โปรแกรม คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม Excel

การคิดเบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม ในการยื่น ภ.ง.ด. และ ภ.พ. 30

November 29, 2020 บริการด้านบัญชี

การคิดเบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม ในการยื่น ภ.ง.ด. และ ภ.พ. 30

ภ.ง.ด.

>กรณียื่นปกติ (เกินกำหนดเวลา)

เงินเพิ่มคิดจาก => ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)

***ค่าปรับแบบ

=>- ยื่นภายใน 7 วันหลังจากครบกำหนดยื่น (วันที่ 7)

ภ.ง.ด. 1, 3, 53 แบบละ 100 บาท / ภ.ง.ด. 50,51 = 1,000 บาท

– เกิน 7 วันขึ้นไป ภ.ง.ด. 1, 3, 53 แบบละ 200 บาท

ภ.ง.ด. 50, 51 = 2,000 บาท

>กรณียื่นเพิ่มเติม

เงินเพิ่ม=>กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 50, 53

ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)

ภ.ง.ด. 51 คิดจากยอดภาษีที่ต้องชำระ x 20%

 

ภ.พ. 30

การคิดเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

>กรณียื่นปกติ (เกินกำหนดเวลา)

*** เงินเพิ่มคิดจาก ยอดยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)

 

*** เบี้ยปรับ=> ยอดภาษีที่ต้องชำระ x (อัตรา %) x 2 เท่า

***ค่าปรับแบบ=>ยื่นแบบภายใน 7 วันหลังจากครบกำหนดยื่น (วันที่ 15) 300 บาท ถ้าเกิน 7 วันขึ้นไป 500 บาท

>กรณียื่นเพิ่มเติม (ยื่นปกติครั้งแรกภายในกำหนดเวลา)

เงินเพิ่ม => ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)

เบี้ยปรับ => ภาษีขาย x (อัตรา %)

1-15 วัน = 2%

16-30 วัน = 5%

31-60 วัน = 10%

61 วันขึ้นไป = 20%

  • Facebook
  • Google+

ให้นับตั้งแต่วันที่ถึง กำหนดชำระเดือนก่อน (หรือวันสุดท้ายของการยื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม) ซึ่งอาจจะไม่ใช่วันที่ 15 ก็ได้ กรณีที่วันที่ 15 ตรงกับวันเสาร์-อาทิตย์ วันสุดท้ายของการยื่นแบบก็จะเป็นวันที่ 17 ตัวอย่าง เช่น ถ้าวันสุดท้ายของการยื่นแบบตรงกับวันที่ 15 ของเดือนก่อนและเป็นเดือนที่มี 31 วัน วันครบกำหนดชำระภาษีถ้าชำระภายใน 30 วัน จะตรงกับวันที่ 14 ของเดือนถัดไป และถ้าวันที่ 14 ตรงกับวันเสาร์-อาทิตย์ ก็ต้องชำระก่อนคือชำระในวันที่ 13 ถ้าไปชำระหลังวันที่ 14 จำนวนวันก็จะเกิน 30 วัน ซึ่งจะทำให้ค่าเบี้ยปรับขยับจาก 2% ไปเป็น 5% แทน
อีกตัวอย่างหนึ่ง ถ้าวันสุดท้ายของการยื่นแบบตรงกับวันที่ 17 (บังเอิญเดือนก่อนวันที่ 15 ตรงกับวันเสาร์ ทำให้ต้องเลื่อนมาจ่ายวันจันทร์แทน) และเป็นเดือนที่มี 30 วัน ถ้าชำระภายใน 30 วัน จะต้องชำระภายในวันที่ 17 ของเดือนถัดไป

กรณีที่กิจการจ่ายค่าบริการไปให้กับนิติบุคคลต่างประเทศ และมีการใช้บริการนั้นประเทศไทย ยกตัวอย่างเช่นจ่ายค่าโฆษณาให้กับ Facebook, Google เป็นต้น เราจะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มแทนผู้ให้บริการต่างประเทศด้วยแบบ ภ.พ.36 ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

นอกจากนี้ถ้าเงินได้ที่เราจ่ายให้กับนิติบุคคลต่างประเทศเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(2) ถึง 40(6) กิจการมีหน้าทที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายเพื่อนำส่งกรมสรรพากรด้วยแบบ ภ.ง.ด.54 โดยการหักภาษี ณ ที่จ่ายจะแบ่งเป็น 2 กรณีดังนี้

เงินได้พึงประเมิณ 40(2) – 40(6) หักภาษี ณ ที่จ่าย 15%

เงินได้พึงประเมิณ 40(4) – เงินปันผล หักภาษี ณ ที่จ่าย 10%(ก่อนหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่าลืมเช็คอนุสัญญาภาษีซ้อนด้วยครับ เพื่อได้ลดอัตรา % ที่หักลง หรืออาจจะไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายก็ได้นะครับ)

