ขั้นตอนการไถ่ถอนจํานอง ธกส

สินเชื่อบ้าน

บริการแจ้งความประสงค์ขอรับโฉนดคืน

รายละเอียดบริการ

ในกรณีที่ท่านได้ชำระสินเชื่อบ้าน รวมทั้งค่าเบี้ยปรับ และ/หรือ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อบ้านดังกล่าว (ถ้ามี) เสร็จสิ้นแล้ว ท่านสามารถแจ้งความประสงค์ขอรับโฉนดคืนได้ ตามขั้นตอนดังนี้

  1. กรอกแบบฟอร์มแจ้งความประสงค์ขอรับโฉนดคืน ดาวน์โหลดที่นี่
  2. แนบเอกสารประกอบ ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาใบเสร็จรับเงินกู้งวดสุดท้าย และสำเนาเอกสารหลักฐานในการชำระ ค่าเบี้ยปรับ และ/หรือ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ถ้ามี)
  3. จัดส่งแบบฟอร์มแจ้งความประสงค์ขอรับโฉนดคืนที่มีการลงนามครบถ้วน พร้อมเอกสารประกอบตามที่ระบุในข้อ 2. มาที่ช่องทางดังต่อไปนี้
    • อีเมล:
    • ไปรษณีย์ลงทะเบียน ที่อยู่จัดส่ง : ทีมป้องกันลูกค้ารีไฟแนนซ์ (O/C 3453) ธนาคารไทยพาณิชย์ ชั้น UB เลขที่ 9 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
    • สาขาธนาคารไทยพาณิชย์ทุกสาขา

เมื่อท่านส่งเอกสารแล้วจะมีพนักงานติดต่อกลับเพื่อนัดวันคืนโฉนดภายใน 15 วันทำการนับแต่วันที่ธนาคารได้รับแบบฟอร์มแจ้งความประสงค์ขอรับโฉนดคืน

หากมีข้อสงสัยติดต่อ โทร 02-777-7777

Stories & Tips

ผลิตภัณฑ์และบริการที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการไถ่ถอนจํานอง ธกส

คำที่คุณใช้ค้นหาล่าสุด

ผลการค้นหา <strong>"{{keyword}}"</strong> ไม่ปรากฎแต่อย่างใด

ข้อแนะนำในการค้นหา

  • ตรวจสอบความถูกต้องของข้อความ
  • ตรวจสอบภาษาที่ใช้ในการพิมพ์
  • เปลี่ยนคำใหม่ กรณีไม่พบผลการค้นหา

ขั้นตอนการไถ่ถอนจํานอง ธกส

สวัสดีค่ะวันนี้เรากลับมาพบกันอีกเป็นประจำกันเช่นเคยนะค่ะโดยวันนี้ เราขอเอาใจคนที่กำลังจะ ซื้อที่ดิน สักแปลง แต่ติดตรงที่ ที่ดิน แปลงนี้ติดจำนองกับธนาคาร และยังค้างจ่ายธนาคารด้วย จะทำอย่างไรดีเดี๋ยววันนี้เราไปดูกันค่ะว่า จะแก้ปัญหาได้อย่างไรและควรระวังอะไรบ้างเพื่อที่จะทำให้การซื้อที่ดินติดจำนองไม่เป็นปัญหาเพื่อไม่เป็นการเสียเวลาเราไปชมกันเลยค่ะ

ข้อควรรู้และระวังเกี่ยวกับการ ซื้อที่ดิน ติดจำนอง

ขั้นตอนการไถ่ถอนจํานอง ธกส
โดยปกติการไถ่ถอนจำนองนั้นธนาคารจะไม่ไปไถ่ถอนจำนองให้ แต่จะมอบอำนาจให้เจ้าของที่ดินไปไถ่ถอนเอง ดังนั้นผู้จำนอง(ผู้ขาย) จะต้องไปติดต่อกับธนาคารที่นำที่ดินไปจำนอง ว่าจะทำการขายที่ดินแปลงนี้แล้ว เพื่อให้ธนาคารกำหนดวันที่จะไปไถ่ถอนจำนองให้ที่กรมที่ดิน จากนั้นธนาคารก็จะคำนวณเงินต้นและดอกเบี้ยถึงวันที่จะไถ่ถอนที่กรมที่ดินแล้วแจ้งให้ผู้จำนอง(ผู้ขาย)ทราบหรือผู้ซื้อและผู้ขายที่ดินอาจไปติดต่อกับธนาคารด้วยกันเลยก็ได้ค่ะ ส่วนในกรณีไม่ได้ไปธนาคารด้วยกันนั้น ผู้ขาย(ผู้จำนอง) ก็ต้องแ0จ้งกำหนดวันที่จะไถ่ถอนจำนอง และจำนวนเงินที่ธนาคารแจ้ง(จำนวนเงินต้น+ดอกเบี้ยถึงวันไถ่ถอน)ให้ผู้ซื้อทราบ

จากนั้นผู้ซื้อก็ต้องเตรียมเงินสดหรือแคชเชียร์เช็คก็ได้  ถ้าเป็นแคชเชียร์เช็คก็ใช้ 2 ใบ  แต่แนะนำให้ทำเป็นแคชเชียร์เช็คดีกว่า โดยแคชเชียร์เช็ค

  • ใบแรก ก็คือยอดเงินต้น+ดอกเบี้ยถึงวันไถ่ถอน เพื่อสำหรับนำมามอบให้ธนาคาร เพื่อธนาคารจะได้ไถ่ถอนจำนองให้
  • ใบที่สอง คือ ยอดเงินที่จะจ่ายให้แก่ผู้ขายที่ดิน ได้แก่ ราคาที่ตกลงซื้อขาย – (ยอดเงินต้น+ดอกเบี้ยถึงวันไถ่ถอนที่จ่ายให้แก่ธนาคาร)  –  ค่าโอนที่ผู้ขายต้องจ่าย(แล้วแต่จะทำการตกลงกัน)

เมื่อถึงวันไถ่ถอนที่กรมที่ดิน  ทั้ง 3 ฝ่าย(ผู้ขายที่ดิน , ผู้ซื้อที่ดิน , ธนาคาร) มาถึงกรมที่ดินแล้ว ผู้ซื้อก็มอบแคชเชียร์เช็ค(เงินต้น+ดอกถึงวันไถ่ถอน)ให้ธนาคาร  ธนาคารก็จะไถ่ถอนจำนองให้ แล้วมอบโฉนดให้ เพื่อทำการซื้อขายต่อไป

จากนั้นผู้ซื้อจะมอบแคชเชียร์เช็คใบที่สองให้ผู้ขายเมื่อได้ทำการซื้อขายเกือบเสร็จสิ้น โดยเจ้าหน้าที่ที่ดินจะถามว่า ผู้ขายได้รับเงินแล้วหรือยัง ผู้ซื้อก็จะมอบแคชเชียร์เช็คให้ และจะต้องทำให้เสร็จภายในวันเดียวกันเท่านั้น โดยจะจต้องอย่าให้เกิดกรณีไถ่ถอนแล้วซื้อขายในวันถัดไป เพราะอาจมีปัญหาได้ ดังนั้น ทั้ง 3 ฝ่าย (ผู้ขายที่ดิน , ผู้ซื้อที่ดิน, ธนาคาร) ต้องไปกรมที่ดินแต่เช้า

ยกตัวอย่างง่ายๆคือ  ถ้ามีการตกลงซื้อขายที่ดิน 3ล้านบาท  ผู้ขายที่ดินมียอดหนี้ธนาคาร+ดอกเบี้ยถึงวันไถ่ถอนที่กรมที่ดินเป็นเงิน 1แสนบาท ตกลงกับผู้ขายหลังจ่ายธนาคารไปแล้วในราคา 5 แสน โดยผู้ขายและผู้ซื้อตกลงชำระค่าค่าธรรมเนียมการโอนที่ดินแปลงนี้คนละครึ่ง สมมติค่าธรรมเนียมการโอนที่ดินทั้งหมด 20,000 บาทผู้ซื้อเตรียมแคชเชียร์เช็ค สองใบ

