แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย อายุ 19-59 ปี

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย อายุ 19-59 ปี

cstd Download PDF

  • Publications : 613
  • Followers : 23

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

View Text Version Category : Fitness

  • Follow

  • 0

  • Embed

  • Share

  • Upload

แบบทดสอบและเกณฑมาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ของประชาชน อายุ 19 - 59 ป

สาํ นักวิทยาศาสตรการกฬี า
กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ งเที่ยวและกฬี า

พ.ศ. 2562

แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

สำ� นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า
กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเทีย่ วและกฬี า

พ.ศ. 2562

คำ� นิยม

การจดั ทำ� เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายเยาวชนและประชาชนไทย ตง้ั แต่
อายุ 7 - 69 ปี ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
ไดจ้ ดั ทำ� ขน้ึ วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สรา้ งแบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายทเ่ี หมาะสม
ต่อบรบิ ทในปัจจุบนั ของประเทศไทย โดยคำ� นงึ ถึงการน�ำไปใชง้ านไดส้ ะดวก ไม่ใช้เคร่ืองมอื และ
อปุ กรณท์ ม่ี รี าคาแพง รวมทง้ั ประหยดั เวลาในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดยมคี ณะทป่ี รกึ ษา
และคณะทำ� งาน ไดส้ รา้ งและพฒั นาแบบทดสอบ ใหม้ คี า่ ความเทย่ี งตรงและความเชอ่ื มน่ั ทมี่ คี ณุ ภาพ
เป็นท่ียอมรบั ตามหลักวชิ าการ อีกท้งั ยงั เป็นการปรับปรุงเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ส�ำหรับเยาวชนและประชาชนไทย ซ่ึงส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวง
การทอ่ งเทย่ี วและกีฬา ไดจ้ ดั ทำ� ไว้ต้งั แต่ปพี .ศ. 2555
ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ าร ครู อาจารย์ และนกั เรยี นจากสถานศกึ ษาตา่ งๆ รวมถงึ ผบู้ รหิ ารจากหนว่ ยงาน
ท่ีเก่ียวข้อง ประธานชมรมผู้สูงอายุจากจังหวัดที่ก�ำหนดทั่วประเทศ ที่ให้ความอนุเคราะห์
และชว่ ยเหลอื ในการเกบ็ ข้อมลู เปน็ อย่างด ี ทำ� ให้การจดั ท�ำเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
สำ� หรบั เยาวชนและประชาชนไทยในครง้ั นสี้ �ำเรจ็ ลลุ ว่ ง ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ ติ ร
สมาหโิ ต ผทู้ รงคณุ วฒุ พิ เิ ศษคณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า รวมทง้ั คณะทำ� งานจากคณะวทิ ยาศาสตร์
การกฬี า คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า
มหาวิทยาลัยมหาสารคามภาควิชาพลศึกษาและนันทนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สถาบันการพลศึกษา กรมอนามัยและทุกหน่วยงาน
ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทไี่ ดท้ มุ่ เท เสยี สละ และตง้ั ใจ เพอ่ื ทจ่ี ะใหก้ ารดำ� เนนิ งานครง้ั นเ้ี ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และมคี ณุ ภาพ ทำ� ใหไ้ ดแ้ บบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายทเ่ี หมาะสม อนั จะเกดิ
ประโยชนต์ ่อการพฒั นาสมรรถภาพทางกายเยาวชนไทยต่อไป

(นายปัญญา หาญลำ� ยวง)
อธบิ ดกี รมพลศึกษา

ค�ำน�ำ

กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีพันธกิจหลักในการพัฒนา
สุขภาพและสมรรถภาพทางกายของประชาชนทุกกลุ่มอายุ โดยส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา
ซ่ึงเป็นหน่วยงานในสังกัดกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้ด�ำเนินการจัดท�ำ
แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย ตั้งแต่อายุ 7 - 69 ปี
เพอ่ื เผยแพรใ่ หแ้ กส่ ถานศกึ ษา หนว่ ยงานตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและสมรรถภาพ
ทางกาย รวมถงึ ประชาชนทส่ี นใจเพอ่ื จะไดน้ ำ� แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ในแต่ละกลุ่มอายุที่สร้างและพัฒนาข้ึนอย่างเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ไปใช้เพ่ือเป็น
ประโยชน์ในการประเมินสมรรถภาพทางกายด้วยการทดสอบและประเมินผลได้เป็นไปตาม
เกณฑม์ าตรฐานเหมาะสมกบั แตล่ ะกล่มุ วยั เพอ่ื จะไดท้ ำ� ใหท้ ราบข้อมลู พื้นฐาน ด้านสมรรถภาพ
ทางกาย และสามารถนำ� ข้อมลู ดังกล่าวไปวางแผนในการสง่ เสริมพัฒนาสขุ ภาพและสมรรถภาพ
ทางกาย ซงึ่ เปน็ แนวทางหนง่ึ ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน สง่ ผลใหม้ สี ขุ ภาพสมบรู ณ์
แขง็ แรงปราศจากโรคภยั ต่อไป

คณะท�ำงาน

สารบัญ

หนา้
คำ� นยิ ม ก
คำ� นำ� ข
สารบัญ ค
สมรรถภาพทางกาย 1
• ความหมายของสมรรถภาพทางกาย 1
• สมรรถภาพทางกายที่สัมพันธก์ ับสุขภาพ 2
• สมรรถภาพทางกายที่สมั พันธ์กับทักษะ 4
รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5
• ชั่งน้�ำหนัก (Weight) 8
• วดั สว่ นสูง (Height) 9
• ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI) 10
• นั่งงอตวั ไปขา้ งหน้า (Sit and Reach) 12
• แรงบบี มอื (Hand Grip Strength) 14
• ยนื -นง่ั บนเกา้ อ้ี 60 วนิ าที (60 Seconds Chair Stand) 16
• ยนื ยกเขา่ ขึ้นลง 3 นาท ี (3 Minutes Step Up and Down) 18
แบบบนั ทึกผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำ� หรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 20
ขอ้ ปฏิบัตใิ นการทดสอบสมรรถภาพทางกายสำ� หรับประชาชน อายุ 19 - 59 ป ี 21
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรบั ประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 23
เอกสารอ้างองิ 29
รายนามคณะทำ� งาน 32

สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness)

กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เล็งเห็นความส�ำคัญของการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายและการประเมนิ สมรรถภาพทางกายของประชาชนไทย จงึ ไดจ้ ดั ทำ�
แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายส�ำหรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี
เพอ่ื เผยแพรใ่ หก้ บั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ เนอ่ื งจากวยั ทำ� งานเปน็ วยั ทอี่ ยใู่ นชว่ ง
การประกอบอาชพี เลยี้ งดตู นเอง และครอบครวั การเลน่ กฬี าและการออกกำ� ลงั กายเปน็ การสง่ เสรมิ
ระบบทำ� งานของร่างกาย รวมถงึ การส่งเสรมิ สขุ ภาพจติ ท่ีดี ดงั น้ัน การเรมิ่ ตน้ จากการประเมนิ
สมรรถภาพทางกายดว้ ยแบบทดสอบทเ่ี ปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานและเหมาะสมตามวยั จะทำ� ให้
ทราบขอ้ มลู พนื้ ฐานดา้ นสมรรถภาพทางกาย และยงั ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการสง่ เสรมิ ดา้ นสขุ ภาพและ
ภาวะโภชนาการใหเ้ หมาะสมตามวัยได้

ความหมายของสมรรถภาพทางกาย

สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) หมายถึง สภาวะของร่างกายที่อยู่
ในสภาพทด่ี เี พอื่ ชว่ ยใหบ้ คุ คลสามารถทำ� งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพลดอตั ราเสยี่ งของปญั หาสขุ ภาพ
ท่ีเป็นสาเหตุจากการออกก�ำลังกายสร้างความสมบูรณ์และแข็งแรงของร่างกายในการเข้าร่วม
กจิ กรรมการออกกำ� ลงั กายไดอ้ ยา่ งหลากหลาย บคุ คลทมี่ สี มรรถภาพทางกายดจี ะสามารถปฏบิ ตั ิ
กิจต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันการออกก�ำลังกาย การเล่นกีฬา และการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ
ไดอ้ ยา่ งดี สมรรถภาพทางกาย แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื สมรรถภาพทางกายทสี่ มั พนั ธก์ บั สขุ ภาพ
(health-related physical fitness) และสมรรถภาพทางกายทส่ี มั พนั ธก์ บั ทกั ษะ (skill - related
physical fitness) (สพุ ติ ร, 2549)

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 1

สมรรถภาพทางกายทส่ี ัมพนั ธก์ บั สุขภาพ
(health-related physical fitness)

สมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ หมายถึง สมรรถภาพทางกายท่ีเกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาสุขภาพและเพ่ิมความสามารถในการท�ำงานของร่างกาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการ
ลดปจั จยั เสยี่ งในการเกดิ โรคตา่ งๆ ได้ เชน่ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรคความดนั โลหติ สงู โรคปวดหลงั
ตลอดจนปญั หาตา่ งๆ ที่เกดิ จากการขาดการออกกำ� ลงั กาย (สุพติ ร, 2549) ซง่ึ ประกอบด้วย
1. ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ (muscle strength) เปน็ ความสามารถของกลา้ มเนอ้ื
หรอื กลมุ่ กลา้ มเนอื้ ทอี่ อกแรงดว้ ยความพยายามในครงั้ หนง่ึ ๆ เพอื่ ตา้ นกบั แรงตา้ นทาน ความแขง็ แรง
ของกล้ามเน้ือจะท�ำให้เกิดความตึงตัว เพ่ือใช้แรงในการดึงหรือยกของต่างๆ ความแข็งแรงของ
กลา้ มเนอ้ื จะชว่ ยทำ� ใหร้ า่ งกายทรงตวั เปน็ รปู รา่ งขนึ้ มาได้ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ความแขง็ แรงเพอ่ื รกั ษา
ทรวดทรง ซ่ึงจะเป็นความสามารถของกล้ามเน้ือท่ีช่วยให้ร่างกายทรงตัวต้านกับแรงโน้มถ่วง
ของโลกให้อยู่ได้โดยไม่ล้ม เปน็ ความแข็งแรงของกลา้ มเนอ้ื ทใี่ ช้ในการเคลื่อนไหวขนั้ พื้นฐาน เชน่
การวงิ่ การกระโดด การเขย่ง การกระโจน การกระโดดขาเดยี ว การกระโดดสลบั เทา้ เป็นตน้
ความแขง็ แรงอีกชนิดหน่งึ ของกลา้ มเนื้อเรยี กวา่ ความแข็งแรง เพอื่ เคล่อื นไหวในมมุ ตา่ งๆ ได้แก่
การเคลอ่ื นไหวแขนและขาในมุมต่างๆ เพ่ือเล่นเกมกีฬา การออกกำ� ลงั กาย หรอื การเคลอ่ื นไหว
ในชวี ติ ประจำ� วนั เปน็ ตน้ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ในการเกรง็ เปน็ ความสามารถของรา่ งกาย
หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายในการต้านทานแรงท่ีมากระท�ำจากภายนอกได้โดยไม่ล้ม
หรือสญู เสยี การทรงตวั ไป
2. ความอดทนของกลา้ มเนอื้ (muscle endurance) เปน็ ความสามารถของกลา้ มเนอ้ื
ท่ีจะรักษาระดับการใช้แรงปานกลางได้เป็นเวลานาน โดยการออกแรงท่ีท�ำให้วัตถุเคลื่อนท่ี
ไดต้ ดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานานๆ หรอื หลายครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ความอดทนของกลา้ มเนอื้ สามารถเพมิ่ มากขน้ึ ได้
โดยการเพม่ิ จำ� นวนครงั้ ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ซงึ่ ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั เชน่ อายุ เพศ ระดบั สมรรถภาพ
ทางกาย และชนิดของการออกกำ� ลงั กาย

2 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

3. ความออ่ นตวั (flexibility) เปน็ ความสามารถของขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ ของรา่ งกายทเี่ คลอ่ื นไหว
ได้เต็มช่วงของการเคลื่อนไหว การพัฒนาด้านความอ่อนตัวท�ำได้โดยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
และเอน็ หรอื การใชแ้ รงตา้ นทานในกลา้ มเนอื้ และเอน็ ใหต้ อ้ งทำ� งานมากขนึ้ การยดื เหยยี ดของกลา้ มเนอื้
ทำ� ไดท้ ง้ั แบบอยกู่ บั ทห่ี รอื แบบทมี่ กี ารเคลอ่ื นไหว เพอ่ื ใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ งู สดุ ควรใชก้ ารยดื เหยยี ด
ของกล้ามเน้ือในลักษณะอยู่กับที่ น่ันคือ อวัยวะส่วนแขนและขาหรือล�ำตัวจะต้องเหยียด
จนกวา่ กลา้ มเนือ้ จะร้สู ึกตึงและอยู่ในทา่ เหยยี ดกลา้ มเน้อื ในลักษณะน้ีประมาณ 10 - 15 วินาที
4. ความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวยี นเลือด (cardiovascular endurance)
เป็นความสามารถของหัวใจและหลอดเลือดท่ีจะล�ำเลียงออกซิเจนและสารอาหารต่างๆ ไปยัง
กล้ามเน้ือท่ีใช้ในการออกแรงในขณะท�ำงาน ท�ำให้ร่างกายท�ำงานได้เป็นระยะเวลานาน และ
ขณะเดยี วกนั กน็ ำ� สารทไ่ี มต่ อ้ งการ ซงึ่ เกดิ ขน้ึ ภายหลงั การทำ� งานของกลา้ มเนอื้ ออกจากกลา้ มเนอ้ื
ทใ่ี ชง้ าน ในการพฒั นาหรอื เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพดา้ นนจ้ี ะตอ้ งใหม้ กี ารเคลอื่ นไหวรา่ งกายโดยใช้
ระยะเวลาตดิ ตอ่ กันประมาณ 10 - 15 นาที ขนึ้ ไป
5. องคป์ ระกอบของรา่ งกาย (body composition) หมายถงึ สว่ นตา่ งๆ ทปี่ ระกอบขน้ึ
เป็นนำ้� หนักตัวของร่างกาย โดยแบง่ ออกเป็น 2 สว่ น คอื สว่ นทเี่ ป็นไขมนั (fat mass) และส่วนที่
ปราศจากไขมนั (fat-free mass) เช่น กระดกู กลา้ มเน้อื และแรธ่ าตตุ ่างๆ ในรา่ งกาย โดยทวั่ ไป
องค์ประกอบของร่างกายจะเป็นดัชนีประมาณค่าที่ท�ำให้ทราบถึงร้อยละของน้�ำหนักท่ีเป็นส่วน
ของไขมันที่มีอยู่ในร่างกาย ซึ่งอาจจะหาค�ำตอบที่เป็นสัดส่วนกันได้ระหว่างไขมันในร่างกาย
กบั นำ้� หนักของส่วนอ่นื ๆ ท่ีเปน็ องคป์ ระกอบ เช่น ส่วนของกระดกู กลา้ มเนื้อ และอวัยวะต่างๆ
การรักษาองค์ประกอบของร่างกายให้อยู่ในระดับท่ีเหมาะสมจะช่วยลดโอกาสเส่ียงต่อการเกิด
โรคอ้วน ซึ่งโรคอ้วนจะเป็นจุดเร่ิมต้นของการเป็นโรคที่เส่ียงต่ออันตรายต่อไปอีกมาก เช่น
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หวั ใจวาย และโรคเบาหวาน เปน็ ต้น

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 3

สมรรถภาพทางกายทสี่ มั พนั ธ์กับทกั ษะ
(skill-related physical fitness)

สมรรถภาพทางกายทสี่ มั พนั ธก์ บั ทกั ษะ (skill-related physical fitness) เปน็ สมรรถภาพ
ทางกาย ท่ีเก่ียวข้องในการสนับสนุนให้เกิดระดับความสามารถและทักษะในการแสดงออก
ของการเคล่ือนไหว และการเล่นกีฬามีประสิทธิภาพมากขึ้น ซ่ึงนอกจากจะประกอบด้วย
สมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ ได้แก่ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ความอดทนของ
กล้ามเนื้อ ความอ่อนตัว ความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด และองค์ประกอบ
ของรา่ งกายแลว้ ยงั ประกอบดว้ ยสมรรถภาพทางกายในด้านตอ่ ไปนี้ คอื (สุพติ ร, 2549)
1. ความเรว็ (speed) หมายถงึ ความสามารถในการเคลอื่ นไหวไปสเู่ ปา้ หมายทต่ี อ้ งการ
โดยใช้ระยะเวลาส้นั ท่ีสดุ ซ่ึงกลา้ มเนอ้ื จะต้องออกแรงและหดตัวดว้ ยความเรว็ สูงสดุ
2. ก�ำลังของกล้ามเนื้อ (muscle power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อ
ในการทำ� งานโดยการออกแรงสงู สดุ ในชว่ งทสี่ นั้ ทสี่ ดุ ซง่ึ จะตอ้ งมคี วามแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ และ
ความเรว็ เป็นองคป์ ระกอบหลกั
3. ความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว (agility) หมายถงึ ความสามารถในการเปลยี่ นทศิ ทางและ
ตำ� แหนง่ ของรา่ งกายในขณะทก่ี ำ� ลงั เคลอ่ื นไหว โดยใชค้ วามเรว็ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ จดั เปน็ สมรรถภาพ
ทางกายทจี่ ำ� เปน็ ในการนำ� ไปสกู่ ารเคลอ่ื นไหวขนั้ พน้ื ฐาน สำ� หรบั ทกั ษะในการเลน่ กฬี าประเภทตา่ งๆ
ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ
4. การทรงตัว (balance) หมายถงึ ความสามารถในการควบคุมและรกั ษาตำ� แหนง่
ทา่ ทาง ของรา่ งกายใหอ้ ยใู่ นลกั ษณะตามทตี่ อ้ งการได้ ทงั้ ขณะอยกู่ บั ทหี่ รอื ในขณะทมี่ กี ารเคลอื่ นไหว
5. เวลาปฏกิ ริ ยิ า (reaction time) หมายถงึ ระยะเวลาทเ่ี รว็ ทส่ี ดุ ทรี่ า่ งกายมกี ารตอบสนอง
หลังจากที่ได้รับการกระตุ้น ซึ่งเป็นความสามารถของระบบประสาทเม่ือรับรู้การถูกกระตุ้น
แลว้ สามารถสงั่ การใหอ้ วยั วะทท่ี ำ� หนา้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การเคลอ่ื นไหวใหม้ กี ารตอบสนองอยา่ งรวดเรว็
6. การท�ำงานที่ประสานกัน (coordination) หมายถึง ความสัมพันธ์ในการท�ำงาน
ของระบบประสาทและระบบกลา้ มเนอื้ ในการเคลอ่ื นไหว ทำ� ใหส้ ว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายสามารถทจ่ี ะ
ปฏบิ ัติกจิ กรรมทางกลไกท่ีสลับซับซอ้ นในเวลาเดยี วกันอยา่ งราบรืน่ และแม่นย�ำ

4 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

รายการที่ องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย สำ� หรับนักเรยี น รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ส�ำหรับประชาชน
อายุ 7 - 18 ปี สำ� หรับประชาชน อายุ 60 - 69 ปี
อายุ 19 - 59 ปี

ดชั นีมวลกาย ดัชนมี วลกาย ดชั นีมวลกาย
องค์ประกอบของรา่ งกาย (Body mass index: BMI) (Body mass index: BMI) (Body mass index: BMI)
1 (Body Composition) - ชง่ั นำ้� หนกั (Weight) - ชง่ั น�ำ้ หนัก (Weight) - ช่งั นำ�้ หนกั (Weight)

- วัดสว่ นสูง (Height) - วัดสว่ นสูง (Height) - วดั ส่วนสงู (Height)

2 ความออ่ นตวั น่ังงอตัวไปขา้ งหน้า นง่ั งอตวั ไปข้างหน้า แตะมอื ด้านหลงั
(Flexibility) (Sit and Reach) (Sit and Reach) (Back Scratch)

ดันพ้ืนประยุกต์ 30 วินาที แรงบีบมอื -
(30 Seconds Modified Push (Hand Grip Strength) ยืน-น่ัง บนเก้าอ้ี 30 วนิ าที
3 ความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนื้อ Ups) ยืน-น่ัง บนเก้าอ้ี 60 วนิ าที
(Muscle Strength and Endurance ) ลุก-นง่ั 60 วินาที

(60 Seconds Sit Ups) (60 Seconds Chair Stand) (30 Seconds Chair Stand)

ความอดทนของระบบหวั ใจ ยืนยกเขา่ ขน้ึ ลง 3 นาที ยนื ยกเข่าขึ้นลง 3 นาที ยนื ยกเขา่ ขน้ึ ลง 2 นาที
4 และไหลเวียนเลือด (3 Minutes Step Up and Down) (3 Minutes Step Up and (2 Minutes Step Up and Down)
Down)
(Cardiovascular Endurance )

5 5 การทรงตัว - - เดนิ เรว็ ออ้ มหลกั
(Balance ) (Agility Course)

องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายและรายการทดสอบ
สำ� หรบั ประชาชนอายุ 19 - 59 ปี

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
สำ� หรบั ประชาชน อายุ 19 - 59 ปี
องค์ประกอบของร่างกาย
(Body Composition) 1. ชง่ั น้�ำหนกั (Weight)
2. วัดส่วนสงู (Height)
ความออ่ นตวั นำ� คา่ ท่ีได้มาค�ำนวณหาคา่ ดัชนีมวลกาย
(Flexibility) (Body Mass Index : BMI)
ความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนือ้ 3. น่ังงอตวั ไปขา้ งหน้า
(Muscle Strength and Endurance)
ความอดทนของระบบหัวใจ (Sit and Reach)
และไหลเวียนเลอื ด 4. แรงบบี มอื
(Cardiovascular Endurance)
(Hand Grip Strength)
5. ยนื -นั่ง บนเก้าอ้ี 30 วนิ าที
(30 Seconds Chair Stand)
6. ยืนยกเข่าขึน้ ลง 3 นาที
(3 Minutes Step Up and Down)

6 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

รายการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ส�ำหรบั ประชาชนอายุ 19 - 59 ปี

รายการ รายการทดสอบ องคป์ ระกอบทตี่ ้องการวดั
ท่ี ชง่ั น�ำ้ หนัก
1 (Weight) เพื่อน�ำไปประเมินสัดสว่ นของร่างกาย
ในส่วนของดัชนีมวลกาย
2 วดั ส่วนสงู (Body Mass Index: BMI)
(Height)
เพื่อนำ� ไปประเมนิ สดั สว่ นของร่างกาย
3 นั่งงอตวั ไปขา้ งหน้า ในสว่ นของดชั นมี วลกาย
(Sit and Reach) (Body Mass Index: BMI)

4 แรงบบี มอื เพอ่ื ตรวจประเมนิ ความออ่ นตวั
(Hand Grip Strength) ของขอ้ ไหล่ หลงั ขอ้ สะโพก
และกล้ามเนอื้ ตน้ ขาด้านหลงั
5 ยนื -นั่ง บนเกา้ อี้ 60 วนิ าที เพอ่ื ตรวจประเมนิ ความแขง็ แรง
(60 Seconds Chair Stand) ของกล้ามเนื้อมือ และแขนทอ่ นลา่ ง
เพ่อื ตรวจประเมนิ ความแขง็ แรงและ
6 ยืนยกเขา่ ขนึ้ ลง 3 นาที ความอดทนของกล้ามเน้ือขา
(3 Minutes Step Up and Down) เพอ่ื ตรวจประเมินความอดทน

ของระบบหวั ใจ
และไหลเวียนเลอื ด

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 7

ชง่ั น้ำ� หนัก (Weight)

วัตถุประสงค์

เพื่อประเมินน�้ำหนักของร่างกาย ส�ำหรับน�ำไปค�ำนวณสัดส่วนร่างกายในส่วนของดัชนี
มวลกาย (Body Mass Index: BMI)

อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการทดสอบ

เคร่อื งช่ังน�้ำหนกั

วิธีการปฏบิ ัติ

1. ใหผ้ รู้ บั การทดสอบถอดรองเท้า และสวมเสื้อผา้ ทีเ่ บาทสี่ ดุ และนำ� สิ่งของตา่ งๆ ที่อาจจะ
ทำ� ให้น้�ำหนกั เพ่ิมขึ้นออกจากกระเป๋าเส้อื และกางเกง
2. ท�ำการช่งั นำ้� หนกั ของผูร้ บั การทดสอบ

ระเบียบการทดสอบ

ไม่ท�ำการชง่ั น้�ำหนักหลงั จากรบั ประทานอาหารอมิ่ ใหม่ๆ

การบันทกึ ผลการทดสอบ

บันทึกหน่วยของนำ�้ หนักเป็นกิโลกรมั

8 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

วดั สว่ นสูง (Height)

วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือประเมินส่วนสูงของร่างกาย ส�ำหรับน�ำไปค�ำนวณสัดส่วนร่างกายในส่วนของดัชนี
มวลกาย (Body Mass Index: BMI)

อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการทดสอบ

เครื่องวัดส่วนสูง

วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ

1. ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเทา้
2. ทำ� การวดั สว่ นสูงของผ้รู บั การทดสอบ ในท่ายนื ตรง

การบนั ทึกผลการทดสอบ

บันทึกหน่วยของสว่ นสูงเปน็ เมตร

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 9

ดชั นีมวลกาย (Body Mass Index : BMI)

วัตถปุ ระสงค์

เพ่ือประเมินองค์ประกอบของร่างกายในด้านความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย
ระหวา่ งนำ้� หนักกับสว่ นสูง

