บริหาร การจัดการ โล จิ สติ ก ส์

การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics management) คือ ?

ปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจมีความรุนแรง เนื่องจากการเปิดเสรีทางการค้าที่มากขึ้นทำให้องค์กรธุรกิจต้องชิงความได้เปรียบจากคู่แข่งขันด้วยวิธีการต่างๆ การจัดการโลจิสติกส์คือเป้าหมายสำคัญที่ผู้ประกอบการจะนำมาใช้เป็นแนวทางเพื่อหาวิธีลดต้นทุนการผลิตให้ต่ำลง รวมทั้งมีการจัดระบบฐานข้อมูลโลจิสติกส์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน การจัดการโลจิสติกส์จึงมีความสำคัญต่อการดำเนินงานของค์กรธุรกิจเป็นอย่างมาก

การจัดการโลจิสติกส์ หมายถึงอะไร

การจัดการโลจิสติกส์ หมายถึง ระบบบริหารการสั่งซื้อ การจัดลำเลียงสินค้า การเคลื่อนย้ายการจัดเตรียมวัตถุดิบ และการจัดเก็บวัตถุดิบสินค้าระหว่างการผลิต หรือเป็นกระบวนการในการจัดการวางแผน

การจัดลำเลียงสินค้าเพื่อให้มีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด โดยเริ่มเกี่ยวข้องตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบไปจนถึงมือผู้บริโภค

กิจกรรมสำคัญของโลจิสติกส์

กิจกรรมหลัก

การขนส่ง ได้แก่ การขนส่งสินค้าระหว่างสถานที่ต่างๆทั้งในและต่างประเทศ

การสินค้าคงคลัง ได้แก่ การบริหารสินค้าคงคลังเพื่อให้เกิดการหมุนเวียนหรือกระขายสินค้าออกไปอย่างมีประสิทธิภาพ

กระบวนการสั่งซื้อ ได้แก่ การบริหารจัดการในเรื่องวัตถุดิบ จัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพและเพียงพอในเวลาที่เหมาะสม

กิจกรรมสนับสนุน

กิจกรรมสนับสนุนตามแนวทางการจัดการโลจิสติกส์ คือกิจกรรมที่สนับสนุนให้งานหลักดำเนินไปได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ได้แก่

การจัดการด้านโกดัง

การยกขนหรือการหีบห่อสินค้า

การจัดซื้อจัดหา

การจัดตารางผลิตภัณฑ์

การจัดการด้านข้อมูล

การจัดการโลจิสติกส์มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กรธุรกิจ ผู้ประกอบการจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในโลจิสติกส์พอสมควร เนื่องจากปัจจุบันองค์กรภาคเอกชนประสบปัญหาขาดแคลนบุคคลากรด้านโลจิสติกส์ โดยผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านโลจิสติกส์มีอยู่ไม่มากในตลาดแรงงาน 

ที่มา: http://www.im2market.com/2015/06/21/1453

การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management: SCM)

การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) นั้นเป็นการนำกลยุทธ์ วิธีการ แนวปฏิบัติ หรือทฤษฎี มาประยุกต์ใช้ในการจัดการ การส่งต่อ วัตถุดิบ สินค้า หรือบริการจากหน่วยหนึ่งในโซ่อุปทาน (Supply Chain) ไปยังอีกหน่วยหนึ่งอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีต้นทุนรวมในโซ่อุปทาน (Supply Chain) ต่ำที่สุด และได้รับวัตถุดิบ สินค้า หรือการบริการตามเวลาที่ต้องการ พร้อมกันนี้ ยังมีการสร้างความร่วมมือกันในการแบ่งปันข้อมูล ข่าวสาร  ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดก็ตาม เพื่อให้ทราบถึงความต้องการอันเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการส่งต่อของวัตถุดิบ สินค้า หรือการบริการนี้ นำไปสู่การได้รับผลประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่ายด้วย (ธนิตย์โสรัตน์. 2550)

ซึ่งสามารถสรุปความหมายของโซ่อุปทาน (Supply Chain) ได้ดังนี้ “การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management)” หมายถึง การบริหารจัดการกิจกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้องกันตั้งแต่ต้นน้ำ (วัตถุดิบ) จนถึงปลายน้ำ (สินค้าสำเร็จรูปหรือบริการ) ซึ่งมีลักษณะยาวต่อเนื่องกันเหมือนโซ่ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพตลอดกระบวนการผลิตจนถึงมือผู้บริโภค โดยการให้ความสำคัญต่อการสื่อสาร การวิเคราะห์ข้อมูล และนำไปใช้ร่วมกัน เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มในการดำเนินงานและเป็นการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน”

(ที่มา: http://www.logistics-adviser.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538773618) 

อ้างอิง: http://techno.kpru.ac.th/logistics/index.php/e-learning/13-e-learning/13-1?showall=&start=2

การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน (Logistic Management and Supply Chain)

ชื่อปริญญา

·บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน)
·บธ.บ. (การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน)
·Bachelor of Business Administration (Logistics and Supply Chain
Management)
·B.B.A. (Logistics and Supply Chain
Management)

  แผนการเรียน/โครงสร้างหลักสูตร

· 4 ปี 132 หน่วยกิต Download

แนะนำสาขา

· ปัจจุบันการดำเนินธุรกิจประสบการแข่งขันที่รุนแรงมาก ดังนั้นการดำเนินธุรกิจจึงต้องแสวงหาวิธีการหรือกลยุทธ์ใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่องค์กร หรือเพื่อความอยู่รอดขององค์กรทางธุรกิจ โลจิสติกส์เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่ช่วยในการวางแผน สนับสนุน ควบคุมการไหลเวียนของกิจกรรมต่าง ๆ เช่น สินค้าและบริการ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การจัดการคลังสินค้า บริหารต้นทุน การขนส่งไปถึงจุดที่มีการใช้งาน หรือถึงมือผู้บริโภค

การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน (Logistic Management and Supply Chain)

- ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง

- ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน นักวางแผนวัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า และนักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ

- ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก, ทางทะเล หรือทางอากาศ

- รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง
กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

- ประกอบกิจการธุรกิจส่วนตัวหรือที่ปรึกษาทางด้านการขนส่ง

อัตราเงินเดือน

เจ้าหน้าที่ระดับกลาง
เริ่มต้น 34,059 – 56,604 บาท

ระดับเจ้าหน้าที่ทั่วไป
เริ่มต้น 19,595 – 32,052 บาท

การจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชนเรียนอะไรบ้าง??

- ความรู้เบื้องต้นด้านโลจิสติกส์ และโซ่อุปทาน
- การจัดการสินค้าคงคลังและคลังสินค้า
- การจัดการขนส่ง
- การจัดการความเสี่ยงภัยและกฎหมายสำหรับโลจิสติกส์
- การจัดการการกระจายสินค้า
- การจัดการโซ่อุปทาน
- การจัดการธุรกิจการให้บริการโลจิสติกส์
- การจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ
- การบรรจุภัณฑ์สำหรับการจัดการโลจิสติกส์
- เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน

MOBILE FRIENDLY

No special actions required, all sites you make with Mobirise are mobile-friendly. You don't have to create a special mobile version of your site, it will adapt automagically.

MOBILE FRIENDLY

No special actions required, all sites you make with Mobirise are mobile-friendly. You don't have to create a special mobile version of your site, it will adapt automagically.

IT'S EASY AND SIMPLE

Cut down the development time with drag-and-drop website builder. Drop the blocks into the page, edit content inline and publish - no technical skills required.

IT'S EASY AND SIMPLE

Cut down the development time with drag-and-drop website builder. Drop the blocks into the page, edit content inline and publish - no technical skills required.

TRENDY WEBSITE BLOCKS

Choose from the large selection pre-made blocks - full-screen intro, bootstrap carousel, slider, responsive image gallery with, parallax scrolling, sticky header and more.

TRENDY WEBSITE BLOCKS

Choose from the large selection pre-made blocks - full-screen intro, bootstrap carousel, slider, responsive image gallery with, parallax scrolling, sticky header and more.

คณะบริหาร สาขาโลจิสติกส์ สอบอะไรบ้าง

อยากสอบติด คณะโลจิสติกส์.
PAT 1..
PAT 2..
PAT 3..
O-NET..

ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการจัดการโลจิสติกส์

การจัดการด้านโลจิสติกส์นั้นจะมีกระบวนการจัดการ เริ่มต้นด้วยการรวบรวมสินค้าที่ส่งมอบจากขั้นตอนแรกไปจนขั้นตอนการส่งมอบสินค้าที่จุดหมายปลายทาง โดยจะยึดจากความต้องการของลูกค้า มาตรฐานด้านอุตสาหกรรม และมาตรฐานด้านการขนส่ง นอกจากนี้การจัดการด้านโลจิสติกส์ยังช่วยในการวางแผนด้านกลยุทธและการดำเนินการอีกด้วย และในที่นี้จะอธิบาย ...

สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มีที่ไหนบ้าง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะ : วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเซน ... .
มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ คณะ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ... .
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะ : บริหารธุรกิจ ... .
มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ คณะ : บริหารธุรกิจ ... .
มหาวิทยาลัยเกริก คณะ : บริหารธุรกิจ ... .
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ... .
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ... .
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ข้อใดคือประโยชน์ของการจัดการโลจิสติกส์

คนทำธุรกิจต้องรู้ 5 ประโยชน์ของระบบโลจิสติกส์ สำหรับการทำธุรกิจ.
1 เป็นพื้นฐานให้ธุรกิจเติบโต.
2 ลดต้นทุน ทำกำไรเพิ่ม.
3 เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการ.
4 สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า.
5 ความรวดเร็วในการสื่อสาร.