ความหมายของอัตราส่วนผสมหนา

เนื้อหาเพิ่มเติม

 อัตราส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิง

       อัตราส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิง ที่ใช้กับเครื่องยนต์ จะประกอบด้วย
ส่วนผสม 3 แบบ คือ


.อัตราส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงตามทฤษฎี (theoretical air-fuel ratio)


ความหมายของอัตราส่วนผสมหนา

รูปที่ 1.34 แสดงอัตราส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิง


 วิธีการผสมอากาศกับน้ำมันเชื้อเพลิง (Air-Fuel Mixing Method)

สำหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน  จะมีวิธีการใหญ่ ๆ อยู่ 2 วิธี คือ
  1. โดยระบบคาร์บูเรเตอร์ (Carburetors System)
  2. โดยระบบฉีดเชื้อเพลิง (Injection System)
ทั้ง 2 แบบต่างก็มีข้อดีข้อเสีย  กล่าวคือ  คาร์บูเรเตอร์เดิมเป็นแบบง่าย ๆ แต่ต่อมาประเทศต่าง ๆ ทางยุโรปและอเมริกา  มีการออกกฎหมายควบคุมมลพิษของไอเสียอย่างเข้มงวดกวดขัน  จากคาร์บูเรเตอร์ง่าย ๆ จึงจำเป็นต้องเพิ่มอุปกรณ์ช่วยต่าง ๆ เข้าไป  ทำให้ยุ่งยากซับซ้อนมากขึ้น  และอุปกรณ์บางส่วนก็เป็นกลไก  ทำให้เกิดความล่าช้าในการทำงานรถยนต์ราคาแพง ๆ ที่ใช้เครื่องยนต์ประเภทสมรรถนะสูง (High Performance) จึงหันมาใช้ระบบฉีดแทนคาร์บูเรเตอร์เพราะระบบฉีดเชื้อเพลิง  การเผาไหม้จะสะอาดหมดจดกว่า  จึงยังไม่เป็นที่คุ้นเคย  ดังนั้นการที่จะให้เป็นที่นิยมและยอมรับอย่างกว้างขวางเช่นเดียวกับระบบคาร์บูเรเตอร์  คงต้องใช้เวลา  และคงจะมีใช้อยู่ทั้งสองระบบ  ควบคู่กันไป  เช่นเดียวกันกับระบบจุดระเบิดแบบธรรมดาและระบบจุดระเบิดแบบทรานซิสเตอร์

ความหมายของอัตราส่วนผสมหนา




ปัญหาที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  ของระบบคาร์บูเรเตอร์  ก็คือ แต่ละสูบจะได้รับส่วนผสมไม่เท่ากัน เนื่องจากเชื้อเพลิงหนักกว่าอากาศ  มันจึงไหลต่อไปจนสุดท่อร่วมไอดี แล้วจับตัวเป็นหยดน้ำมันทำให้สูบสุดท้ายส่วนผสมหนา  แต่สูบที่อยู่ใกล้คาร์บูเรเตอร์ส่วนผสมบาง

อ้างอิงจาก  ภาควิชาคุรุศาสตร์เครื่องกลคณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

http://mte.kmutt.ac.th/elearning/Electronic_Fuel_Injection_System/unit1-2.htmlเพิ่มเติมเพิ่มเติม

เขียนโดย Unknown ที่19:51

ความหมายของอัตราส่วนผสมหนา

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

          โดยสรุป คือ 14.7 เป็นค่ามาตรฐานของรถบ้านทั่วไปที่ใช้เชื้อเพลิงเบนซินปกติ แต่ถ้าเห็นตัวเลขขึ้นลงบ้างตามการเร่งเครื่องก็ไม่ต้องตกใจ เพราะเป็นค่าแปรผันไปตามรอบเครื่องยนต์ จากการเปิดลิ้นปีกผีเสื้อ ลองศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคลิปอธิบายที่มาของเลข 14.7 ได้ในคลิปด้านล่าง

(ต้องใช้หัวเทียน) ซึ่งใช้เชื้อเพลิงได้หลายชนิด แต่ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงแก๊สโซลีนเรียกว่าเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (Gasoline Engine) ทั่วไปจะมีอัตราส่วนการอัดหรือ CR (Compression Ratio) ประมาณ 9 - 11.5 : 1 และมีอัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงทางทฤษฎี (Theoretical Air-Fuel Ratio) เท่ากับ 14.7 : 1 คิดโดยน้ำหนัก

ความหมายของอัตราส่วนผสมหนา

รูปที่ 1 อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงทางทฤษฎีของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน



ความหมายของอัตราส่วนผสมหนา

รูปที่ 2 แสดงแก๊สพิษทั้ง 3 ชนิดของแต่ละช่วงอัตราส่วนอากาศต่อเชื้อเพลิง



ความหมายของอัตราส่วนผสมหนา

รูปที่ 3 แสดงกำลังและความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงเทียบกับอัตราส่วนอากาศต่อเชื้อเพลิง


          อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงจากรูปที่  2 และ 3 สรุปอัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงได้ดังต่อไปนี้             

          16 18 :1  ส่วนผสมจะบางทำให้ประหยัดเชื้อเพลิง มีแก๊สพิษต่ำ แต่กำลังงานจะต่ำลง

          12 – 13 : 1  ส่วนผสมจะหนาทำให้สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง แต่เป็นช่วงให้กำลังงานสูงสุด

          9 – 10 : 1  ส่วนผสมจะหนามากทำให้สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงสูงมาก แก๊สพิษสูง


          จะเห็นได้ว่าอัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงมีผลต่อแก๊สพิษ (Emission Gas) และสมรรถนะกำลังงานของเครื่องยนต์อย่างมาก นอกจากนี้แล้วขณะสตาร์ตและช่วงอุ่นเครื่องยนต์ขณะที่อุณหภูมิต่ำ ส่วนผสมมจะต้องหนาด้วยเช่นกัน  เครื่องยนต์รุ่นเก่าจะใช้คาร์บูเรเตอร์ทำหน้าที่จัดจ่ายส่วนผสมแต่เครื่องยนต์รุ่นใหม่ใช้ระบบฉีดเชื้อเพลิงควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์หรือ EFI (Electronic Fuel Injection) เพื่อต้องการปรับปรุงให้เครื่องยนต์สามารถทำงานได้ดียิ่งขึ้น พร้อมทั้งปล่อยแก๊สพิษออกมาต่ำ ลง และยังต้องมีอุปกรณ์ขจัดแก๊สพิษเพิ่มเติมเช่น เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาหรือ