สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

วัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง

1. ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 

Show

2. พัฒนาและสนับสนุนการจัดทำมาตรฐานเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

3. ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน และร่วมดำเนินงานกับหน่วยงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของภาครัฐและเอกชน 

4. จัดให้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ทั้งในด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านวิชาการ

5. พัฒนาและสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

6. ให้บริการทางวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานตามความต้องการและความจำเป็นในการใช้งาน รวมทั้งการผลิตสื่อการเรียนรู้ดังกล่าว เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ประธานกรรมการ/กรรมการ

1. พล.อ. อภิชาติ แสงรุ่งเรือง
2. ปลัดกระทรวงแรงงาน
3. อธิบดีกรมควบคุมโรค
4. อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
5. เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม
6. นายประพันธ์ ปุษยไพบูลย์ (กรรมการฝ่ายนายจ้าง)
7. นายพิชิตร พระปัญญา (กรรมการฝ่ายลูกจ้าง)
8. นายนิคม เกษมปุระ
9. นายกฤษฎา ชัยกุล
10. นายอำนวย ภู่ระหงษ์ 
11. ผู้อำนวยการ (นายวรานนท์ ปีติวรรณ)


(คณะกรรมการครบวาระวันที่ 6 ตุลาคม 2565)


พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย
พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2558
 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน) (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562

คำรับรองการปฏิบัติงานขององค์การมหาชน

คำรับรองการปฏิบัติงาน สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คำรับรองการปฏิบัติงาน สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

รายงานการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติงานขององค์การมหาชน

รายงานการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติงาน สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

รัฐมนตรีรักษาการ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน

ผู้อำนวยการ

นายวรานนท์ ปีติวรรณ

สถานที่ติดต่อ

สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะแพทยศาสตร์ เข้าประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการปฏิบัติงานของบุคลากรศูนย์สัตว์ทดลองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

      สํานักงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะแพทยศาสตร์ เข้าประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการปฏิบัติงานของบุคลากรศูนย์สัตว์ทดลองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันที่ 13 ตุลาคม 2558 ณ ห้องอบรมชั้น 1 อาคารศูนย์สัตว์ทดลอง

 
ติดต่อเรา : 123 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-3528, 061-947-5050 email :
 

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

ความสำคัญ

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานเป็นปัจจัยสำคัญของธุรกิจให้บริการท่าอากาศยาน ทอท. จึงให้ความสําคัญกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของพนักงาน ลูกจ้าง ผู้รับเหมา ตลอดจนผู้รับเหมาช่วง เพื่อคงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ลดความเสี่ยงในการหยุดชะงักทางธุรกิจ และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนว่าทุกพื้นที่ปฏิบัติงานของ ทอท. มีความปลอดภัยและมีการบริหารจัดการที่ได้มาตรฐานระดับประเทศและระดับสากลอย่างเคร่งครัด

นโยบาย

ทอท. ดําเนินงานอย่างมีความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางานของผู้มีส่วนได้เสีย จึงกําหนดนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน คู่มือระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมถึงข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทํางานสําหรับผู้รับเหมา เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติให้กับพนักงานและลูกจ้าง ตลอดจนผู้รับเหมาของ ทอท. ทุกคน ซึ่งครอบคลุมทุกท่าอากาศยานและสํานักงานใหญ่

นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

แนวทางการจัดการ

ทอท. ให้ความสําคัญกับสภาพแวดล้อมการทํางานที่ปลอดภัย ถูกหลักอาชีวอนามัย ปราศจากอันตรายและอุบัติเหตุในทั้ง 6 ท่าอากาศยานและ
สํานักงานใหญ่ โดยถือเป็นหลักพื้นฐานสําคัญของการดําเนินงานท่าอากาศยานซึ่งบุคลากรทุกคนที่ทํางานภายในพื้นที่รับผิดชอบของ
ทอท. ต้องปฏิบัติตาม ปัจจุบันระบบการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของ ทอท. ได้รับการรับรองมาตรฐาน
ISO 45001:2018 เรียบร้อยแล้วทั้งในส่วนของสํานักงานใหญ่และท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง ซึ่งระบบการจัดการฯ ดังกล่าว
จะทําให้การบริหารจัดการงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของ ทอท. มีความปลอดภัยและมีการบริหารจัดการที่ได้มาตรฐานระดับสากล

หน้าที่ความรับผิดชอบ

ทอท. กำหนดให้ 6 ท่าอากาศยานและสำนักงานใหญ่ มีผู้รับผิดชอบด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ดังนี้

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

กรรมการผู้อํานวยการใหญ่

กำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์
และเป้าหมายด้านอาชีวอนามัย
แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงาน
ที่เกี่ยวข้องจัดสรรทรัพยากร
ตลอดจนติดตามและควบคุมการดำเนินงาน

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

คณะกรรมการบริหารระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

สนับสนุนการทบวนระบบการจัดการ
ทบทวนการชี้บงและประเมินความเสี่ยง
และร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
และโครงการด้านอาชีวอนามัย

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

คณะกรรมการบริหารระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ควบคุมการปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบาย
และแนวทางการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย
อนุมัติโครงการ กำหนดตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

ผู้แทนฝ่ายบริหารระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

กํากับดูแลงานในระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
เป็นผู้ตรวจสอบภายใน
พร้อมรายงานผลการจัดการต่อผู้บริหาร

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

คณะกรรมการความปลอดภัย

อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม

ในการทํางาน (คปอ.)

พิจารณานโยบายและกำหนดแผนงาน
พร้อมเสนอแนะมาตรการณ์และโครงการ
สำรวจความเสี่ยงด้านความปลอดภัย
ในการทำงานตรวจสอบสถิติด้านอาชีวอนามัยและรายงานผลการปฏิบัติการ
ประจำปีต่อผู้บริหาร

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน

ดูแลความปลอดภัยและสภาพแวดล้อม
ในพื้นที่หน้างาน ตรวจสอบสภาพเครื่องมือและ
อุปกรณ์ให้พร้อมใช้งาน ให้ความรู้
รายงานการประสบอันตรายและเจ็บป่วย
และสนับสนุนกิจกรรมด้านความปลอดภัย

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน (คปอ.) ของ ทอท. ทําหน้าที่ 11 ประการตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2549 โครงสร้าง คปอ. ประกอบด้วยประธานคณะกรรมการความปลอดภัย (นายจ้างแต่งตั้ง) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับวิชาชีพ (จป.วิชาชีพ) ทําหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการกรรมการผู้แทน นายจ้างระดับบังคับบัญชา (นายจ้างแต่งตั้ง) และกรรมการผู้แทนลูกจ้างทุกระดับ (มาจากการเลือกตั้ง) จัดประชุมอย่างน้อยเดือนละครั้งเพื่อรับทราบผลการดําเนินงานและชี้แนะมาตรการด้านอาชีวอนามัยต่าง ๆ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง

ภาพรวมของการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง

ภายใต้มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัย ISO 45001:2018 ในส่วนของการวางแผน ทอท. มีกระบวนการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงในกิจกรรมและสภาพแวดล้อมการทำงาน พร้อมดำเนินการทบทวนเป็นประจำอย่างน้อยปีละครั้ง รับผิดชอบโดยผู้รับผิดชอบของแต่ละส่วนงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย พร้อมรายงานผลต่อคณะกรรมการบริหารระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและผู้บริหารระดับสูงผลลัพธ์จากการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงถูกใช้ในการกำหนดมาตรการจัดการ ซึ่ง ทอท. มีการคำนึงถึงลำดับขั้นในการควบคุมความเสี่ยง (Hierarchy of Controls) ดังนี้

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

การสอบสวนอุบัติการณ์

กรณีที่มีอุบัติการณ์เกิดขึ้น ทอท. มีกระบวนการในการสอบสวนอุบัติการณ์ดังนี้

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

การตรวจประเมินสภาพแวดล้อมการทํางาน

ทอท. จัดให้มีการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับแสงสว่างและเสียง ของสถานประกอบกิจการเป็นประจำทุกปี
ซึ่งรับผิดชอบโดยหน่วยงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของแต่ละท่าอากาศยาน โดยการตรวจติดตามสภาพแวดล้อม
ในการทำงานให้มีความสอดคล้องและเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้ ยังมีการตรวจสภาพแวดล้อมภายในอาคารอื่น ๆ
เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ฝุ่นละออง และเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราในอากาศ ซึ่งรับผิดชอบโดยฝ่ายสิ่งแวดล้อม

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

การบริการทางการแพทย์

ทอท. มีคลินิกสํานักแพทย์ประจําทุกท่าอากาศยาน รวมถึงสํานักงานใหญ่ เพื่อตรวจรักษาเบื้องต้นให้แก่พนักงานและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ของ ทอท. กรณีเจ็บป่วยหรือได้รับอุบัติเหตุระหว่างปฏิบัติงาน และ ทอท. กําหนดให้มีการตรวจสุขภาพพนักงานประจําปีและมีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลให้แก่พนักงาน เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานของ ทอท.ทุกคนมีสุขภาพและการดูแลตัวเองที่ดี

การอบรมสําหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะสูง

ทอท. มีคลินิกสํานักแพทย์ประจําทุกท่าอากาศยาน รวมถึงสํานักงานใหญ่ เพื่อตรวจรักษาเบื้องต้นให้แก่พนักงานและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ของ ทอท. กรณีเจ็บป่วยหรือได้รับอุบัติเหตุระหว่างปฏิบัติงาน และ ทอท. กําหนดให้มีการตรวจสุขภาพพนักงานประจําปีและมีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลให้แก่พนักงาน เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานของ ทอท.ทุกคนมีสุขภาพและการดูแลตัวเองที่ดี

ความปลอดภัยของผู้รับเหมา

ทอท. จัดทําและเผยแพร่ข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทํางานสําหรับผู้รับเหมา เพื่อใช้เป็นแนวทางการดําเนินงานด้านความปลอดภัยในการทํางานที่ถูกต้องและสอดคล้องตามกฎหมายกําหนด รวมทั้งยังเป็นการควบคุมความเสี่ยงในการปฏิบัติงานของผู้รับเหมาที่เข้ามาปฏิบัติงานในพื้นที่ของ ทอท. และเป็นการผลักดันผลลัพธ์ด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานทุกคนรวมถึงผู้รับเหมาภายนอก ทั้งนี้ ทอท. กําหนดเงื่อนไขการปฏิบัติงานของผู้รับเหมาที่สอดคล้องตามข้อกําหนดด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และแนวทางการปฏิบัติอย่างยั่งยืนของคู่ค้าไว้อย่างชัดเจนในข้อกําหนดรายละเอียดงานจ้าง (Term of Reference: TOR) และทําการสื่อสารกับผู้ปฏิบัติงานถึงข้อควรปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยก่อนเริ่มดําเนินงานทุกครั้ง ปัจจุบัน ทอท. กําหนดให้ผู้รับเหมาจําเป็นต้องรายงานสถิติและผลการดําเนินงานด้านความปลอดภัยเป็นประจําทุกเดือนผ่านระบบสารสนเทศในการจัดการข้อมูลด้านความปลอดภัยสําหรับผู้รับเหมา โดยมีแนวปฏิบัติซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

สํา นักงาน อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย

การส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ทอท. ส่งเสริมความปลอดภัยและสนับสนุนวัฒนธรรมทางด้านความปลอดภัยในองค์กร โดยจัดให้มีการฝึกอบรมและโครงการรณรงค์เพื่อให้ความรู้ด้านความปลอดภัยแก่พนักงานใหม่และพนักงานปัจจุบันด้านมาตรฐานความปลอดภัยเบื้องต้นตามที่กฎหมายกําหนด เช่น ความปลอดภัยพื้นฐานในท่าอากาศยานและแผนฉุกเฉิน การซ้อมหนีไฟรวมไปถึงการฝึกอบรมด้านระบบ การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด อาทิ การอบรมเพื่อดําเนินงานตามมาตรฐานระดับสากล ISO 45001:2018 และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ควบคุมงานเพื่อกํากับดูแลผู้รับเหมา เป็นต้น

โครงการฝึกซ้อมดับเพลิงและการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ

การฝึกซ้อมดับเพลิงและการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟเป็นกิจกรรมด้านความปลอดภัยภาคบังคับที่ ทอท. จัดขึ้นเป็นประจําทุกปีในทุกท่าอากาศยานและสํานักงานใหญ่ ตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 เพื่อให้พนักงานทุกคนรับทราบแนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และเพิ่มความชํานาญในการบริหารจัดการของเจ้าหน้าที่และผู้รับผิดชอบส่วนต่าง ๆ เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้

การประเมินผลการจัดการ

ทอท. จัดให้มีการตรวจประเมินตามระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หน่วยงานภายใน (Internal Audit) โดยฝ่ายความปลอดภัยในการทำงานและอาชีวอนามัย ร่วมด้วยคณะผู้ตรวจประเมินภายภายในจากทุกส่วนงานที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมิน และการตรวจประเมินโดยหน่วยงานอิสระจากภายนอก (External Audit) ตามมาตรฐาน ISO 45001:2018 หน่วยงานความปลอดภัยรายงานผลการตรวจรับรองมาตรฐานการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้แก่ผู้บริหารระดับสูงเพื่อทบทวนและกำหนดมาตรการสำหรับพัฒนาการดำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานต่อไป รวมถึงได้เปิดเผยผลการดำเนินงานต่อสาธารณะในรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประจำทุกปี

แก้ไข ณ วันที่ 28 ก.พ. 2565