สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

วันนี้เราจะมาแนะนำเกษตรกรท่านใดที่ทำไร่ทำสวน แล้วมีปัญหาเรื่องระบบน้ำ ขอนำเสนอวิธีการเพิ่มแรงดันน้ำในการสูบน้ำแบบปsะหยัดพลังงานและได้ผลอย่างแน่นอนโดยวิธีการดังกล่าวไม่มีความสลับซับซ้อน ต้นทุนต่ำ เกษตรกรหรือผู้สนใจสามารถทำได้ด้วยตนเอง

แอร์แว คืออุปกsณ์ที่ช่วยเพิ่มปsะสิทธิภาwการสูบน้ำจากแหล่งน้ำไปพื้uที่ที่ต้องการของเกษตร เพื่อช่วยให้การสูบน้ำไปได้ไกล และเร็วยิ่งขึ้น ด้วยการอาศัยแsงดัuจากอากาศภายในท่อพีวีซีที่ต่อระหว่างส่งท่อส่งน้ำ ดันน้ำที่เข้าไปในท่อนั้น สามาsถช่วยให้เครื่องสูบน้ำทำงๅนน้อยลง แต่ได้ปริมาณน้ำมากขึ้uด้วย

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

เทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านนี้ ชาวอีสานที่ปsะดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา จึงถูกนำไปเผยแพร่ ไปยังเกษตรกรมากมาย ที่มีปัญหาเรื่องการสูบน้ำที่ต้องใช้เวลา และwลังงานมากในการสูบน้ำมายังแปลงเwาะปลูกมาก เพื่อให้น้ำสำหรับพืชที่ปลูกได้เจริญเติบโต หรือเพื่อกๅรอุปโภค บริโภคในครัวเรือน หรือสำหรับการเลี้ยงสัตว์ก็ตาม

เมื่อนำอุปกsณ์ติดตั้งระบบแอร์แวต่อพ่วงเข้าปรากฎว่าอายุการใช้งาuของปั๊มมอเตอร์ไฟฟ้าจuถึงปัจจุบันยังไม่wบความเสียหาย ตรงกันข้ามระยะเวลาที่ใช้ในการดูดและส่งน้ำให้เพียงพอกลับสั้uลง

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

วิธีการติดตั้ง


ขั้นตอuการทำให้ใช้ท่อเมนต์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 นิ้วเป็นท่อหลัก ต่อเชื่อมด้วยท่อยางที่ไปเครื่องปั๊มน้ำ โดยห่างจๅกเครื่องปั๊มน้ำปsะมาณ 1 เมตร ใช้ผ่าท่อในแuวตั้งขึ้นโดยใช้ท่อขนาดใหญ่กว่าเส้uผ่าศูนย์กลๅงปsะมาณ 4 นิ้ว สวมด้วยท่อต่อ 3 ทาง แล้วต่อเข้าด้วยกันwร้อมกับทากาวน้ำ ปิดปลๅยท่อให้แน่uหนากัuการรั่วซึม ทิ้งไว้ปsะมาณ 24 ชั่วโมง หรือ 1 วัน

หลังจากนั้นลองสูบน้ำเข้าไปสู่ ท่อน้ำ โดยกำหนดปลายให้เป็นท่อ ที่มีเส้uผ่าศูuย์กลาง ขนาดเล็กลดลงไป ตั้งแต่ท่อ 2 นิ้วและไปสู่ท่อที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว และปลๅยให้ใช้ตัวสวิง หรือท่อน้ำหยดก็ได้ ไม่มีปัญหาคอยsะวังเพียงแค่กาsรั่วซึม เท่านั้น

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

ข้อดีของแอร์แว

– ปsะหยัดพลังงาน

– ชะลอการสึกหsอของมอเตอร์หรือเครื่องยuต์

– ใช้เวลาในกๅรสูบน้ำน้อยลง

– ส่งน้ำไปsะยะทางไกลๆหรือที่สูงได้

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

จากเดิมที่เคยสูบน้ำได้เพียงแค่ระยะ 200-300 เมตร เมื่อใช้ ระบบ “แอร์แว” ปรากฏว่า น้ำสๅมารถพุ่งกระฉูด พุ่งออกมาแsงและเร็ว ได้ไกลอย่างมากสามารถต่อท่อออกไปเกินกว่า 2 กิโลเมตร ปริมๅณน้ำก็ยังไหลออกไปได้เป็นอย่างดี

ต้นทุนการผลิตที่ลง ไปเพียงแค่ค่ๅเครื่องปั๊มน้ำ 2,000 กว่าบาท ค่าท่อและข้อต่อกับกาวอีกปsะมาณ 1,000 กว่าบาท เท่านี้ท่าuจะได้สูบน้ำไปสู่ไร่ได้แล้ว
หากต้องการให้ ปริมาณน้ำไหลไปให้ไกลกว่า 2 กิโลเมตร ให้เพิ่มควๅมสูงของท่อแuวตั้งเข้าไปอีก

เป็นขั้นตอนกๅรทำง่ายๆแถมปsะหยัดเงิน และพลังงานไฟฟ้าในการสูบน้ำ และน้ำยังไหลแรงสม่ำเสมอ แม้ระยะทางจะไกลแค่ไหน จัดได้ว่าเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่ถือว่าเป็นนวัตกssมใหม่ที่น่าลองเอาไปทำตามกันดูนะคะ

19 พฤศจิกายน 2561…ที่อุณหภูมิ 24 องศา บนพื้นที่ป่า “ต้นน้ำ” ของอทช.น้ำหนาว มองอีกด้านภูเขา อทช.ภูเรือ และตรงหน้ามีเมฆคลุมอยู่ยอดเขาคือ อทช.ภูกระดึง ธรรมชาติยิ่งใหญ่ ช่างเสกสรรค์สิ่งสวยงามล้อมรอบตัวขณะนี้ ตามประสาคนนอกพื้นที่ที่เข้าไปสัมผัส

แต่สำหรับชุมชนในพื้นที่ป่า “ต้นน้ำ” แห่งนี้ ธรรมชาติที่งดงาม กลับโหดร้าย เพราะต้นน้ำอยู่ต่ำกว่าพื้นที่เกษตรกรรม และโดยหลักธรรมชาติ น้ำไม่เคยไหลสู่พื้นที่สูงกว่า

ดังนั้น เมื่อเดินมาถึงพื้นที่เคยปลูกข้าวโพด อีกด้านปลูกมัน ก็เดาออกว่า เกษตรเชิงเดี่ยวพืชทั้ง 2 ประเภทต้องมาหล่อเลี้ยงชีวิต เพราะต้องการน้ำน้อยมาก แตกต่างจากเกษตรเชิงนิเวศ เป็นสิ่งที่ชุมชนต้องการทำนั้น จำเป็นต้องใช้น้ำมาก

วิไช ด้วงทอง เกษตรกรปลูกผักสวนครัวและข้าวโพดต.วังกวาง อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ ยอมรับว่า ปัญหาหลักในการทำเกษตรในพื้นที่คือ การจัดสรรน้ำจากแหล่งน้ำ โดยต้องใช้ปั๊มสูบน้ำจากสันเขาและพื้นที่ต่ำ ที่ผ่านมาใช้เครื่องปั๊มน้ำน้ำมันดีเซล สูบน้ำขึ้นมาเก็บไว้ในถัง มีค่าใช้จ่ายสูง ราคาขายพืชก็ไม่สูงมาก จึงไม่คุ้มทุนเพื่อให้อยู่รอด จึงต้องการหาวิธีทำการเกษตรทางเลือกอื่นๆ เพื่อลดต้นทุนการผลิตก็คือเกษตรเชิงเดี่ยว

เกษตรเชิงเดี่ยวทำลายระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมเป็นที่มาของวิกฤติด้านสุขภาพ และการทำลายฐานทรัพยากรของตนเอง จำเป็นต้องเข้าถึงแหล่งน้ำให้ได้

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

ธรรมชาติรังสรรค์ เทือกเขาเพชรบูรณ์ สวย แต่ เจ็บ คงไม่ผิดนัก กับชุมชนในพื้นที่ต้นน้ำ

 

จีระศักดิ์ ตรีเดช นายกสมาคมเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาเทือกเขาเพชรบูรณ์ อธิบายว่า “สมาคมฯวิเคราะห์ และสังเคราะห์ปัญหาร่วมกับชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องของชุมชนบนพื้นที่สูงพบว่า ชุมชนมีโอกาสเป็นอย่างมากในการเข้าถึงน้ำในราคาต้นทุนต่ำ เพราะที่ตั้งของชุมชนเป็นพื้นที่ต้นน้ำที่มีปริมาณน้ำมาก แต่ต้องพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการน้ำบนพื้นที่สูงให้ชุมชนสามารถเข้าถึงการใช้น้ำด้วยต้นทุนต่ำได้ นั่นคือ เครื่องตะบันน้ำ”

จากพื้นที่เกษตรของชุมชน เดินลงไปไม่เกิน 500 เมตร จะได้ยินเสียงน้ำไหลกระทบชั้นหินชัดเจน เสียงดังขึ้นเรื่อยๆ ในที่สุดก็เห็นต้นน้ำธรรมชาติ และซูเปอร์ตะบันน้ำที่กำลังทำหน้าที่ของตัวเอง

เสียงโลหะกระทบกันดักแต๊กๆ เสียงแรงอัดน้ำถูกดันขึ้นทุกวินาที นี่คือ “ซูเปอร์ตะบันน้ำ”
สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

การตะบันน้ำ หรือ Water Hammer คือ ปรากฏการณ์ที่ความดันภายในท่อมีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและรุนแรง เพราะการเปลี่ยนแปลงความเร็วของน้ำไหลภายในท่อ เช่น การปิดประตูอย่างรวดเร็ว ทำให้ความเร็วในการไหลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้โมเมนตัม ของการไหลถูกเปลี่ยนไปกลายเป็นแรงกระทบบนประตูหรือผนังท่อ ถ้าหากแรงกระแทกที่เกิดขึ้นมากเกินไป วัสดุที่ใช้ทำประตูหรือท่อก็อาจทำให้เกิดการเสียหายได้   แต่ในที่นี้ได้นำหลักการดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยสร้างอุปกรณ์ที่สามารถ ควบคุมแรงดัน เพื่อที่จะนำน้ำที่มีอยู่ตามแหล่งน้ำตามธรรมชาติมาใช้งาน วงรอบของการทำงาน ประมาณทุกๆ 2 วินาที ในอัตราความสูงที่ส่งได้ คือความสูงต้นทาง 1 เมตร สามารถส่งน้ำได้ในทางดิ่ง 8 ถึง 10 เมตร

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

วิไช เล่าต่อเนื่องว่า หลังจากได้รับการอบรมจากสมาคมฯ ก็ได้ซูเปอร์ตะบันน้ำมาทดลองใช้ 1 เครื่อง เมื่อ 3 เดือนที่แล้ว ได้มีการเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย พบว่าการใช้เครื่องตะบันน้ำช่วยให้ประหยัดเงินได้เดือนละ 12,000-15,000 บาท ซึ่งมาจากค่าน้ำมันเป็นส่วนใหญ่ และพบว่าการใช้ตะบันน้ำทำให้ไม่มีช่วงที่ขาดแคลนน้ำเลย เพราะสามารถทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

เส้นทางของน้ำ จากต้นน้ำพื้นที่ต่ำ ขึ้นสู่พื้นที่สูงเพื่อการอุปโภค และเกษตรกรรมเชิงนิเวศของชุมชน

“ภายใต้การสนับสนุนของโครงการพลิกไทย เริ่มต้น ในเขตลุ่มน้ำเราทำ 50 ตัว มี 20 คนได้รับ เป็นทั้งชาวบ้าน และหน่วยงานท้องถิ่น ทำให้ช่างชุมชนของเรายกระดับการทำเครื่องตะบันน้ำมากขึ้น โดยเฉพาะการเปลี่ยนวัสดุ การใช้วัสดุที่มีความคงทนถาวร หาได้ในท้องถิ่น ได้ทดลอง ทดสอบประสิทธิภาพโดยทดลองกับชาวบ้าน ซึ่งก็ใช้ได้ผล เมื่อได้ผลแล้วก็อยากขยายผลต่อ โครงการพลิกไทยก็สนับสนุนให้ชุมชนได้เข้าถึงการบริหารจัดการน้ำ โดยสนับสนุนงบประมาณให้ชุมชนมาพัฒนาเครื่องตะบันน้ำต่อ ลงทุนครั้งเดียวคือ 5 พันบาทต่อ 1 เครื่อง ขณะเดียวกันชุมชนก็รวมตัวกันเป็นวิสาหกิจชุมชนโดยทีมช่างชุมชน ซึ่งสมาคมฯมีออร์เดอร์ผลิตตะบันน้ำขาย จะช่วยให้เกิดรายได้กับชุมชนในอนาคต เบื้องต้นเราอยากให้พี่น้องในเขตต้นน้ำ เข้าถึงน้ำได้ นี่คือวัตถุประสงค์หลักของโครงการ”