หลังจากหักภาษี ณ ที่จ่าย เราก็มีหน้าที่นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายด้วยแบบ ภ.ง.ด.54 ไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

โปรแกรม คำนวณ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม Excel


          ในการเขียนบทความเรื่องนี้ซึ่งเป็นประสบการณ์มาจากการทำงานของผู้เขียนเองและเห็นว่าบางบริษัทหรือบางท่านอาจลืมสูตรในการคำนวณเงินเพิ่ม/เบี้ยปรับในการยื่น ภ.ง.ด. และ ภ.พ. 30 ผู้เขียนเลยอยากเขียนให้เห็นภาพเมื่อมีการบันทึกบัญชีทางด้านภาษีผิดพลาดจะมีวิธีแก้ไข ดังนี้
เบี้ยปรับ คือ เงินที่ต้องชดเชยความเสียหายให้แก่ภาครัฐ ส่วนเงินเพิ่ม คือ เงินที่เร่งรัดให้ผู้เสียภาษีจ่ายภาษี ให้ถูกต้องโดยเร็ว โดยเบี้ยปรับจะถูกแบ่งเป็น 2 กรณีคือ เคยยื่นแบบเพิ่มเติมแล้วกับยังไม่ได้ยื่นแบบมาก่อน และในกรณีที่ไม่เคยยื่นแบบมาก่อนจะโดนค่าปรับเพิ่มไปอีก ส่วนเงินเพิ่มจะคิดในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือน ของภาษีที่ต้องชำระทั้งสิ้น
การคำนวณเงินเพิ่มกรณียื่น ภ.ง.ด.
กรณียื่นเพิ่มเติม
เงินเพิ่มคำนวณจาก ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน) กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 50, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 51 คำนวณจากยอดภาษีที่ต้องชำระ x 20%
กรณียื่นปกติ (เกินกำหนดเวลา)
เงินเพิ่มคำนวณจาก             
ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)
ค่าปรับแบบ   
- ยื่นภายใน 7 วันหลังจากครบกำหนดยื่น (วันที่ 7) แบบละ 100 บาท กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 50 หรือ 51 = 1,000 บาท
- ถ้าเกิน 7 วันขึ้นไป แบบละ 200 บาท กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 50, 51 = 2,000 บาท
การคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่มในการยื่น ภ.พ. 30
กรณียื่นเพิ่มเติม (ยื่นปกติครั้งแรกภายในกำหนดเวลา)
เงินเพิ่มคำนวณจาก
ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน) กรณี ภ.ง.ด. 1, 3, 50, 53 ถ้าเป็น ภ.ง.ด. 51 คำนวณจากยอดภาษีที่ต้องชำระ x 20%
ค่าปรับแบบ
ภาษีขาย x (อัตรา %)
กรณียื่นปกติ (เกินกำหนดเวลา) (ยื่นเพิ่มเติมแต่ยื่นปกติครั้งแรกเกินกำหนดเวลา)
เงินเพิ่มคำนวณจาก
ยอดที่ต้องชำระ x 1.5% x ระยะเวลา (เดือน)
ค่าปรับแบบ
ยอดที่ต้องชำระ x (อัตรา %) x 2 เท่า
ค่าปรับแบบ
ยื่นแบบภายใน 7 วันหลังจากครบกำหนดยื่น (วันที่ 15) 300 บาท ถ้าเกิน 7 วันขึ้นไป 500 บาท

กรณียื่นเพิ่มเติม (ยื่นปกติครั้งแรกภายในกำหนดเวลา)
1-15 วัน = 2%
16-30 วัน = 5%
31-60 วัน = 10%
61 วันขึ้นไป = 20%

           สรุป ในการยื่น ภ.ง.ด. และ ภ.พ. 30 คือ สำหรับนักบัญชีมือใหม่หรือรุ่นเก๋าอาจมีการบันทึกบัญชีผิดพลาดเกิดขึ้นได้ แต่ทุกอย่างมีทางออกเสมอผู้เขียนจึงนำบทความเรื่องนี้มาเขียนเพื่อเป็นประโยชน์และเพื่อเป็นการทบทวนความจำของท่านเมื่อมีการทำเอกสารผิดพลาดทางด้านภาษี และสุดท้ายนี้ผู้เขียนมีความหวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อนักบัญชีหรือผู้สนใจอ่านบทความนี้

อดิศร เกษหอม
นักบัญชีฝ่ายบัญชีและการเงิน
บริษัท แอล เอส เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด
นักศึกษาหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม