แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนออนไลน์ doc

Skip to content

แบบสอบถามความพึงพอใจ ของการเรียนออนไลน์

You are here:

  1. Home
  2. News
  3. แบบสอบถามความพึงพอใจ ของการเรียนออนไลน์

แบบสอบถามความพึงพอใจ ของการเรียนออนไลน์ และ Work from home 🔸เพื่อเก็บรวบรวมความคิดเห็นจากนักศึกษา บุคลากรในสถาบัน และ ประชาชนทั่วไป ต่อสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ (Facility) รอบตัวท่านที่จัดทำโดยภาครัฐและเอกชน ในช่วง COVID-19 และนำข้อมูลไปพัฒนาและออกแบบ สิ่งอำนวยความสะดวก หลังช่วงCOVID-19 ที่ทางสถาบันฯ กำลังพัฒนาอยู่ในขณะนี้

แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนออนไลน์ doc

Author: chakrit Thienthong

Related Posts

Go to Top

บทเรียนออนไลน์วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา  2204–2101

คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมายถูก ลงในช่องที่ตรงกับความจริง

3.ท่านเคยใช้บทเรียนออนไลน์มาก่อนหรือไม่ *

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการเรียนบทเรียนออนไลน์ วิชาองค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพิวเตอร์

คำชี้แจง  โปรดใส่เครื่องหมาย ถูกต้อง ลงในช่อง ตามความคิดเห็นของท่านที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์โดยระดับความพึงพอใจ

5      หมายถึง     พึงพอใจมากที่สุด
4      หมายถึง     พึงพอใจมาก
3      หมายถึง     พึงพอใจปานกลาง
2      หมายถึง     พึงพอใจน้อย
1      หมายถึง     พึงพอใจน้อยที่สุด

1. เนื้อหาและการดำเนินเรื่อง

1.1 ปริมาณของเนื้อหาเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน *

1.2 ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา *

1.3 ความน่าสนใจในการดำเนินเรื่อง *

2.1 ขนาดของภาพที่ใช้ประกอบบทเรียน *

2.2 ความเหมาะสมของรูปภาพที่ใช้ประกอบบทเรียน *

2.3 ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาที่ใช้ในบทเรียน *

3.1 รูปแบบของตัวอักษรที่ใช้การนำเสนอ *

3.2 ขนาดของตัวอักษรที่ใช้ในการนำเสนอ *

3.4 สีของภาพและกราฟิก โดยภาพรวม *

3.5 พื้นหลังของบทเรียนโดยภาพรวม *

4.1 แบบทดสอบมีความสอดคล้องกับบทเรียน *

4.2 ความเหมาะสมของจำนวนแบบทดสอบในแต่ละหน่วยการเรียน *

4.3 ความเหมาะสมของคำถามต่อเนื้อหา *

4.4 ความรวดเร็วในการรายงานผลคะแนน *

5.1 การใช้งานของบทเรียน ง่าย และสะดวก *

5.2 บทเรียนมีความน่าสนใจ *

5.3 หลังจากศึกษาจบบทเรียนแล้วผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ *

5.4 สามารถนำความรู้ที่ได้ศึกษา ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ *

Never submit passwords through Google Forms.

การนิเทศระบบประกันคุณภาพภายใน  ส่งผลให้โรงเรียนเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ผู้นิเทศให้คำปรึกษาแนะนำแนวทางการปฏิบัติงานของผู้บริหารและครูอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพของโรงเรียน

ผู้นิเทศมีส่วนร่วมกำหนดเป้าหมายและแผนพัฒนาของโรงเรียน

การนิเทศระบบประกันคุณภาพภายใน  มีความเป็นกัลยาณมิตร

ผู้นิเทศมีส่วนร่วม/แนะนำการปรับปรุงเอกสารของโรงเรียนที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้

การนิเทศช่วยพัฒนาความรู้ความเข้าใจของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ผู้นิเทศมีส่วนร่วม/แนะนำ การบริหารสารสนเทศตามแผนพัฒนาของโรงเรียนอย่างเป็นระบบ

กิจกรรมนิเทศสนับสนุนให้ผู้บริหารและครูเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  นำผลการดำเนินงานสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ผู้นิเทศมีส่วนร่วมกับผู้บริหารและครูในการประเมินผล  การพัฒนาระบบคุณภาพภายในและนำผลมาปรับปรุงพัฒนา

การนิเทศระบบประกันคุณภาพภายในส่งผลให้ผู้บริหารและครูมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน