Ppt พระพุทธ ศาสนา ม.3 อ จ ท

ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา

หรือศาสนาที่ตนนับถือ

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาประวัติความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ ฮินดู พุทธ คริสต์และอิสลาม ความเป็นมาของศาสดา

นิกายสำคัญ หลกคำสอน พิธีกรรม และอิทธิพลที่มีต่อการดำเนินชีวิต ความสอดคล้องของหลักคำสอนทั้ง ๔

ศาสนา เพื่อให้มีความเข้าใจหลักคำสอนของแต่ละศาสนา ตลอดจนเห็นความสำคัญของศาสนาที่มีต่อการ

ดำเนินชีวิต และเกิดความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนิกชน นำหลักคำสอนของศาสนามาใช้ให้เ้กิดประโยชน์กับ

ตนเองและส่วนรวม

โดยใช้กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ วิเคราะห์ ตัดสินใจเลือกดำเนินการ ปฏิบัติตน กำหนด

เป้าหมายบทบาทการดำเนินชีวิต ตระหนักในคุณค่าและความสำคัญ เห็นคุณค่า เชื่อมั่นและมุ่งมั่นพัฒนาชีวิต

ชักชวนส่งเสริมสนับสนุน เสนอแนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อให้เป็นบุคคลที่มีความรักเทิดทูนในสถาบันศาสนา

ตระหนักถึงความสำคัญ เห็นคุณค่า มีความภาคภูมิใจ ชื่นชมการทำความดี มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม

ประเพณีในศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
การวัดและประเมินผลใช้วิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย เน้นการประเมินตามสภาพจริง

ทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและลักษณะอันพึงประสงค์

ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

๑. วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือและอธิบายการ

เผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก (ส ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๔)

๒. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์

อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก ตลอดจนวิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิก

ชนในศาสนาอื่น ๆ (ส ๑.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๑๐)

๓. อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ื่
ตามที่กำหนด เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพอเตรียม พร้อมสำหรับ

การทำงานและการมีครอบครัว (ส ๑.๑ ม.๓/๖, ม.๓/๗)

๔. อธิบายประวัติวันสำคัญทางศาสนา ปฏิบัติตนตามศาสนาพิธีได้ถูกต้อง ให้เหมาะสมต่อบุคคลต่าง

ๆ ตามหลักศาสนาตามทกำหนดและนำเสนอแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ (ส ๑.๒ ม.๓/๒, ม.
ี่
๓/๓, ม.๓/๕, ม.๓/๗)

สาระการเรียนรู้

ที่ สาระการเรียนรู้ จำนวนคาบ

๑ ศาสนาเบื้องต้น : ความหมายและคำจัดกัดความความของศาสนา ๑

๒ ศาสนาเบื้องต้น : ปัจจัยที่ทำให้เกิดศาสนาและองค์ประกอบของศาสนา ๑

๓ ศาสนาเบื้องต้น : การแบ่งประเภทของศาสนาและความสำคัญของศาสนา ๑

๔ การเปลี่ยนแปลงของศาสนาในโลกยุคปัจจุบัน ๑

๕ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู : ประวัติความเป็นมาศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ๑

๖ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู : ความเชื่อที่ปรากฏในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ๑

๗ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู : หลักคำสอนในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ๑

๘ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู : พิธีกรรมและนิกายในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ๑

๙ ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู : ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดูในปัจจุบัน ๑

๑๐ ทบทวนเนื้อหาศาสนาเบื้องต้นและศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ๑

๑๑ ศาสนาคริสต์ : ต้นกำเนิดของศาสนาคริสต์ ๑

๑๒ ศาสนาคริสต์ : ประวัติของพระเยซู การกำเนิดของคริสต์ศาสนา ๑

๑๓ ศาสนาคริสต์ : หลักตรีเอกานุภาพและหลักคำสอนของศาสนาคริสต์ ๑

ที่ สาระการเรียนรู้ จำนวนคาบ

๑๔ ศาสนาคริสต์ : พิธีกรรมและนิกายในศาสนาคริสต์ ๑

๑๕ ศาสนาอิสลาม : ประวัติความเป็นมาศาสนาอิสลาม ๑

๑๖ ศาสนาอิสลาม : หลักปฏิบัติ ๕ ศรัทธา ๖ และหลักคำสอนอื่น ๆ ๑

๑๗ ศาสนาอิสลาม : พิธีกรรมและนิกายในศาสนาอิสลาม ๑

๑๘ ศาสนาอิสลาม : เกร็ดความรู้เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม ๑

๑๙ ประวัติความเป็นมาของศาสนาอื่น ๆ ๑

๒๐ ทบทวนเนื้อหาศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม ๑

รวม ๒๐

การจัดการเรียนรู้

๑. การบรรยาย/อภิปราย

๒. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

๓. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้

สื่อ/อุปกรณ์การเรียนการสอน

๑. ใบงาน

๒. รูปภาพ

๓. แบบฝึกหัด

๔. แหล่งเรียนรู้

๕. Power Point

การวัดและการประเมินผล

๑. การวัดผล

อัตราส่วนของคะแนนระหว่างภาคและคะแนนปลายภาค ๘๐ : ๒๐

น้ำหนักคะแนน (%)
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ก่อนกลางภาค กลางภาค หลังกลางภาค ปลายภาค รวม

๑ ๑๕ ๑๐ - - ๒๕

๒ ๑๕ ๑๐ - - ๒๕

น้ำหนักคะแนน (%)
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ก่อนกลางภาค กลางภาค หลังกลางภาค ปลายภาค รวม

๓ - - ๑๕ ๑๐ ๒๕

๔ - - ๑๕ ๑๐ ๒๕

รวมคะแนน ๓๐ ๒๐ ๓๐ ๒๐ ๑๐๐

๒. การประเมินผล

ระดับผลการเรียน คำอธิบาย ค่าน้ำหนักคะแนนที่ได้ (%)

๐ ผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ ์ ๐ - ๔๙

๑ ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ ๕๐ - ๕๔

๑.๕ ผลการเรียนพอใช้ ๕๕ – ๕๙

๒ ผลการเรียนน่าพอใจ ๖๐ – ๖๔

๒.๕ ผลการเรียนค่อนข้างดี ๖๕ – ๖๙

๓ ผลการเรียนดี ๗๐ – ๗๔

๓.๕ ผลการเรียนดีมาก ๗๕ – ๗๙

๔ ผลการเรียนดีเยี่ยม ๘๐ - ๑๐๐

ภาระงาน

หมายถึง งานที่ให้นักเรียนทำ เช่น ใบงาน ใบกิจกรรม กิจกรรมกลุ่ม แบบทดสอบ

บูรณาการกับ
ที่ ภาระงานที่มอบหมาย กำหนดส่ง คะแนน หมายเหตุ
กลุ่มสาระการเรียนรู้

ก่อนสอบ ภาษาไทย
๑ ใบงาน เรื่อง ศาสนาเบื้องต้น ๑๐
กลางภาค ภาษาต่างประเทศ

ก่อนสอบ
๒ กิจกรรม ศาสนากับชีวิต ๑๐ ภาษาไทย
กลางภาค


ใบงาน เรื่อง ศาสนาพราหมณ – ก่อนสอบ
๓ ๑๐ ภาษาไทย
ฮินดู กลางภาค

ก่อนสอบ
๔ ใบงาน เรื่อง ศาสนาคริสต์ ๑๐ ภาษาไทย
ปลายภาค

บูรณาการกับ
ที่ ภาระงานที่มอบหมาย กำหนดส่ง คะแนน หมายเหตุ
กลุ่มสาระการเรียนรู้

ก่อนสอบ
๕ ใบงาน เรื่อง ศาสนาอิสลาม ๑๐ ภาษาไทย
ปลายภาค

Google forms แบบทดสอบ ก่อนสอบ
๖ ๑๐ ภาษาไทย
ทบทวนความรู้ ปลายภาค

รวม ๖๐

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

รายวิชา ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม 5 รหัสวิชา ส23102
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เรื่อง การปฐมนิเทศนักเรียน เวลา 1 คาบเรียน

ครูผู้สอน นางสาวรัชนัน สุยโพธิ์น้อย

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

2. ตัวชี้วัด


ส 1.1 ม.3/1, ม.3/4 วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพทธรูปปางต่าง ๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือและ
อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก

ส 1.1 ม.3/2, ม.3/10 วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วย

สร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก ตลอดจนวิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของ
ศาสนิกชนในศาสนาอื่น ๆ

ส 1.1 ม.3/6, ม.3/4 อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน

นับถือตามที่กำหนด เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียม พร้อมสำหรับ
การทำงานและการมีครอบครัว

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เพื่อทำความรู้จักและสร้างความคุ้นเคยระหว่างครูกับนักเรียน

2. เพื่อทำความเข้าใจกับนักเรียน เรื่อง คะแนน เวลาเรียน ระเบียบปฏิบัติ และกติกาในการเรียนรายวิชา
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม5

3. เพื่อให้นักเรียนได้วัดและประเมินความรู้พื้นฐานของตนเองจากการได้ทำแบบทดสอบก่อนเรียน

4. เพื่อให้นักเรียนมีเวลาในการเตรียมตัวล่วงหน้า และพร้อมที่จะเรียนเนื้อหาในชั่วโมงต่อไป

4. สาระสำคัญ

การปฐมนิเทศ เป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับนักเรียนในเรื่องจุดประสงค์ของหลักสูตร แนวทางการ

จัดการเรียนการสอน และเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล รวมทั้งรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน
รายวิชา ส 23102 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 5 โดยจะทำให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนการสอน ซึ่งจะส่งผลให้

การจัดการเรียนการสอนของรายวิชานี้ประสบผลสำเร็จตรงตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

5. สาระการเรียนรู้

5.1 ความรู้ (K)

1. มีความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ กิจกรรมและงานที่ได้รับมอบหมาย
2. มีความรู้ ความเข้าใจหลักเกณฑ์ การวัดผลและประเมินผล

3. มีความรู้ ความเข้าใจแนวปฏิบัติตนในการเรียนรายวิชา ส 23102 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 5
4. มีความรู้ ความเข้าใจแหล่งการเรียนรู้รายวิชา ส 23102 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 5

5.2 ทักษะที่สำคัญ (P)
1. ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา

2. ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ
3. ทักษะการเรียนรู้
5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูทักทายและแนะนำตนเองด้วย Power point

2. ครูบอกแนวทางการปฏิบัติตนในการเรียนรายวิชา ส 23102 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม5
3. ครูบอกจุดประสงค์และขอบข่ายของเนื้อหาในการเรียนรายวิชา ส 23102 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม5

4. ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียน และให้นักเรียนลงมือทำแบบทดสอบก่อนเรียน

7. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้

1. สื่อ Power point แนะนำตัวครู

2. แบบทดสอบก่อนเรียน

8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

วิธีวัดการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การประเมิน

ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน 80% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑการ

ประเมิน
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง 80% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑการ

ประสงค์ ประเมิน

ลงชื่อ........................................................................

(นางสาวรัชนัน สุยโพธิ์น้อย)
ผู้สอน

บันทึกหลังสอน

รายวิชา ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 5 หน่วยการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ที่
ส่วนที่ 1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมิน
ที่ รายการประเมิน
5 4 3 2 1

ความเหมาะสมของจุดประสงค์ (Objective) (หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรม
1 การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ สามารถทำให้นักเรียนมีพัฒนาการด้าน KPA ตาม
ตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ที่กำหนดได้มากน้อยเพียงใด)
ความเหมาะสมของเนื้อหา (หมายถึง สามารถจัดการเรียนการสอนเนื้อหาตามท ี่
2
วางแผนไว้ได้มากน้อยเพียงใด)
ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอน (หมายถึง สามารถจัดการเรียน
3
การสอนได้ตามกิจกรรมที่วางแผนไว้ได้มากน้อยเพียงใด)

สื่อ แหล่งเรียนรู้ อุปกรณ์ช่วยสอนอื่น ๆ ที่วางแผนไว้เหมาะสมเพียงใด (หมายถึง
4 คุณภาพของสื่อ แหล่งเรียนรู้ อุปกรณ์ ฯลฯ สามารถสนับสนุนให้ผู้เรียนมี
พัฒนาการด้าน KPA ได้มากน้อยเพียงใด)
ความเหมาะสมของการวัดประเมินผล (หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือและวิธี

5 กระบวนการประเมินวัดผล และสามารถนำไปใช้วัดละประเมินผลครบ
กระบวนการตามที่วางแผนไว้มากน้อยเพียงใด)
6 บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน เอื้อให้เกิดการเรียนรู้ในระดับใด

7 เวลาที่กำหนดไว้ตามแผนมีความเหมาะสมเพียงใด

ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ความหมาย

ส่วนที่ 2 ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนการสอน

ส่วนที่ 3 แนวทางการแก้ปัญหา

ลงชื่อ

(นางสาวรัชนัน สุยโพธิ์น้อย)

ครูประจำวิชา/ผู้บันทึก

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
รายวิชา ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม 5 รหัสวิชา ส23102
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

เรื่อง ความหมายและคำจำกัดความของศาสนา เวลา 1 คาบเรียน
ครูผู้สอน นางสาวรัชนัน สุยโพธิ์น้อย

1. มาตรฐานการเรียนรู้

ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

2. ตัวชวัด
ี้
ส 1.1 ม.3/2 วิเคราะห์ความสำคัญของพระพทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารย

ธรรมและความสงบสุขแก่โลก
ส 4.1 ม.3/3 อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ กับปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยง และ การพัฒนาอย่างยั่งยืน

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถอธิบายความหมายของศาสนาได้ (K)
2. สามารถวิเคราะห์จุดเริ่มต้นของการกำเนิดของศาสนาได้ (P)
3. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการนับถือศาสนา ที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวัน (A)

4. สาระสำคัญ
ศาสนา เป็นสิ่งหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตในปัจจุบัน โดยคนไทยส่วนใหญ่เมื่อเกิดมาทุกคน
ต้องมีศาสนาตั้งแต่กำเนิด ซึ่งจะเป็นศาสนาเดียวกันกับบิดามารดา อีกทั้งศาสนายังเป็นส่วนหนึ่งในการกำเนิดวิถีชีวิต