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชื่อมัน่ 0.96
คา่ ความเทยี่ งตรง 0.89

อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการทดสอบ

1. เครอื่ งชงั่ นำ�้ หนกั
2. เครอ่ื งวัดส่วนสงู
3. เครื่องคดิ เลข

10 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

วิธกี ารปฏบิ ัติ

1. ใหท้ ำ� การชง่ั นำ้� หนกั ของผรู้ บั การทดสอบเปน็ กโิ ลกรมั และวดั สว่ นสงู ของผรู้ บั การทดสอบ
เปน็ เมตร

2. น�ำน�้ำหนักและส่วนสูงมาค�ำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย โดยน�ำค่าน้�ำหนักท่ีช่ังได้เป็น
กโิ ลกรมั หารด้วยสว่ นสูงที่วดั ไดเ้ ปน็ เมตรยกก�ำลังสอง (เมตร2)

ระเบียบการทดสอบ

ในการช่ังน�ำ้ หนกั และวัดสว่ นสูง ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า และสวมชุดท่เี บาทีส่ ดุ

การบันทกึ ผลการทดสอบ

ค่าดัชนีมวลกายมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ตารางเมตร ได้มาจากการช่ังน�ำหนักตัวและวัด
สว่ นสงู ของผรู้ บั การทดสอบ แลว้ นำ� คา่ นำ้� หนกั ตวั ทบ่ี นั ทกึ คา่ เปน็ กโิ ลกรมั แสะสว่ นสงู ทบ่ี นั ทกึ คา่
เปน็ เมตรมาแปลงเป็นค่าดชั นีมวลกาย จากสมการต่อไปน้ี

ดชั นมี วลกาย (BMI) = น�ำ้ หนักตัว (กิโลกรมั )
ส่วนสงู (เมตร)2

ตัวอยา่ ง เชน่ ผรู้ บั การทดสอบมีนำ้� หนักตวั 50 กโิ ลกรมั มีส่วนสูง 1.50 เมตร
คา่ ดชั นีมวลกาย (BMI) = 50/1.502
= 50/2.25
= 22.22 กิโลกรมั /ตารางเมตร

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 11

น่งั งอตวั ไปข้างหน้า (Sit and Reach)

วัตถปุ ระสงค์การทดสอบ

เพ่อื ประเมินความอ่อนตัวของขอ้ ไหล่ หลงั ขอ้ สะโพก และกล้ามเนือ้ ต้นขาด้านหลงั

คณุ ภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชอื่ มน่ั 0.95
ค่าความเทย่ี งตรง 1.00

อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการทดสอบ

กล่องเครอ่ื งมอื วัดความอ่อนตวั ขนาดสงู 30 เซนตเิ มตร
มสี เกลของระยะทางต้งั แต่ ค่าลบ ถึง คา่ บวก เปน็ เซนติเมตร

12 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

วธิ กี ารปฏิบตั ิ

1. ใหผ้ รู้ บั การทดสอบยดื เหยยี ดกลา้ มเนอ้ื แขน ขา และหลงั (กอ่ นทดสอบใหถ้ อดรองเทา้ )

2. ผู้รับการทดสอบนั่งตัวตรง เหยียดขาตรงไปข้างหน้าให้เข่าตึง ฝ่าเท้าท้ังสองข้าง

ตั้งขึน้ ในแนวตรง และใหฝ้ ่าเท้าวางราบชิดติดกบั ผนังกล่องวดั ความออ่ นตวั ฝา่ เทา้ วางหา่ งกัน
เทา่ กับความกว้างของชว่ งสะโพกของผรู้ บั การทดสอบ

3. เมื่อได้ยินสัญญาณ “เร่ิม” ให้ผู้รับการทดสอบยกแขนท้ัง 2 ข้างข้ึนในท่าข้อศอก
เหยียดตรงและคว�่ำมือให้ฝ่ามือท้ังสองข้างวางคว�่ำซ้อนทับกันพอดี แล้วย่ืนแขนตรงไปข้างหน้า
แล้วให้ผู้รับการทดสอบค่อยๆ ก้มล�ำตัวไปข้างหน้าพร้อมกับเหยียดแขนท่ีมือคว�่ำซ้อนทับกันไป
วางไวบ้ นกล่องวัดความอ่อนตวั ให้ได้ไกลทส่ี ดุ จนไม่สามารถกม้ ลำ� ตัวลงไปไดอ้ กี ใหก้ ม้ ตัวคา้ งไว้
3 วนิ าที แล้วกลับมาส่ทู ่านงั่ ตวั ตรง ทำ� การทดสอบจ�ำนวน 2 ครัง้ ตดิ ตอ่ กัน

ระเบยี บการทดสอบ

ในการทดสอบจะตอ้ งถอดรองเทา้ ทง้ั นกี้ ารทดสอบจะไมส่ มบรู ณแ์ ละตอ้ งทำ� การทดสอบใหม่
ในกรณที ่ีเกิดเหตุการณต์ ่อไปนี้

1. มกี ารงอเขา่ ในขณะท่กี ม้ ล�ำตัวเพือ่ ยน่ื แขนไปข้างหนา้ ใหไ้ ดไ้ กลทสี่ ดุ
2. มีการโยกตัวช่วยขณะทกี่ ้มล�ำตัวลง

การบนั ทึกคะแนน

บันทึกระยะทางทที่ �ำได้เปน็ เซนตเิ มตร โดยบนั ทกึ ค่าท่ีดีท่สี ุดจากการทดสอบ 2 ครัง้

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 13

แรงบบี มือ (Hand Grip Strength)

วัตถปุ ระสงคก์ ารทดสอบ

เพื่อทดสอบความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อมือและแขนท่อนลา่ ง

คุณภาพของรายการทดสอบ

ค่าความเชอ่ื มั่น 0.89
ค่าความเท่ยี งตรง 0.92

อุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการทดสอบ

เครือ่ งวดั แรงกลา้ มเน้ือมือ (Hand Grip Dynamometer)

14 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

วิธีการปฏบิ ัติ

1. ให้ผูร้ ับการทดสอบยนื ลำ� ตัวตรง เหยยี ดแขนทัง้ สองข้างไวข้ ้างล�ำตัว ทำ� การทดสอบ
ในแขนขา้ งทีถ่ นัดโดยให้ขอ้ ศอกเหยยี ดตงึ แขนวางแนบขา้ งลำ� ตัวในท่าคว�่ำมือ

2. ให้ผู้รับการทดสอบถือเคร่ืองวัดแรงกล้ามเนื้อมือ (Hand Grip Dynamometer)
จัดให้ขอ้ นว้ิ มือขอ้ ท่ีสองงอพอดีกบั ท่แี กนบีบ แลว้ กางแขนออกประมาณ 15 องศา เม่ือผู้ทดสอบ
ให้สัญญาณ “เริม่ ” ให้ออกแรงบีบเคร่ืองวดั แรงกลา้ มเน้อื มือให้แรงมากทสี่ ดุ แล้วปลอ่ ย

การบันทึกคะแนน

วัดแรงบีบมือท่ีได้เป็นกิโลกรัม โดยให้ปฏิบัติจ�ำนวน 2 คร้ัง และบันทึกผลการทดสอบ
ของคร้ังท่ีบีบมือได้แรงมากท่ีสุด แล้วน�ำค่าที่บีบได้มาหารด้วยน้�ำหนักตัว บันทึกค่าแรงบีบมือ
เปน็ กโิ ลกรัม / นำ้� หนักตวั

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 15

ยนื -น่งั บนเก้าอ้ี 60 วินาที (60 Seconds Chair Stand)

วตั ถุประสงค์การทดสอบ

เพ่อื ประเมินความแขง็ แรงและความอดทนของกลา้ มเนือ้ ขา

คุณภาพของรายการทดสอบ

คา่ ความเช่ือมั่น 0.91
ค่าความเท่ียงตรง 0.96

อปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการทดสอบ

1. เก้าอ้ีทมี่ ีพนักพงิ สูง 17 นิ้ว (43.18 เซนตเิ มตร)
2. นาฬกิ าจับเวลา 1/100 วนิ าที

16 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

วธิ ีการปฏบิ ัติ

1. จัดเก้าอส้ี �ำหรบั การทดสอบยืน-น่งั ใหต้ ดิ ผนังทเ่ี รยี บและมีความทนทาน เพ่อื ปอ้ งกนั
การเลื่อนไหลของเกา้ อ้ี

2. ใหผ้ รู้ บั การทดสอบนงั่ บรเิ วณตรงกลางของเกา้ อี้ (ไมช่ ดิ พนกั พงิ เพอ่ื ใหส้ ะดวกตอ่ การ
ลกุ ข้นึ ยนื ) เทา้ ทั้งสองข้างวางราบกบั พ้นื ใหป้ ลายเทา้ ช้ีตรงไปข้างหนา้ ตัง้ ฉากกับแนวลำ� ตัว และ
ใหห้ า่ งกนั ประมาณชว่ งไหลข่ องผรู้ บั การทดสอบ โดยใหเ้ ขา่ ทง้ั สองขา้ งวางหา่ งกนั เลก็ นอ้ ย หลงั ตรง
แขนทงั้ สองข้างไขวป้ ระสานบริเวณอก และใหม้ อื แตะไหล่ไว้

3. เมื่อไดย้ ินสญั ญาณ “เร่มิ ” ให้ผู้รบั การทดสอบลกุ ข้ึนจากเกา้ อ้ี ยนื ตรง ขาเหยยี ดตึง
แล้วกลับลงน่ังในท่าเริ่มต้น นับเป็น 1 ครั้ง ปฏิบัติต่อเน่ืองกันจนครบ 60 วินาที โดยปฏิบัติ
ให้ได้จ�ำนวนครัง้ มากทสี่ ดุ

ระเบียบการทดสอบ

ผูร้ บั การทดสอบจะต้องปฏบิ ัตใิ หเ้ ต็มความสามารถ ในระหวา่ งการทดสอบให้การย่อตัว
นง่ั ลงน้นั ปฏิบตั เิ พียงให้สะโพกสัมผสั เกา้ อี้ ไมล่ งน�้ำหนักเตม็ ที่ แลว้ รบี เหยยี ดเขา่ ยนื ข้ึน
ซึ่งในการทดสอบ จะไม่นบั จำ� นวนครง้ั ในกรณตี อ่ ไปน้ี

1. ในขณะยืน ขาและลำ� ตวั ไม่เหยียดตรง
2. ในขณะน่ัง สะโพกไมส่ มั ผัสเกา้ อี้

การบนั ทกึ คะแนน

บันทึกจ�ำนวนครั้งท่ีผู้เข้ารับการทดสอบลุกขึ้นยืนตรงและน่ังลงอย่างถูกต้อง ในเวลา
60 วินาที โดยใหผ้ รู้ บั การทดสอบปฏบิ ัติเพียงครงั้ เดียว

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 17

ยนื ยกเขา่ ขึ้นลง 3 นาที (3 Minutes Step Up and Down)

วตั ถปุ ระสงคก์ ารทดสอบ

เพื่อประเมนิ ความอดทนของระบบหวั ใจและไหลเวยี นเลอื ด

คุณภาพของแบบทดสอบ

คา่ ความเช่อื ม่ัน 0.89
คา่ ความเทีย่ งตรง 0.88

อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการทดสอบ

1. นาฬกิ าจบั เวลา 1/100 วนิ าที
2. ยางหรอื เชอื กยาว ส�ำหรับกำ� หนดระยะความสูงของการยกเขา่

18 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

วธิ กี ารปฏิบตั ิ

1. ให้ผู้รับการทดสอบเตรียมพร้อมในท่ายืนตรง เท้าสองข้างห่างกันเท่ากับความกว้าง
ของชว่ งสะโพกของผู้รับการทดสอบ ให้มือทั้งสองข้างจับไวท้ ่เี อว

2. ก�ำหนดความสูงส�ำหรับการยกเข่าของผู้รับการทดสอบแต่ละคน โดยก�ำหนดให้
ผู้รับการทดสอบยกเข่าขึ้นสูงให้ต้นขาขนานกับระดับพื้น (เข่างอท�ำมุมกับสะโพก 90 องศา)
ให้ใช้ยางเส้นหรอื เชือกขงึ ไว้เพอ่ื เปน็ จุดอา้ งอิงระดบั ความสูงสำ� หรบั การยกเข่าในแตล่ ะคร้ัง

3. เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้รับการทดสอบยกเข่าข้ึนสูงจนแตะกับยางที่ขึงไว้
(ต้นขาขนานกับระดับพื้น ก่ึงกลางต้นขาสัมผัสกับแนวยางเส้นหรือเชือกท่ีขึงไว้) แล้ววางลง
สลับกับการยกขาอกี ขา้ งขน้ึ ปฏิบตั ิเชน่ เดียวกนั นบั เปน็ 1 คร้ัง ให้ยกเขา่ ข้นึ - ลง สลับขวา - ซา้ ย
อยกู่ บั ท่ี (ห้ามว่ิง) ปฏิบัติต่อเนอื่ งกนั ไปจนครบ 3 นาที โดยใหผ้ ู้รับการทดสอบพยายามยกใหไ้ ด้
จ�ำนวนครง้ั มากทีส่ ดุ เทา่ ท่จี ะทำ� ได้

ระเบยี บการทดสอบ

การทดสอบจะไม่สมบูรณ์ในกรณดี ังต่อไปนี้

1. ผู้รับการทดสอบยกเข่าแต่ละขา้ งสูงไมถ่ ึงระดับแนวยางเสน้ หรือเชอื กทีข่ ึงกำ� หนดไว้
2. ผเู้ ข้ารบั การทดสอบใช้การวง่ิ ยกเขา่ สงู แทน

การบนั ทกึ คะแนน

บันทึกจ�ำนวนครั้งท่ีสามารถยกเข่าถึงระดับความสูงที่ก�ำหนดให้ ภายในเวลา 3 นาที
โดยนับจ�ำนวนครง้ั จากขาทยี่ กทหี ลังสัมผัสพ้ืน ให้ผ้รู ับการทดสอบปฏิบัติเพยี งคร้ังเดยี ว

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 19

แบบบันทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
สําหรับประชาชน อายุ 19 - 59 ป

ชอ่ื -สกุล............................................................................................ เพศ ชาย หญงิ
วัน เดือน ป เกิด ..................../.................../....................... อายุ ..............ป ....... เดอื น..............
อาชพี .....................................................................................................................................
โรคประจําตวั ไมม ี มี (โปรดระบุ) ...............................................................................

รายการทดสอบ ผลการทดสอบ
ชพี จรขณะพกั (คร้ัง/นาที)
ความดนั โลหิต (มม.ปรอท)
1. นาํ้ หนัก (กโิ ลกรัม)
2. สว นสูง (เมตร)
3. ดัชนีมวลกาย (กโิ ลกรมั /ตารางเมตร)
4. นง่ั งอตัวไปขา งหนา (เซนตเิ มตร)
5. แรงบบี มือ (กิโลกรัม/น้ําหนักตัว)
6. ยืน-นง่ั บนเกาอี้ 60 วินาที (ครั้ง)
7. ยืนยกเขาขนึ้ ลง 3 นาที (ครงั้ )

ลงช่ือ.............................................................
เจา หนาท่ผี ูท ดสอบ

วนั ทที่ าํ การทดสอบ............/............../..............

20 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

ขอ้ ปฏิบัติในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
สำ� หรบั ประชาชนอายุ 19 - 59 ปี

1. ตอ้ งเตรียมเครือ่ งมือ และอุปกรณ์ ทจ่ี ะใชใ้ นการทดสอบใหพ้ รอ้ ม โดยจะต้องส�ำรวจ
ตรวจตราความพร้อมและคณุ ภาพของเคร่อื งมือและอปุ กรณ์เหลา่ น้ันไวด้ ว้ ย
2. การบนั ทกึ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการทดสอบเปน็ สงิ่ สำ� คญั มาก ควรมผี ชู้ ว่ ย โดยจะตอ้ งเตรยี ม
กรอกข้อมูลตามแบบบันทึกผลการทดสอบให้ครบถ้วน และท�ำการซักประวัติสุขภาพเบ้ืองต้น
พร้อมวัดคา่ ความดนั โลหติ และชพี จร
3. วางแผนการดำ� เนนิ งานในการทดสอบสมรรถภาพทางกายใหเ้ รยี บรอ้ ย จะตอ้ งกำ� หนด
รปู แบบและลำ� ดบั ขนั้ ตอนการทดสอบในแตล่ ะรายการ เชน่ การกำ� หนดสถานทที่ ดสอบ การกำ� หนด
ล�ำดบั รายการท่จี ะท�ำการทดสอบ การนำ� ผ้รู บั การทดสอบเขา้ ออกฐาน เพือ่ ปอ้ งกันมิใหเ้ กิดการ
สับสนวุ่นวาย การเตรียมการในลักษณะน้ีจะช่วยท�ำให้การด�ำเนินการทดสอบเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ไม่เสียเวลา ไม่สับสน ข้อมูลที่ได้จากการทดสอบก็จะมีความความแม่นตรงและ
เชื่อถือได้
4. ในระหวา่ งทำ� การทดสอบสมรรถภาพทางกายจะไมอ่ นญุ าตใหผ้ รู้ บั การทดสอบคนอนื่ ๆ
ทย่ี งั ไมถ่ งึ รอบทดสอบของตนเองไปทำ� กจิ กรรมการออกกำ� ลงั กายอนื่ ๆ นอกเหนอื จากการทดสอบ
ในรายการน้ันๆ หรือไปออกก�ำลังกายเหน่ือยแล้วมาท�ำการทดสอบ เพราะการออกก�ำลังกาย
จะมีผลตอ่ ข้อมูลทไี่ ด้
5. ในการทดสอบสมรรถภาพทางกายบางรายการ หากจำ� เปน็ จะตอ้ งมผี ชู้ ว่ ยในการทดสอบ
จะต้องมั่นใจว่าได้ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดและวิธีการด�ำเนินการของการทดสอบ
กับผูช้ ่วยทดสอบเปน็ ทีเ่ รียบรอ้ ยแลว้ ท้ังน้เี พือ่ ปอ้ งกนั ความผดิ พลาดทีอ่ าจเกิดขึน้
6. กอ่ นการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ผดู้ ำ� เนนิ การทดสอบควรใชเ้ วลาสน้ั ๆ ในการอธบิ าย
และบอกจุดมุ่งหมายของการทดสอบให้ผู้รับการทดสอบทราบ ว่าการทดสอบนี้เป็นการกระท�ำ
เพ่ือวัดและประเมินผลความสามารถของแต่ละบุคคล ไม่ใช่การแข่งขัน ดังนั้น จึงควรจะปฏิบัติ
ให้ดที ี่สดุ เพ่ือทราบข้อมลู จรงิ ของตนเอง
7. กอ่ นการทดสอบสมรรถภาพทางกายในแตล่ ะรายการ ควรใหผ้ รู้ บั การทดสอบไดท้ ดลอง
ปฏิบัติในรายการนั้นๆ ก่อน ส�ำหรับรายละเอียดของการทดสอบในแต่ละรายการก็ให้ปฏิบัติ
ตามวิธีทดสอบท่ีไดบ้ อกรายละเอียดไว้แลว้ ในรายการทดสอบนน้ั ๆ

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 21

8. ก่อนการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ควรใหผ้ ู้รบั การทดสอบไดม้ กี ารอบอนุ่ รา่ งกาย
เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมร่างกายและป้องกันการบาดเจ็บท่ีอาจจะเกิดข้ึน อาจจะปฏิบัติ
โดยการว่ิงอยู่กับที่ ยืดเหยียดกล้ามเน้ือ หมุนแขน เหยียดแขน บิดล�ำตัว หรือเคลื่อนไหวล�ำตัว
และแขนขา โดยวธิ อี น่ื ๆ ทง้ั นเ้ี พอ่ื กระตนุ้ กลา้ มเนอื้ ระบบประสาท และเนอ้ื เยอื้ ตา่ งๆ ใหม้ คี วามพรอ้ ม
ต่อการใช้งาน และให้ทำ� การคลายอนุ่ หลังจากทดสอบเสรจ็ ส้ิน

22 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรบั ประชาชน
อายุ 19 - 59 ปี

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 23

24 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการดชั นมี วลกาย (Body Mass Index : BMI)
อายุ (กโิ ลกรมั / ตารางเมตร)
(ปี)
ผอมมาก เพศชาย เพศหญงิ
19 - 24 ผอม สมสว่ น ทว้ ม อว้ น ผอมมาก ผอม สมสว่ น ท้วม อว้ น
25 - 29 13.94 ลงมา 13.95-20.25 20.26-24.84 24.85-29.41 29.42 ขึ้นไป 13.59 ลงมา 13.60-19.15 19.16-23.89 23.90-28.63
30 - 34 13.91 ลงมา 28.64 ขึ้นไป
35 - 39 14.13 ลงมา 13.92-20.99 21.00-25.65 25.66-30.30 30.31 ขึ้นไป 13.67 ลงมา 13.68-21.19 21.20-26.53 26.54-31.91 31.92 ขึน้ ไป
40 - 44 14.20 ลงมา 32.19 ข้นึ ไป
45 - 49 14.27 ลงมา 14.14-21.12 21.13-26.23 26.24-31.18 31.19 ขึ้นไป 13.71 ลงมา 13.72-21.08 21.09-26.63 26.64-32.18 32.85 ขนึ้ ไป
50 - 54 14.63 ลงมา 31.94 ขึ้นไป
55 - 59 14.65 ลงมา 14.21-21.30 21.31-26.26 26.27-31.21 31.22 ข้นึ ไป 14.22 ลงมา 14.23-20.81 20.82-26.84 26.85-32.84 31.65 ขึ้นไป
14.74 ลงมา 31.49 ขน้ึ ไป
14.28-21.37 21.38-26.30 26.31-31.22 31.23 ขน้ึ ไป 14.36 ลงมา 14.37-21.30 21.31-26.59 26.60-31.93 31.23 ขึ้นไป

14.64-21.42 21.43-26.40 26.41-31.36 31.37 ขึ้นไป 14.51 ลงมา 14.52-20.40 20.41-26.19 26.20-31.64

14.66-21.41 21.42-26.62 26.63-31.74 31.75 ขึ้นไป 14.88 ลงมา 14.89-22.51 22.52-26.95 26.96-31.48

14.75-21.33 21.34-26.57 26.58-31.82 31.83 ขน้ึ ไป 14.98 ลงมา 14.99-21.83 21.84-26.80 26.81-31.22

ส�ำนกั วิทยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า, 2562

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

อายุ เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการนงั่ งอตัวไปข้างหน้า (Sit and Reach)
)ป(ี (เซนตเิ มตร)

19 - 24 เพศชาย เพศหญิง
25 - 29
30 - 34 ต่�ำมาก ต�่ำ ปานกลาง ดี ดมี าก ตำ่� มาก ต่�ำ ปานกลาง ดี ดีมาก
35 - 39
40 - 44 1 ลงมา 2 - 8 9 - 16 17 - 23 24 ขน้ึ ไป 4 ลงมา 5 - 12 13 - 19 20 - 26 27 ขึ้นไป
45 - 49
50 - 54 1 ลงมา 2 - 8 9 - 15 16 - 22 23 ขึน้ ไป 3 ลงมา 4 - 11 12 - 18 19 - 25 26 ขึ้นไป
55 - 59 0 ลงมา 23 ขน้ึ ไป
-1 ลงมา 1 - 7 8 - 14 15 - 21 22 ขน้ึ ไป 2 ลงมา 3 - 9 10 - 16 17 - 22 22 ขนึ้ ไป
-2 ลงมา 21 ข้ึนไป
-4 ลงมา 0-6 7 - 14 15 - 21 22 ขน้ึ ไป 0 ลงมา 1-7 8 - 14 15 - 21 20 ขึ้นไป
-5 ลงมา 18 ขึ้นไป
-6 ลงมา -1 - 5 6 - 12 13 - 19 20 ขึ้นไป -2 ลงมา -1 - 5 6 - 13 14 - 20 18 ข้นึ ไป

-3 - 3 4 - 11 12 - 18 19 ขน้ึ ไป -2 ลงมา -1 - 5 6 - 12 13 - 19

-4 - 2 3 - 10 11 - 17 18 ข้นึ ไป -3 ลงมา -2 - 3 4 - 10 11 - 17

-5 – 1 2 – 9 10 – 16 17 ขึ้นไป -4 ลงมา -3 - 3 4 - 10 11 - 17

สำ� นักวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา, 2562

25

26 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

อายุ เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการแรงบีบมือ (Hand Grip Strength)
(ปี) (กโิ ลกรัม / น�ำ้ หนักตัว)

19 - 24 เพศชาย เพศหญิง
25 - 29
30 - 34 ต่�ำมาก ต�่ำ ปานกลาง ดี ดีมาก ต�ำ่ มาก ต่�ำ ปานกลาง ดี ดีมาก
35 - 39
40 - 44 0.50 ลงมา 0.51-0.60 0.61-0.69 0.70-0.79 0.80 ขน้ึ ไป 0.40 ลงมา 0.41-0.48 0.49-0.55 0.56-0.63 0.64 ขึ้นไป
45 - 49 0.51 ลงมา 0.52-0.61 0.62-0.70 0.71-0.80 0.81 ขึ้นไป 0.40 ลงมา 0.41-0.49 0.50-0.58 0.59-0.67 0.68 ขน้ึ ไป
50 - 54 0.52 ลงมา 0.69 ขึ้นไป
55 - 59 0.50 ลงมา 0.53-0.61 0.62-0.70 0.71-0.79 0.80 ขนึ้ ไป 0.42 ลงมา 0.43-0.52 0.53-0.62 0.63-0.68 0.63 ขึ้นไป
0.41 ลงมา 0.51-0.59 0.60-0.68 0.69-0.77 0.78 ขน้ึ ไป 0.37 ลงมา 0.38-0.45 0.46-0.54 0.55-0.62 0.62 ขน้ึ ไป
0.36 ลงมา 0.42-0.51 0.52-0.62 0.63-0.72 0.73 ขึ้นไป 0.36 ลงมา 0.37-0.44 0.45-0.53 0.54-0.61 0.61 ขน้ึ ไป
0.35 ลงมา 0.54 ขึ้นไป
0.34 ลงมา 0.37-0.49 0.50-0.60 0.61-0.71 0.72 ขึ้นไป 0.35 ลงมา 0.36-0.43 0.44-0.52 0.53-0.60 0.52 ขึน้ ไป
0.36-0.47 0.48-0.58 0.59-0.68 0.69 ข้นึ ไป 0.32 ลงมา 0.33-0.39 0.40-0.46 0.47-0.53
0.35-0.46 0.47-0.57 0.58-0.68 0.69 ขึ้นไป 0.30 ลงมา 0.31-0.38 0.39-0.45 0.46-0.51

สำ� นกั วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า, 2562

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายสำ� หรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

อายุ เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการยนื -น่ัง บนเกา้ อี้ 60 วินาที (60 Seconds Chair Stand)
(ปี) (คร้งั )

19 - 24 เพศชาย เพศหญงิ
25 - 29
30 - 34 ตำ�่ มาก ตำ่� ปานกลาง ดี ดีมาก ตำ�่ มาก ต�ำ่ ปานกลาง ดี ดีมาก
35 - 39
40 - 44 31 ลงมา 32 - 38 39 - 45 46 - 53 54 ขน้ึ ไป 24 ลงมา 25 - 32 33 - 40 41 - 48 49 ข้ึนไป
45 - 49 30 ลงมา 46 ข้นึ ไป
50 - 54 25 ลงมา 31 - 38 39 - 46 47 - 52 53 ขน้ึ ไป 23 ลงมา 24 - 30 31 - 38 39 - 45 45 ขน้ึ ไป
55 - 59 24 ลงมา 26 - 33 34 - 42 43 - 51 52 ขึน้ ไป 22 ลงมา 23 - 29 30 - 37 38 - 44 43 ขึน้ ไป
24 ลงมา 25 - 33 34 - 41 42 - 49 50 ขึน้ ไป 21 ลงมา 22 - 28 29 - 35 36 - 42 41 ขึ้นไป
22 ลงมา 36 ขึ้นไป
19 ลงมา 25 - 32 33 - 40 41 - 47 48 ขน้ึ ไป 20 ลงมา 21 - 26 27 - 33 34 - 40 31 ขึ้นไป
18 ลงมา 23 - 29 30 - 37 38 - 45 46 ขึ้นไป 16 ลงมา 17 - 22 23 - 28 29 - 35 30 ขน้ึ ไป
20 - 27 28 - 35 36 - 42 43 ข้นึ ไป 12 ลงมา 13 - 18 19 - 24 25 - 30

19 - 25 26 - 33 34 - 40 41 ขนึ้ ไป 11 ลงมา 12 - 17 18 - 23 24 - 29

ส�ำนักวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา, 2562

27

28 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายส�ำหรับประชาชน อายุ 19 - 59 ปี

อายุ เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย รายการยืนยกเข่าขึ้นลง 3 นาที (3 Minutes Step Up and Down)
(ป)ี (ครงั้ )

19 - 24 เพศชาย เพศหญิง
25 - 29
30 - 34 ต่ำ� มาก ต่ำ� ปานกลาง ดี ดมี าก ต่�ำมาก ต�่ำ ปานกลาง ดี ดีมาก
35 - 39
40 - 44 117 ลงมา 118 - 140 141 - 163 164 - 186 187 ข้นึ ไป 109 ลงมา 110 - 132 133 - 154 155 - 177 178 ขน้ึ ไป
45 - 49 113 ลงมา 114 - 137 138 - 160 161 - 183 184 ขน้ึ ไป 104 ลงมา 105 - 128 129 - 152 153 - 176 177 ขึน้ ไป
50 - 54 110 ลงมา 111 - 133 134 - 157 158 - 180 181 ขึ้นไป 97 ลงมา 98 - 123 124 - 149 150 - 175 176 ขึ้นไป
55 - 59
107 ลงมา 108 - 131 132 - 154 155 - 178 179 ขน้ึ ไป 97 ลงมา 98 - 122 123 - 147 148 - 172 173 ขน้ึ ไป
101 ลงมา 102 - 127 128 - 152 153 - 178 179 ขน้ึ ไป 96 ลงมา 97 - 121 122 - 146 147 - 170 171 ขนึ้ ไป
100 ลงมา 101 - 126 127 - 151 152 - 176 177 ขึ้นไป 93 ลงมา 94 - 118 119 - 144 145 - 170 171 ขึ้นไป

99 ลงมา 100 - 124 125 - 149 150 - 174 175 ขน้ึ ไป 87 ลงมา 88 - 114 115 - 142 143 - 169 170 ขึน้ ไป
96 ลงมา 97 - 122 123 - 148 149 - 173 174 ขน้ึ ไป 83 ลงมา 84 - 110 111 - 137 138 - 163 164 ข้นึ ไป

สำ� นกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า, 2562

เอกสารอา้ งอิง

กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า. 2560. แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ 6
(พ.ศ.2560 - 2564). พิมพ์ครั้งที่ 1. ส�ำนักงานกจิ การโรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์
ทหารผา่ นศกึ , กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการส่งเสริมกฬี าและการออกก�ำลงั กายเพื่อสุขภาพในสถาบนั การศึกษา สำ� นกั งาน
กองทุน สนับสนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ. 2549. แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐาน
สมรรถภาพทางกาย ทีส่ ัมพันธ์กับสุขภาพสำ� หรบั เด็กไทย อายุ 7-18 ป.ี พมิ พ์ครงั้ ที่ 2.
พ.ี เอส.ปร้นิ ท,์ นนทบุรี.
วลั ลยี ์ ภทั โรภาส, สพุ ติ ร สมาหโิ ต และคณะ. 2553. เกณฑม์ าตรฐานและการพฒั นา โปรแกรม
คอมพวิ เตอรเ์ พอื่ ประเมนิ ผลสมรรถภาพทางกายสำ� หรบั เดก็ ไทย ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา
อายุ 4 - 6 ป.ี รายงานการวิจัย, พี.เอส.ปรนิ้ ท์, นนทบุรี.
นฤมล พงศน์ ธิ สิ ุวรรณ. 2545. การศกึ ษาเกณฑ์ปกตสิ มรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพ
ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาอายุ 10 - 12 ป.ี วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาโท,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . กรงุ เทพฯ.
ศราวธุ รงุ่ เรือง. 2545. การศึกษาเกณฑป์ กติสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพของนกั เรียน
ช้นั มธั ยมศึกษา อายุ 13 - 15 ปี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรุงเทพฯ.
สพุ ติ ร สมาหิโต. 2541. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย KASETSART Youth Fitness Test.
พรานนกการพิมพ์, กรุงเทพฯ.
______2548 . การสรา้ งแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายทสี่ มั พนั ธก์ บั สขุ ภาพสำ� หรบั ผสู้ งู อาย.ุ
ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,์ กรุงเทพฯ.
______2549. การสรา้ งแบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายทส่ี ัมพันธ์
กบั สุขภาพส�ำหรับเดก็ ไทย อายุ 7 - 18 ปี. รายงานการวจิ ยั , พี.เอส.ปรน้ิ ท,์ นนทบรุ ี.
สำ� นกั นโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข. 2554. แผนยทุ ธศาสตร์
สุขภาพดีวถิ ีชีวิตไทย พ.ศ. 2554-2563. พมิ พ์คร้ังท่ี 1. โรงพิมพ์ส�ำนกั พระพุทธศาสนา,
กรุงเทพฯ.
สำ� นกั พฒั นาการพลศกึ ษา สขุ ภาพ และนนั ทนาการ กรมพลศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2541.
การศกึ ษาสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนประถมศกึ ษา ระดับอายุ 7 – 9 ปี.
รายงานการวจิ ยั , โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั , กรุงเทพฯ.

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 29

สำ� นักงานพฒั นาการกฬี าและนนั ทนาการ. 2551. เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย
ของนักเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา อายุ 7 - 12 ป.ี โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั , กรุงเทพฯ.
ส�ำนกั วทิ ยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า. 2555.
คมู่ ือแบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกาย ส�ำหรับเด็กไทย
อายุ 4 - 6 ปี. ส�ำนกั พิมพ์สัมปชัญญะ, นนทบุร.ี
สำ� นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า. 2555.
คมู่ ือแบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย สำ� หรบั เดก็ ไทย
อายุ 7 - 18 ปี. สำ� นกั พมิ พ์สมั ปชญั ญะ, นนทบุรี.
ส�ำนกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า. 2559.
คู่มือแบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย ส�ำหรับประชาชน
อายุ 19 - 59 ปี. พมิ พค์ ร้งั ที่ 2. บรษิ ทั โอเคแมส จำ� กดั , กรุงเทพฯ.
สำ� นกั วิทยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา. 2559.
คู่มอื แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย ส�ำหรับผู้สงู อายุ
อายุ 60 - 89 ปี. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. บริษทั โอเคแมส จ�ำกัด, กรุงเทพฯ.
แสงเดือน ทองเครอื่ งหยอด. 2545. เกณฑป์ กติสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น
ช้ันประถมศกึ ษา ปที ี่ 4 ถึงปที ่ี 6 อำ� เภอห้วยกระเจา จังหวดั กาญจนบุรี. วทิ ยานพิ นธ์
ปรญิ ญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ กรงุ เทพฯ.
American Collage of Sport Medicine. 2003. ACSM Fitness Book. 3rd edition.
Human Kinetics, Champaign, IL.
American Collage of Sport Medicine. 2010. ACSM’s Guidelines for Exercise
Testing and Prescription. 8th edition. Lippincott Williams & Wilkins,
Philadelphia, PA.
American College of Sports Medicine. 2014. ACSM’s Health-Related Physical
Fitness Assessment Manual. 4th Edition. Wolters Kluwer Health,
Philadelphia, PA.
American Collage of Sport Medicine. 2014. ACSM’s Exercise for Older Adults.
1st Edition.Lippincott Williams & Wilkins, Philadelphia, PA.
American College of Sports Medicine. 2017. ACSM’s Guidelines for Exercise
Testing and Prescription. 10th Edition. Wolters Kluwer Health,
Philadelphia, PA.

30 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

Charles Corbin. 2010. Fitness for Life: Elementary School Guide for Wellness
Coordinators. Human Kinetics, Champaign, IL.
Edward, T.H. and Frank, B.D. 1992. Health Fitness Instructor’s Handbook. 2nd ed.
Human Kinetics, Champaign, IL.
Morrow Jr, James R. et al. 2011. Measurement and Evaluation in Human
Performance. 5th Edition. Human Kinetics, Champaign, IL.
Kirkendall, D.R., Gurber, J.J. and Johnson, R.E. 1987. Measurement and
Evaluation for Physical Education. 2nd ed. Brown, IA.
Rikli, R.E. and Jones, C.J. 2013. Senior Fitness Test Manual. 2nd Edition.
Human Kinetics, Champaign, IL.
Safrit, M.J. 1990. Introduction of Measurement in Physical Education and
Exercise Science. 2nd Edition. Mosby Company, Missouri.
Samahito, S. 1998. The Use of Kasetsart Motor Fitness Test for Establishing
Norms for 6 Year Old Children; 13th Asian Game Scientific Congress:
Congress Proceeding. New Thai Mitre Publishing Company, Bangkok,
Thailand.
Samahito, S. et al. 2007. Construction of Health Related Physical Fitness Test
and Norms for Thai Children of Age 7 - 18, Proceedings of Universiade
Bangkok.
_____. 2007 FISU Conference; University Sport: Sport Creates Man… Man
Develops Nationhood. Bangkok, Thailand.
Vivian, H. 2006. Advanced Fitness Assessment and Exercise Prescription.
5thedition. Human Kinetics, Champaign, IL.
Vivian, H. and Ann, G. 2014. Advanced Fitness Assessment and Exercise
Prescription. 7th Edition. Human Kinetics, Champaign, IL.

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 31

คณะทำ� งาน
การจัดทำ� แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย

สำ� หรับเยาวชน และประชาชนไทย ของกรมพลศกึ ษา

ทปี่ รึกษา ผ้ทู รงคุณวุฒพิ ิเศษ คณะวิทยาศาสตร์การกฬี า
อธิบดกี รมพลศกึ ษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
รองอธบิ ดีกรมพลศกึ ษา ผู้ทรงคณุ วุฒพิ ิเศษ คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
หวั หนา้ คณะ ผ้ตู รวจราชการกระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา
ผู้ช่วยศาสตราจารยเ์ พมิ่ ศักด ิ์ สรุ ยิ จนั ทร์ ผู้อำ� นวยการส�ำนกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า
กรมพลศึกษา
คณะทำ� งาน ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า
1. รศ.ดร.สพุ ติ ร สมาหโิ ต กรมพลศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์การกฬี า
2. รศ.วลั ลยี ์ ภทั โรภาส มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
คณะศกึ ษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. นางสาวดารณี ลขิ ติ วรศักด์ิ ผอู้ �ำนวยการกล่มุ พฒั นาเทคโนโลยที างการกฬี า
4. นางสาววนดิ า พันธส์ อาด ผูอ้ �ำนวยการกล่มุ เวชศาสตร์การกีฬา
ผอู้ ำ� นวยการกลุ่มพัฒนาสมรรถภาพทางกาย
5. นางสาวชชั ฎาพร พทิ กั ษเ์ สถยี รกลุ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ
รกั ษาการผู้อ�ำนวยการกลุม่ วจิ ยั และพฒั นา
6. ดร.กภ.อำ� พร ศรียาภยั สำ� นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศึกษา

7. ผศ.ดร.ศริ ิชยั ศรพี รหม

8. นางสาวเนาวรัตน ์ เหลอื งรัตนเจรญิ
9. นางสาวนสุ รา ปภงั กรกจิ
10. นายสริ วชิ ญ ์ ณชิ าโชตสิ ฤษฏ ์
11. นางสาวฉัตรดาว อนกุ ูลประชา
12. นางไอย์นชิ ากรณ ์ พนั ธง์ ามตา

32 แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐาน

13. ผศ.ดร.สริ พิ ร ศศมิ ณฑลกลุ คณะวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
14. ดร.สรายุทธ ์ นอ้ ยเกษม คณะวิทยาศาสตร์การกฬี า
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
15. อาจารยน์ นั ทวนั เทียนแกว้ คณะวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
16. ดร.พรพล พิมพาพร คณะวิทยาศาสตร์การกฬี า
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
17. ดร.อัจฉรยี า กสยิ ะพัท คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่
18. อาจารยป์ ริญญา ส�ำราญบ�ำรงุ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่
19. อาจารย์พงศธร ศรที บั ทมิ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่
20. ผศ.คมกรชิ เชาวพ์ านิช คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพัฒนศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
21. ผศ.ดร.ธารินทร์ กา้ นเหลือง คณะศึกษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
22. ผศ.ดร.ตอ่ ศักด ์ิ แก้วจรสั วิไล คณะศึกษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
23. ดร.สพุ รทิพย์ พูพะเนยี ด คณะศึกษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
24. ดร.ธีรนันท ์ ตันพานชิ ย์ คณะศกึ ษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
25. ดร.ศศธิ ร ศรพี รหม คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
26. อาจารย์นิตยา เรอื งมาก คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ
27. ผศ.ดร.กาญจนา กาญจนประดษิ ฐ์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่
28. ผศ.ดร.พชั รี ทองค�ำพานิช สถาบนั การพลศึกษา วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี
29. ดร.สพุ ชิ ชา วงศจ์ ันทร ์ กองกิจกรรมทางกายเพ่อื สุขภาพ กรมอนามัย
30. ดร.ปณุ ยวีร ์ วชริ วรรณาภาส การกีฬาแห่งประเทศไทย
31. นายอรรคพงษ์ ไมตรจี ติ ต์ สำ� นกั วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา
32. นางณัฏฐวี แสงอรุณ สำ� นกั วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา

สมรรถภาพทางกายของประชาชน อายุ 19 - 59 ปี 33

32. นางณฏั ฐวี แสงอรุณ ส�ำนกั วทิ ยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศึกษา
33. นายภุชงค ์ บุญรักษ์ สำ� นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา กรมพลศกึ ษา
34. นางสาวสาวติ ร ี กลิ่นหอม สำ� นักวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า กรมพลศกึ ษา
35. นายชลิตพล สบื ใหม่ ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกฬี า กรมพลศึกษา
36. นายอชั รัฐ ยงทวี สำ� นักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
37. นายธิตวิ ฒั น์ น้อยคำ� เมอื ง ส�ำนกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา
38. นายศิวณตั ิ เพชรยอ้ ย ส�ำนกั วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา
39. นางสาวทิพย์วมิ ล สิงหเ์ อ่ียม สำ� นกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา
40. นายสราวธุ แก้วไพล สำ� นกั วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา
41. นายณพล หอมจันทร์ ส�ำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา

34