  • ใบแรก สำหรับจ่ายให้ธนาคาาร และ
  • ใบที่สองสำหรับผู้ขาย โดยใบแรกจะมี ยอดคือ 3ล้าน – 1แสน(ยอดหนี้บวกดอกเบี้ยถึงวันไถ่ถอน) – ค่าธรรมเนียมการโอนครึ่งหนึ่ง ก็คือ 10,000 = ยอดแคชเชียร์เช็คใบที่สอง คือยอด 5แสนบาท เพื่อมอบให้ผู้ขาย

โดยส่วนใหญ่ปัญหาคือ ค่าธรรมเนียมการโอนเราจะยังไม่ทราบว่าจริงๆ สุทธิ เท่าไหร่ ทราบแต่เพียงประมาณการเท่านั้น  ดังนั้น เราต้องควรถือเงินสดไปด้วย และลดยอดแคชเชียร์เช็คใบที่สองลง เช่น แคชเชียร์เช็คใบที่สอง ยอด 4 แสน แล้วถือเงินสดไป 1.2 แสน เพื่อจ่ายค่าธรรมเนียมโอนที่ดินเป็นเงินสด 20,000 เหลือเงินสด 100,000 ก็มอบให้ผู้ขายไป

โดยเราควรจะต้องทำทุกขั้นตอนให้เสร็จภายในวันเดียวจะดีที่สุดและก่อนจะมอบแคชเชียร์เช็คใบที่สองและเงินสดที่เหลือให้ผู้ขาย  ขั้นตอนการซื้อขายที่ดินจะต้องเกือบแล้วเสร็จแล้วเท่านั้นและส่วนมากเจ้าหน้าที่ที่ดินจะเป็นคนบอกเองค่ะ

สรุป

  1. เราจะไปหรือไม่ไปติดต่อธนาคารก็ได้ จะให้ผู้ขายเดินเรื่องทุกอย่างก็ทำได้เสร็จกัน
  2. นัดโอนที่สำนักงานที่ดินเท่านั้น ค่อยจ่ายเช็คให้ในขณะที่โอน ห้ามจ่ายก่อนเด็ดขาดไม่ว่ากรณีใดๆ
  3. ควรให้ผู้ขายไปต่อรองกับธนาคาร เพื่อนำโฉนดออกมา ที่สนง.ที่ดินในวันนัดโอน ถ้าวันโอนธนาคารไม่นำโฉนดมาไม่ก็ไม่ควรซื้อขาย
  4. ตกลงเรื่องจำนวนเงินตัวเลขและเช็คว่าจะใช้กี่ฉบับปกตินิยม2 ควรตกลงกันให้ชัดเจนก่อนวันโอน
  5. ตกลงกันให้ละเอียดเรื่อง ค่าใช้จ่ายในการโอน ค่าธรรมเนียม ค่าภาษี ค่าอากร   ว่า  ใครจ่ายส่วนไหนบ้าง สำหรับค่าโอนทั้งหมด

ดังนั้นวิธีที่ปลอดภัยที่สุดคือการที่ผู้รับจำนองและเจ้าของที่ดินควรที่จะไปทำเรื่องพร้อมกันที่สำนักงานที่ดินตรวจสอบยอดหนี้รวมดอกเบี้ยของผู้รับจำนองว่ามีเท่าไร ชำระเงินแบบไหนและเราสามารถยื่นทำเรื่องไถ่ถอนจำนองแล้วขายได้เลยหรือไม่ ไม่ควรที่จะยอมให้เงินไปก่อนในกรณีที่ผู้ขายอ้างว่าจะขอเงินไปไถ่ถอนก่อนแล้วมาทำเรื่องขายทีหลัง

