การจัดแผนกงานตามประเภทลูกค้า

กล่าวไว้ว่า การจัดองค์การ หมายถึง การจัดความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ คือ ตัวบุคคลและหน้าที่การงาน เพื่อรวมกันเข้าเป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถทำงานบรรลุเป้าหมายได้ 

ธงชัย สันติวงษ์ ( 2537 : 63 ) กล่าวไว้ว่า การจัดองค์การ คือ การจัดระเบียบกิจกรรมให้เป็นกลุ่มก้อนเข้ารูป และการมอบหมายงานให้คนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของงานที่ตั้งไว้ การจัดองค์การจะเป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบความรับผิดชอบต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ทุกคนต่างฝ่ายต่างทราบว่า ใครต้องทำอะไร และใครหรือกิจกรรมใดต้องสัมพันธ์กับฝ่ายอื่นๆอย่างไรบ้าง

สมคิด บางโม ( 2538 : 94 ) กล่าวไว้ว่า การจัดองค์การ หมายถึง การจัดแบ่งองค์การออกเป็นหน่วยงานย่อยๆให้ครอบคลุมภารกิจและหน้าที่ขององค์การ พร้อมกำหนดอำนาจหน้าที่และความสัมพันธ์กับองค์กรย่อยอื่นๆไว้ด้วย ทั้งนี้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการบริหารให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ 

Organizing หมายถึง การจัดระเบียบงาน จัดโครงสร้างการบริหารงาน การประสานงานระหว่างบัคคลและหน่วยงานต่างๆอำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชา กับความรับผิดชอบของงาน ให้รู้ว่า
     - ใคร ทำงานอะไร (What)
     - ใคร รายงานต่อใคร (Who)

ประกอบด้วย
    การแบ่งงาน
     - การมอบหมายงาน
     - การจัดสรรทรัพยากร
     - การประสานงาน

วัตถุประสงค์ของการจัดองค์การ

1. เพื่อแบ่งงานกันทำ โดยแยกงานออกเป็นแต่ละงานส่วน แต่ละแผนก แต่ละหน่วย เป็นกลุ่มตามลักษณะงานเช่น

2. เพื่อมอบหมายงานและความรับผิดชอบให้แต่ละคนทำตามความรู้ ความถนัด

3. เพื่อกำหนดการประสานงานต่างๆให้ดำเนินไปอย่างสอดคล้องกันตั้งแต่เริ่มต้นจนงานเสร็จ

4. เพื่อกำหนดสายการบังคับบัญชา อำนาจ หน้าที่อย่างเป็นทางการ
           5. เพื่อจัดสรร และใช้ทรัพยากรขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ

พื้นฐานของการจัดองค์การ

          การรวมกัน (Integration) ของความแตกต่างกัน (Differentiation) เข้าด้วยกันอย่างสอดคล้องกัน เพื่อก่อประโยชน์สูงสุดตามวัถตุประสงค์ขององค์การ
(ความแตกต่างในที่นี้หมายถึง ทักษะ วิธีทำงาน แนวคิด เป้าหมาย ระยะเวลา โครงสร้างองค์การ ค่านิยม)
โครงสร้างองค์การ (Organization Structure) เป็นระบบการติดต่อสื่อสารและอำนาจในการบังคับบัญชา
โครงสร้างองค์การที่เป็นทางการ (Formal Organization ) จะแสดงให้เห็นว่าใครบังคับบัญชาใครใครต้องรายงานใคร
โครงสร้างองค์การที่ไม่เป็นทางการ (Informal Organization)  เครือข่ายความสัมพันธ์ส่วนตัว ไม่ปรากฏในผังการจัดองค์การ

ผังองค์การ (Organization Chart)

การแบ่งงาน

สายการบังคับบัญชา
           - การติดต่อสื่อสาร
           - ตำแหน่งงานที่สำคัญ
           - ระดับของการบริหาร

การจัดแผนกงานตามประเภทลูกค้า


การจัดแผนกงานตามหน้าที่ (Departmentalization by function)

          เป็นการจัดรวมกลุ่มงานที่มีลักษณะหน้าที่เหมือนกันไว้เป็นหน่วยเดียวกัน เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายตลาด ฝ่ายบัญชี ฝ่ายทรัพยากรบุคคลนิยมมากในบริษัทที่ผลิตสินค้าประเภทเดียว หรือน้อยประเภท

การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (Departmentalization by products)

         การจัดรวมงานให้เป็นกลุ่มโดยใช้ผลิตภัณฑ์ เช่น แผนกเครื่องซักผ้า แผนกเครื่องเสียง แผนกคอมพิวเตอร์ แผนกทีวี แผนกเครื่องปรับอากาศเหมาะสำหรับบริษัทที่ผลิตสินค้าหลายชนิด แต่ละชนิดมีปริมาณการผลิตค่อนข้างสูงคล้ายมีหลายบริษัท มีหลายแผนกในตัว การแบ่งงานมีส่วนพัฒนาผู้บริหาร

การจัดแผนกงานตามประเภทลูกค้า

การจัดแผนกงานตามพื้นที่ (Departmentalization by territory)

          เหมาะ สำหรับองค์การที่มีกิจการกระจายไปในพื้นที่ที่ห่างไกล เช่น ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ภาคกลาง แต่อาจเกิดการซ้ำซ้อนในการใช้ทรัพยากร

การแบ่งแผนกงาน (Departmenttation)

   เป็นการจัดแบ่งโครงสร้างตามกระบวนการ : แบ่งตามสายงานการผลิต หรือเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้

การจัดแผนกงานตามลูกค้า (Departmentalization by customer)

          การแบ่งตามความสนใจและความต้องการของลูกค้า เช่น ลูกค้าจ่ายสด ลูกค้าเครดิต ลูกค้าราชการ ลูกค้าองค์การ สามารถตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ดีขึ้น
ผจก.แต่ ละแผนกมักเรียกร้องเงื่อนไขพิเศษ เช่นค่าคอมมิทชั่น หรือเปอร์เซ็นต์ในการขาย เพื่อให้แผนกของตนตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีขึ้น ทำให้แนวปฎิบัติเป็นไปอย่างไม่เสมอภาค

การจัดแผนกงานตามโครงการ (Departmentalization by project)

          ใช้กับงานที่ค่อนข้างจะอิสระ มีช่วงเวลาจำกัดและมีเป้าหมายที่ชัดเจนเช่น โครงการที่ดินจัดสรร โครงการบ้านพักอาศัย โครงการอาคารพาณิชย์การมีผู้รับผิดชอบโดยตรงแต่ละโครงการทำให้ปัญหาต่างๆได้รับความสนใจ และแก้ไขได้ทันเวลาจัดแบ่งแผนกงานตามเวลา : มีเฉพาะในระดับล่างขององค์การทำงานสองหรือสามกะ หัวหน้าและพนักงานแต่ละชุดสำหรับงานแต่ละกะจัดแบ่งแผนกงานตามจำนวนคน : มักจะมีอยู่ในระดับล่างขององค์การ ใช้กับงานที่ต้องอาศัยแรงหรือกำลังของคนงานเป็นหลัก หัวหน้างานจะพิจารณาว่างานใดต้องใช้คนงานเท่าใด เช่นขุดลอกคลอง สายละ 20 คน หน.1คน

การจัดแผนกงานตามประเภทลูกค้า

องค์การโดยการจัดโครงสร้างแผนก

1.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษระโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ บริการหรือตลาดที่คล้ายกัน
          2.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษระงานที่คล้ายคลึงกัน jop process
          3.การจัดโครงสร้างแผนก โดยยึดตามลักษณะของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่าง

          ระดับการจัดองค์การ และขนาดการจัดการ จุดประสงค์ของการจัดองค์การ คือเพื่อให้ผู้บริหารต้องการให้พนักงานในระดับต่างๆได้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิธิภาพ การทำงานก็จะไม่เกิดความขัดแย้งและไม่มีอุสรรคในการทำงานการเลือกขนาดในองค์การทุกองค์การ ผู้บริหารหรือผู้ประกอบการจะต้องศึกษาพิจารณาถึงโครงสร้างขององค์การของตนเอง ว่ามีความซับซ้อนเพียงใด หรือมีสายบังคับบัญชากี่ระดับชั้นการจัดองค์การที่ดีและเหมาะสม จะทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเจริญก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆทำให้งานไม่ซับซ้อน ไม่มีแผนงานมากเกินไป เป็นการประหยัดต้นทุนไปด้วยองค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่ายตามความจำเป็นการแบ่งงานให้พนักงานอย่างเหมาะสม ช่วยให้พนักงานมีความพอใจ ไม่เกิดความรู้สึกว่างานมากเกินไป หรือน้อยเกินไป เมื่อพนักงานรู้อำนาจหน้าที่ และขอบเขตงานของตนย่อมก่อให้เกิดความคิดริเริ่มในการทำงานเข้าใจความสัมพันธ์ของตนต่อฝ่ายอื่นๆ ทำให้เราสามารถติดต่อกันได้ดียิ่งขึ้น

การจัดแผนกงานตามประเภทลูกค้า

สายการบังคับบัญชา (Chain of Command)

          หมายถึง สายการสั่งการ และรายงานผลการปฏิบัติงานตามลำดับภายในองค์การตั้งแต่ระดับบนสุดจนถึงล่างสุดขอบเขต หรือขนาดการควบคุม (Span of Control)
หมายถึง จำนวนของผู้ใต้บังคับบัญชาที่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้บริหารหนึ่งคน
ผ่านบุคคลหลายระดับจำเป็นต้องสูงนักเนื่องจากต้องผ่านหลายระดับ ถ้าช่วงการบังคับบัญชาแคบมากๆ ทำให้ระดับการบริหารมีมากระดับ จำนวนผู้บริหารมาก รายจ่ายมาก

สรุปได้ว่า การจัดองค์การ หมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่างๆ และบุคคลในองค์การ โดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง เพื่อให้การดำเนินงานตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

การจัดแผนกงาน คือ อะไร มี กี่ ประเภท

การจัดแผนกงาน (Departmentalization) ∎ คือ กระบวนการจัดกลุ่มงานโดยใช้กฏเกณฑ์ซึ่งผู้บริหารเชื่อว่าจะสามารถสร้าง ความร่วมมือและควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ กฏเกณฑ์ดังกล่าว อาจสามารถแบ่งได้ 6 ประเภท

การจัดแผนกตามลูกค้ามีลักษณะอย่างไร

5. การจัดแบ่งแผนกตามลูกค้า (Customer Departmentation) คือลูกค้าที่ต้องการสินค้าเดียวกันจะอยู่ในแผนก เดียวกันซึ่งเป็นการอานวยความสะดวกแก่ลูกค้า และสร้างความชัดเจนในการดูแลลูกค้าแต่ละประเภท

การจัดแผนกงาน คืออะไร

การจัดแผนกงาน หมายถึง การรวมกลุ่มกิจกรรมต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยการรวมกิจกรรมที่คล้ายกันและเหมาะสมที่จะนำมาปฏิบัติ ในกลุ่มเดียวกันเข้าไว้ด้วยกันเป็นกลุ่ม แผนก หรือหน่วยงาน หลักเกณฑ์พื้นฐานที่จะใช้สำหรับการจัดแผนกงาน ดังนี้ 1.7.1 การจัดแผนกงานตามหน้าที่ (Department by Function)

การจัดองค์กรมีกี่ประเภท

1. โครงสร้างองค์กรแบบลำดับขั้น (Hierarchical Structure) ... .
2. โครงสร้างองค์กรตามหน้าที่ (Functional Structure) ... .
3. โครงสร้างองค์กรแนวนอนหรือแบน (Horizontal / Flat Structure) ... .
4. โครงสร้างองค์กรตามหน่วยงาน (Divisional Structure) ... .
5. โครงสร้างองค์กรแบบแมททริกซ์ (Matrix Structure).