อุปสรรคในการสื่อสาร วิธีแก้ไข

     ไทยากิ (Tyagi. 2013 : 6-7) ได้กล่าวถึงอุปสรรคการฟังว่า การฟังนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายและมีอุปสรรคที่ขัดขวางไม่ให้การฟังประสบความสำเร็จ ซึ่งมีอยู่หลายข้อด้วยกัน ดังนี้
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ
     2. อุปสรรคทางกายภาพ (Physical Barriers) คือ อุปสรรคที่เกี่ยวกับสิ่งรบกวนภายนอก เช่น เสียงของเครื่องปรับอากาศ ควันบุหรี่หรือห้องที่ร้อนเกินไป ซึ่งสามารถรบกวนกระบวนการฟังได้
     3. อุปสรรคทางทัศนคติ (Attitudinal Barriers) คือ การเชื่อว่าตัวเองนั้นมีความรู้มากกว่าผู้พูดหรือคิดว่าไม่มีสิ่งแปลกใหม่ให้เรียนรู้จากความคิดของผู้พูด บุคคลที่มีทัศนคติแคบแบบนี้มักจะเป็นผู้ฟังที่ไม่มีคุณภาพ
     4. สมมติฐานที่ผิดพลาด (Wrong Assumptions) คือ การประสบผลสำเร็จของการติดต่อสื่อสารขึ้นอยู่กับทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดในการคิดว่า การติดต่อสื่อสารเป็น หน้าที่ของผู้ส่งสารหรือผู้พูด และผู้ฟังนั้นไม่ได้มีบทบาทในการสื่อสารเลย ตัวอย่างเช่น การพูด หรือการนำเสนอที่โดดเด่นนั้น ถึงแม้ว่าจะเป็นการพูดที่ยอดเยี่ยมก็จะเปล่าประโยชน์หากผู้รับสารไม่ฟังจนจบ กระบวนการนี้จะสำเร็จได้โดยการตั้งใจฟังและมีการตอบสนองกับผู้พูด
     5. อุปสรรคทางวัฒนธรรม (Cultural Barriers) คือ สำเนียงสามารถเป็นอุปสรรคในการฟังได้เพราะการออกเสียงต่างกันอาจทำให้ความหมายของคำเปลี่ยนไปจากเดิม ปัญหาของสำเนียงที่มีความแตกต่างนี้ไม่ได้เกิดขึ้นระหว่างวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นภายในตัววัฒนธรรมเองตัวอย่าง เช่น ในประเทศอินเดียที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งแต่ละภูมิภาคจะมีสำเนียงที่แตกต่างกันไป
     6. อุปสรรคทางเพศ (Gender Barriers) คือ งานวิจัยที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารได้แสดงให้เห็นว่า เพศสามารถเป็นอุปสรรคต่อการฟัง จากผลการศึกษานั้นปรากฏว่า ทั้งผู้ชายและผู้หญิงมีการฟังที่แตกต่างกันเป็นอย่างมากและมีจุดประสงค์ในการฟังที่แตกต่างกันอีกด้วย โดยผู้หญิงมีแนวโน้มที่จะฟังคำพูดที่ซ่อนไว้ด้วยอารมณ์ของผู้พูด ในขณะที่ผู้ชายจะฟังเกี่ยวกับข้อเท็จจริงและเนื้อหามากกว่า
     7. การขาดการฝึกฝน (Lack of Training) คือ การฟังไม่ใช่ทักษะที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด ผู้คนไม่ได้เกิดมาเป็นผู้ฟังที่ดี จึงต้องมีการพัฒนาการฟังด้วยการปฏิบัติและการฝึกฝน การขาดการฝึกฝนในทักษะการฟังนั้นจึงเป็นอุปสรรคที่สำคัญเป็นอย่างมาก
     8. นสิัยการฟังที่ไม่ดี (Bad Listening Habits) คือ คนส่วนมากเป็นผู้ฟังที่อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งได้รับการพัฒนานิสัยการฟังที่อยู่ในเกณฑ์ต่ำ โดยนิสัยเหล่านั้นยากที่จะพูดว่าเป็นการกระทำอันเป็นอุปสรรคต่อการฟัง ตัวอย่างเช่น บางคนมีนิสัย “เสแสร้ง (fake)” อย่างตั้งใจ หรือพยายามเป็นเหมือนผู้ฟังคนอื่น ๆ เพื่อทำให้ผู้พูดประทับใจและเชื่อมั่นว่าเขากำลังตั้งใจฟัง

     ไทยากิ (Tyagi. 2013 : 5-6) ได้กล่าวถึงการแก้ไขอุปสรรคการฟังว่า การได้ยินและการฟังเป็นสองกิจกรรมที่มีความแตกต่างกัน การได้ยินเป็นทักษะเชิงรับ (Passive) ในขณะที่การฟังเป็นทักษะเชิงรุก (Active) การฟังนั้นเป็นกระบวนการทางด้านจิตวิทยาที่สามารถพัฒนา ได้ด้วยการฝึกฝนเป็นประจำและเป็นทักษะที่มีประโยชน์มาก ซึ่งต่อไปนี้เป็นวิธีที่สามารถช่วยพัฒนาทักษะการฟังได้
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ0
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ1
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ2
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ3
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ4
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ5
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ6
     1. อุปสรรคทางชีวภาพ (Physiological Barriers) คือ ปัญหาหรือความบกพร่อง เกี่ยวกับการได้ยิน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการฟังอย่างถูกต้อง โดยอุปสรรคนั้นสามารถบำบัดได้ แต่ก็อาจมีปัญหาในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ7

แบ่งปันสิ่งนี้:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

Like Loading...

อุปสรรคในการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่ทำให้การสื่อสารไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ของผู้สื่อสาร และผู้รับสาร   อุปสรรคในการสื่อสารอาจเกิดขึ้นได้ทุกขั้นตอนของกระบวนการสื่อสาร ดังนั้นอุปสรรค ในการสื่อสารจากองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้

  1. อุปสรรคที่เกิดจากผู้ส่งสาร

1.1  ผู้ส่งสารขาดความรู้ความเข้าใจและข้อมูลเกี่ยวกับสารที่ต้องการจะสื่อ

1.2  ผู้ส่งสารใช้วิธีการถ่ายทอดและการนำเสนอที่ไม่เหมาะสม

1.3  ผู้ส่งสารไม่มีบุคลิกภาพที่ไม่ดี และไม่เหมาะสม

1.4  ผู้ส่งสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการส่งสาร

1.5  ผู้ส่งสารขาดความพร้อมในการส่งสาร

1.6  ผู้ส่งสารมีความบกพร่องในการวิเคราะห์ผู้รับสาร

  1. อุปสรรคที่เกิดจากสาร

2.1  สารไม่เหมาะสมกับผู้รับสาร อาจยากหรือง่ายเกินไป

2.2  สารขาดการจัดลำดับที่ดี สลับซับซ้อน ขาดความชัดเจน

2.3  สารมีรูปแบบแปลกใหม่ยากต่อความเข้าใจ

2.4  สารที่ใช้ภาษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน

  1. อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากสื่อ หรือช่องทาง

3.1  การใช้สื่อไม่เหมาะสมกับสารที่ต้องการนำเสนอ

3.2  การใช้สื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพที่ดี

3.3  การใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมกับระดับของการสื่อสาร

  1. อุปสรรคที่เกิดจากผู้รับสาร

4.1  ขาดความรู้ในสารที่จะรับ

4.2  ขาดความพร้อมที่จะรับสาร

4.3  ผู้รับสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้ส่งสาร

4.5  ผู้รับสารมีความคาดหวังในการสื่อสารสูงเกินไป


วิดีโอนำเสนอ อุปสรรคในการสื่อสาร

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

วิธีแก้ไขอุปสรรคในการสื่อสารมีอะไรบ้าง

เทคนิคเพื่อช่วยลดความขัดแย้งในการสื่อสาร.
1. การเป็นผู้ฟังที่ดีและตั้งใจ ... .
2. เขียนรายละเอียดข้อขัดแย้งให้ชัดเจน ... .
3. การแสดงบทบาทสมมติ ... .
4. มีความสงสัยใคร่รู้ ... .
5. เอาใจใส่และเห็นอกเห็นใจ ... .
6. เปลี่ยนคำพูดให้ดูเหมาะสม ... .
7. เคารพในความแตกต่าง ... .
8. ไม่หลีกเลี่ยงปัญหาใดๆ.

อุปสรรคในการสื่อสารคืออะไร

อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร คือ ตัวการที่คอยรบกวนการติดต่อสื่อสารให้ติดขัด ชะงัก หรือไม่มีประสิทธิภาพ (Communication Breakdown) แบ่งออกเป็น 3 ด้าน 1. ด้านเทคนิคหรือกลไก (Technical or Mechanical) เกิดจากช่องทางการสื่อสารที่น าเสนอ ตัวอย่างเช่น โทรทัศน์ภาพล้ม, การพูดคุยในที่เสียงดัง

อุปสรรคของการติดต่อสื่อสารในองค์การคืออะไร

อุปสรรคของการสื่อสารที่เกิดขึ้นในองค์กร เกิดจากจุดเริ่มต้นคือผู้ที่ทำหน้าที่ส่งสาร ทำการพิจารณาตัวสาร และช่องทางหรือวิธีการส่งสาร ตลอดจนถึงผู้ทำหน้าที่รับสาร เมื่อการส่งและ รับสารขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะเกิดผลเสียทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและก่อให้เกิดผลเสีย ในระดับองค์กรอีกด้วย ดังนั้นการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ...

ความสําคัญของการสื่อสารมีอะไรบ้าง

ความสำคัญของการสื่อสาร.
ความสำคัญต่อชีวิตประจำวัน.
การสื่อสารทำให้รับรู้ความรู้สึกนึกคิด.
ทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน.
ทำให้เกิดความสุนทรีย์.
สร้างเอกลักษณ์ของบุคคล.
ทำให้เกิดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยน.
การสื่อสารช่วยให้เกิดแรงจูงใจ สร้างกำลังใจ.