โดยวิธีนี้เสี่ยงมีปัญหาเจ้าของที่ดินเล่นไม่ซื่อถึงแม้จะทำสัญญากันไว้ก็ตาม ต้องฟ้องร้องกันเสียเวลาเสียค่าทนายค่าใช้จ่ายอื่นๆอีกนานกว่าคดีจะจบ ส่วนในกรณีที่มีบ้านมาในที่ดินด้วยนั้นราคาประเมินคงไม่มากดังนั้นควรจะแจ้งประเมินไปด้วยเพื่อที่จะช่วยลดปัญหายุ่งยากทีหลังในกรณีคุณต้องการใช้ประโยชน์บ้านในทางทะเบียนหรือถ้าไม่และบ้านไม่มีคนอยู่ก็ไม่ต้องแจ้งสิ่งปลูกสร้างไปก็ได้บ้านถือเป็นส่วนควบของที่ดินอยู่แล้ว  แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเราจะต้องแน่ใจว่าจะไม่มีใครมาอ้างเป็นเจ้าของทีหลัง ดังนั้นเพื่อตัดปัญหาควรแจ้งประเมินจะดีที่สุดค่ะ

ลงประกาศฟรี !!! ไม่มีค่าใช้จ่ายลงประกาศเลย คลิ๊ก …

ขายคอนโดมือสอง บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ที่ดิน กับ Dot Property ขายง่าย ขายไว หรือต้องการซื้อ-เช่า !!! คอนโดมือสอง บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ที่ดินทั่วไทยมากกว่า 300,000 รายการคลิ๊กที่นี่

ไถ่ถอนจํานอง ที่ไหน

ขั้นตอนการติดต่อสำนักงานที่ดิน เมื่อเตรียมเอกสารทั้ง โฉนดที่ดิน (ฉบับเจ้าของที่ดิน), หนังสือสัญญาจำนองที่ดิน (ฉบับผู้รับจำนอง) ที่สลักหลังสัญญาให้ไถ่ถอนจำนองได้, เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวกัธนาคารกับผู้รับจำนอง (ถ้ามี), บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน และค่าใช้จ่ายสำหรับการไถ่ถอนจำนองเรียบร้อยแล้ว ให้รวบรวมเอกสารทั้งหมดไว้ด้วยกัน

ไถ่ถอนจํานอง ใช้เวลากี่วัน

แต่ถ้าหากเราได้ผ่อนบ้านจนครบกำหนด แต่ยังไม่ได้รับการติดต่อจากธนาคาร เราสามารถแจ้งกับทางธนาคารได้เลยว่าต้องการไถ่ถอนโฉนด โดยธนาคารจะดำเนินเรื่องให้ตามขั้นตอนแรก โดยระยะเวลาดำเนินการไม่เกิน 1 วัน

ไถ่ถอนจํานอง ใช้เอกสารอะไรบ้าง

เอกสารหลักฐานประกอบการไถ่ถอนขายฝากที่ดิน หนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน (โฉนดที่ดิน) หรือหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ห้องชุด เอกสารคู่สัญญาขายฝาก เอกสารที่ทำร่วมกันทั้งผู้ขายฝากและผู้รับซื้อฝาก เอกสารบัตรประชาชน และทะเบียนบ้าน โดยนำไปทั้งฉบับจริงและสำเนาของทั้งผู้ขายฝากและผู้รับซื้อฝาก

ไถ่ถอนจํานอง คือ อะไร

๔. ไถ่ถอนจากจำนอง หมายถึง กรณีที่ได้ชำระหนี้ที่จำนองเป็นประกันโดยสิ้นเชิงแล้ว การจำนอง จึงระงับสิ้นไปโดยผลของกฎหมาย แม้ไม่จดทะเบียนก็สามารถใช้บังคับในระหว่างกันเองได้ แต่ถ้าจะให้ ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกได้ ต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่