำนวน 2 รูป (ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน)
  5. หนังอมอบอำนาจ ติดอากรแสตมป์ 10 บาท และบัตรประจำตัวประชาชนของผู้รับมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถมาดำเนินการด้วยตนเอง)

รบกวนถามเรื่องการแต่งงาน - หย่า ในประเทศตุรกีค่ะ

ดิฉันได้จดทะเบียนสมรสกับชายชาวตุรกี เมื่อสองปีก่อน ที่ประเทศตุรกีค่ะ แต่ไม่ได้แจ้งสถานะการแต่งงานมายังกงศุลไทย ขณะนี้ได้แยกกันอยู่แล้วได้ย้ายกลับมาอยู่ไทยได้เกือบปีแล้วค่ะ ร้องขอให้ทางสามีทำเรื่องหย่าให้ แต่ทางสามียังยื้อไว้ ไม่ยอมง่ายๆ อ้างว่าจะต้องฟ้องศาลเพื่อหย่า แล้วร้องขอให้ดิฉันกลับไปขึ้นศาลที่นั่น แต่ดิฉันปฏิเสธเพราะไม่แน่ใจเรื่องความปลอดภัย ดังนั้น ทางสามีจึงบอกว่า จะจ้างทนายที่นั่นให้เพื่อเป็นตัวแทนดิฉันในการหย่า และได้เรียกร้องให้ดิฉันส่งพาสปอร์ต ฉบับตัวจริงไปให้ เพื่อทำเรื่องหย่า แต่ดิฉันก็ยังไม่กล้าส่ง เพราะ ยังไม่มั่นใจ จึงยังไม่ส่ง พอดิฉันถามเรื่องการหย่า ก็มักจะบ่ายเบียงไม่ให้ความกระจ่างใดๆ เลย นี่ก็เกือบจะครบหนึ่งปีแล้ว ดิฉันเลยอยากจะรบกวนถามเพื่อนๆ ว่า ถ้าทางสามีดิฉันยังรั้น ไม่ยอมหย่าให้ จะส่งผลอะไรกับตัวดิฉันหรือไม่ การจดทะเบียนที่เกิดขึ้นที่ตุรกี จะสามารถส่งผล คลอบคลุม มายังประเทศไทยหรือในประเทศอื่นๆ หรือไม่ แล้วถ้าในอนาคตดิฉันต้องการแต่งงานใหม่ จะสามารถทำได้หรือไม่ คะ รบกวนด้วยค่ะ

 บริการรับจดทะเบียนสมรสกับชาวต่างชาติ ในประเทศไทย และ บริการดำเนินการจัดเตรียมเอกสารเพื่อไปจดทะเบียนสมรมในต่างประเทศ  ทางบริษัทให้บริการจดทะเบียนสมรมกับชาวต่างชาติมากกว่า 37 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแต่ละประเทศนั้นจะมีขั้นตอน เอกสาร เงื่อนไข ที่แตกต่างกัน สำหรับท่านที่ต้องการจดทะเบียนสมรสกับชาวต่างชาติในไทย ทางบริษัทให้บริการทุกขั้นตอนดังนี้

  • บริการแจ้งรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินการ 
  • บริการจองคิวนัดหมายสถานทูต 
  • บริการพาลูกค้าไปขอใบโสดที่สถานทูต   
  • บริการจัดเตรียมเอกสารทั้งฝ่ายชายและหญิง 
  • บริการแปลใบโสด 
  • ประทับตรารับรองจากกระทรวงการต่างประเทศ
  • บริการ ล่าม และ พยาน 
  • บริการนัดหมายกับสำนักงานเขต
  • บริการพาไปจดทะเบียนสมรม ณ สำนักงานเขต
  • บริการแปลทะเบียนสมรม คร3 และ ใบบันทึกสมรส  คร2

ทุกขั้นตอน สะดวก รวดเร็ว ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์มากว่า 10 ปี  ท่านจะได้ทะเบียนสมรส และ ใบบันทึกสมรม ภายใน 4 - 5 วันทำการ (สำหรับบางประเทศ) ท่านจะได้รับเอกสารครบถ้วนพร้อมบริการแปลเอกสารใบทะเบียนสมรส และ ใบบันทึกสมรส เพิ่ม ฟรี 

 ประเทศที่ทางบริษัทรับบริการจดทะเบียนสมรสมีดังต่อไปนี้ 

 ประเทศอเมริกา

 ประเทศอังกฤษ

 ประเทศออสเตรเลีย

 ประเทศนิวซีแลนด์

 ประเทศแคนาดา

 ประเทศไอร์แลนด์

 ประเทศไอซ์แลนด์

 ประเทศเยอรมัน

 ประเทศสวิสเซอร์แลนด์

 ประเทศฝรั่งเศษ 

 ประเทศอิตาลี

 ประเทศนอร์เวย์

 ประเทศสวีเดน

 ประเทศเดนมาร์ก

 ประเทศเนเธอร์แลนด์

 ประเทศเบลเยี่ยม

 ประเทศสิงคโปร์

 ประเทศไต้หวัน

 ประเทศจีนและฮ่องกง

 ประเทศอินโดนีเซีย

 ประเทศมาเลเซีย 

 ประเทศลาว

 ประเทศอินเดีย

 ประเทศตุรกี

 ประเทศอิหร่าน

 ประเทศบังกลาเทศ

 ประเทศปากีสถาน

 ประเทศเนปาล

 ประเทศภูฎาน

 ประเทศเกาหลี

 ประเทศญี่ปุ่น

 ประเทศรัสเซีย

 ประเทศออสเตรีย

 ประเทศโรมาเนีย

 ประเทศลัตเวีย

 ประเทศโปแลนด์

 ประเทศฟินแลนด์ 

  หมายเหตุ

  บริษัทไม่รับจดทะเบียนสมรสทุกสัญชาติที่ไม่มีสถานทูตตั้งอยู่ในประเทศไทย และ ไม่สามารถไปขอใบโสดมาจากต่างประเทศได้   


 เอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนสมรสมีดังนี้

    ชาวต่างชาติ (ตัวจริงเท่านั้น)
           • หนังสือเดินทาง
           • ใบรับรองความโสด  และ รับรองหน้าพาสปอตร์                                                                                 • ใบหย่าตัวจริง  ( ถ้ามี ) 


    ชาวไทย (ตัวจริงเท่านั้น)
           • บัตรประชาชน
           • ทะเบียนบ้าน
           • ใบหย่า (ถ้ามี)


 หมายเหตุ : เอกสารที่แจ้งข้างต้นอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับสัญชาติของชาวต่างชาติ 

ขั้นตอนการจดทะเบียนมีดังนี้       

ขั้นตอนที่ 1.   พาลูกค้าไปยื่นขอใบรับรองความเป็นโสดจากสถานทูตของชาวต่างชาติ ประจำประเทศไทย 

ขั้นตอนที่ 2.   นำใบโสดไปแปลเป็นภาษาไทยและนำไปรับรองตราประทับจากกระทรวงการต่างประเทศ 

ขั้นตอนที่ 3.   พาลูกค้าไปจดทะเบียนสมรส ณ ที่ว่าการอำเภอ พร้อมล่าม และ พยาน 

ขั้นตอนที่ 4.   เมื่อจดทะเบียนสมรสเรียบร้อยแล้ว บริษัทจะนำใบทะเบียนสมสร คร2 และคร3 ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อให้ลูกค้าสะดวกต่อการนำเอกสารไปรับการประทับตรารับรองจากกระทรวงการต่างประเทศอีกครั้ง 

ขั้นตอนที่ 5.  นำทะเบียนสมรส คร2 คร3 ที่ได้รับการประทับตรารับรองจากกระทรวงการต่างประเทศส่งคืนลูกค้า เพื่อให้คุณลูกค้านำไปยื่นขอวีซ่า หรือ ทำนิติกรรมต่างๆต่อไป (มีค่าบริการเพิ่ม)

   ( ทางบริษัทจะมีเจ้าหน้าคอยดูเลตลอดระยะเวลาการดำเนินการจนเสร็จสิ้นกระบวนการ )  

  ระยะเวลาในการดำเนินการรับลงตราประทับจากกงศุลไทย หรือ กระทรวงการต่างประเทศ     

        เนื่องจากกงศุลได้เปลี่ยนกฏในการประทับตรารับรองตราประทับแบบด่วน ทางกรมการกงศุล งดรับรองเอกสารใบโสดของชาวต่างชาติทุกสัญชาติแบบด่วน 1 วันทำการ ระยะเวลาในการรับรองเอกสารใบโสด ใช้ระยะเวลา 3 วันทำการ  หลังจากได้ใบโสดที่ประทับตรารับรองจากกระทรวงการต่างประเทศแล้วถึงจะไปจดทะเบียนสมรสที่อำเภอได้ต่อไป

  ค่าบริการในการจดทะเบียนสมรส

เนื่องจากกฎหมายของแต่ละประเทศมีระยะการรออนุมัติยื่นขอใบโสดนั้นไม่เท่ากัน และขั้นตอนที่แตกต่างกัน หากลูกค้าท่านได้ต้องการทราบรายละเอียดสอบถามได้ที่เบอร์ 02-6515449 หรือ line ID : @visathai (มีแอดข้างหน้า   

     การจดทะเบียนสมรสที่ถูกต้องเป็นส่วนสำคัญและมีส่วนช่วยเหลือท่านได้มากในการยื่นขอวีซ่าหลังจากที่ท่านได้จดทะเบียนสมรสแล้ว ท่านสามารถยื่นใบทะเบียนสมรสประกอบคำร้องขอวีซ่า เพื่อติดตามสามีเพื่ออยู่อาศัยกับคู่สมรสในต่างประเทศได้เลย

                      กรุณาติดต่อสอบถามที่เบอร์ 02-6515449 หรือ line ID : @visathai  (มี @ข้างหน้าด้วยนะคะ)