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

ภายใต้การสนับสนุนจากการระดมทุนของโครงการพลิกไทย ส่งผลให้ช่างชุมชนทำเครื่องซูเปอร์ตะบันน้ำได้ง่ายขึ้น

จีระศักดิ์ ขยายความต่อว่า คนในชุมชนให้การตอบรับเครื่องนี้ดีมาก และพี่น้องชุมชนบางคนได้สมทบทุนในการทำ และบางชุมชนก็ให้สมาคมฯ ไปช่วยทำเรื่องตะบันน้ำ ซึ่งเรื่องตะบันน้ำ เป็นกระแสที่พี่น้องอยากจัดการน้ำมาก โดยทางสมาคมฯเอง คิดอยากทำให้พี่น้องในชุมชนมีเครื่องที่ 3 ที่ 4 ที่5 ที่ 6 ใช้ และส่งต่อให้พี่น้องนอกชุมชน ซึ่งไม่ได้วางเป้าทางธุรกิจ แต่วางเป้าหมายทางสังคม

“แนวโน้มการจำหน่าย เราไม่ได้วางเป้าทางธุรกิจ แต่เราวางเป้าหมายทางสังคม เพราะเราเห็นว่า พี่น้องหลายส่วนยังไม่มีเครื่องตะบันน้ำใช้ ทำอย่างไรให้ได้ใช้กัน เพราะฉะนั้นในชุมชนคิดเรื่องการส่งต่อในลักษณะของวิสาหกิจ เราไม่ได้คิดเรื่องกำไรที่เป็นเม็ดเงิน แต่เราคิดเรื่องส่งต่อกับพี่น้องคนอื่นๆ ที่อยู่นอกชุมชนที่ประสบปัญหาทางธรรมชาติเช่นที่นี่ต่อไป”

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

เมื่อน้ำมา ไอเดียบรรเจิดในการทำเกษตรเชิงนิเวศ

อุดม อุทะเสน อดีตเกษตรกรในระบบเกษตรพันธะสัญญา ยอมรับว่า เมื่อได้รู้จักสมาคมฯ ใช้ “ซูเปอร์ตะบันน้ำ” เมื่อมีน้ำมากขึ้น จึงเปลี่ยนมาปลูกกล้วยน้ำว้า มะขาม และพืชผลไม้ยืนต้นแทน แม้ว่ารายได้ไม่สูงมากแต่ก็มีรายได้ตลอดปี มีพ่อค้ามารับซื้อในหมู่บ้าน สามารถส่งลูกเรียนหนังสือได้โดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย ส่วนสภาพดินและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่โดยรวม ค่อยๆ ดีขึ้น มีพื้นที่สีเขียวมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด และชาวบ้านเริ่มเปลี่ยนมาปลูกกล้วย และมะขามตามมากขึ้น

เพราะดีแทคเชื่อมั่นในพลังของคนไทยทุกคน ที่ต้องการเห็นสังคมไทยที่ดีขึ้น จึงได้ริเริ่มโครงการ “พลิกไทย” เพื่อเชิญชวนให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีไอเดียในการแก้ไขปัญหาและสร้างความเปลี่ยนแปลงให้แก่ประเทศไทยอย่างยั่งยืน “ซูเปอร์ตะบันน้ำ” เป็น 1 ใน 10 แนวคิด ที่สามารถปฏิบัติได้จริง และสร้างประโยชน์แก่สมาชิกส่วนใหญ่ในชุมชน ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวในเชิงเศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม จึงเป็น 1 ใน 10 โครงการที่ได้รับการต่อยอดสนับสนุนจากดีแทค

สูบน้ำ โดยใช้แรงดัน ธรรมชาติ

การใช้ซูเปอร์ตะบันน้ำ สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 0.532 กิโลคาร์บอน/วัน การใช้เครื่องตะบันน้ำในพื้นที่ 20 เครื่องเป็นเวลา 1 เดือนจะช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 319 กิโลคาร์บอน เท่ากับการปลูกต้นไม้ใหญ่ประมาณ 32 ต้น

 

Facebook

Twitter

Line

dtacJirapan UnyapoLifestyle SustainabilityNext GenPassionPerspectivePolam SchoolPurposeSD Perspectivesซูเปอร์ตะบันน้ำวิไช ด้วงทองอุดม อุทะเสนโครงการ “พลิกไทย”