การดำรงชีวิตของพืช ม.1 ppt

ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช from Kunnanatya Pare

การดํารงชีวิตของพืช

ครสู ฟุ ตรี ฮนิ นะ https://pixnio.com/th/

ตวั ชวี ดั

1. ทดสอบและบอกชนิ ดของสารอาหารทพ่ี ืชสังเคราะห์
ได้

2. สืบค้นข้อมูล อภปิ ราย และยกตวั อย่าง เก่ยี วกับการ
ใชป้ ระโยชน์ จากสารต่าง ๆ ทพ่ี ืชบางชนิ ดสรา้ งข้ึน

3. ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ ายเก่ยี วกบั
ปัจจัยภายนอกท่มี ผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช

4. สืบค้นข้อมลู เก่ยี วกบั สารควบคุมการเจรญิ เติบโตของ
พืชทม่ี นษุ ยส์ ังเคราะห์ข้ึนและยกตวั อยา่ งการนํ ามา
ประยกุ ต์ใชท้ างดา้ นการเกษตร

5. สังเกตและอธบิ ายการตอบสนองของพืชต่อส่ิงเรา้ ใน
รูปแบบต่าง ๆ ท่มี ผี ลต่อการดาํ รงชวี ิต


X
X

X

Question!

พืชมบี ทบาทสําคัญตอ่ ระบบ
นิ เวศอย่างไร?

ANSWER

พืชมีบทบาทเปนผผู้ ลิตของระบบนิ เวศ
ซ่งึ สามารถเปล่ยี นพลงั งานแสงเปนพลังงานเคมี
ในรูปของอาหารผา่ นกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง

การดํารงชวี ติ ของพืช

การสรางอาหารของพชื
การเจริญเตบิ โตของพชื

การตอบสนองตอส่ิงเรา ของพืช

การสรา้ งอาหารของพืช

คลอโรพลาสต์เป็นออรแ์ ก
เนลลส์ ําคัญในกระบวนการ
สั งเคราะห์ด้วยแสงของพืช

http://cellcomponents.weebly.com/chloroplast.html

กระบวนการสังเคราะหด ว ยแสง (Photosynthesis)

สารสี เปนสารทสี ามารถดดู กลนื
พลงั งานสีตา่ ง ๆ

คลอโรฟิลลเ์ ป็นสารสีหลักในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ซง่ึ จะดูดกลนื แสงสีนาเงนิ
และสีแดง แตจ่ ะสะทอ้ นแสงสีเขียว
พบในพืช สาหรา่ ย และไซยาโนแบคทเี รยี

แคโรทนี อยดเ์ ป็นสารประกอบประเภทไขมนั
ซง่ึ ดูดกลนื แสงสีเขียวไดด้ ีทส่ี ดุ พบในพืช
สาหรา่ ย และแบคทเี รยี

ไฟโคบลิ นิ เป็นสารสีทีพ่ บเฉพาะในสาหรา่ ยสี
แดงและสาหรา่ ยสีเขียวแกมนาเงนิ

ปัจจยั ในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

1. แสง : ทาํ ให้เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีระหว่างแก๊ส CO2 และ
นา

2. แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ : แกส๊ ท่เี กิดจากการหายใจ
ของพืชและสัตว์ ซง่ึ จะให้ธาตคุ ารบ์ อน เพ่ือนํ าไปใช้
สรา้ งสารประกอบคารโ์ บไฮเดรต

3. นา : นาจะให้ธาตุไฮโดรเจนและธาตอุ อกซเิ จนแกพ่ ืช
4. คลอโรฟิลล์ : เป็นสารสีท่พี บในคลอโรพลาสต์ของ

เซลลพ์ ืช ทําหน้ าทด่ี ดู กลนื พลงั งานแสงสีจากแสง
แดด ซง่ึ คลอโรฟิลล์เป็นโปรตนี ท่มี ธี าตุแมกนี เซยี ม
เหลก็ และแมงกานี สเป็นองค์ประกอบภายใน
โมเลกลุ

ปฏกิ ริ ยิ าการสังเคราะห์ดว้ ยแสง

แสง

6CO2 6H2 C6H12 6O
O O6
2
คลอโรฟล ล

https://www.youtube.com/watch?v=Yjc3IXSYKcM

ผลผลติ จาก
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง

• นาตาลกลโู คส
นาตาลท่ีสังเคราะห์ข้นึ จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วย

แสง ซง่ึ นาตาลบางส่วนถกู นํ าไปใชใ้ นกระบวนการหายใจ
ของพืชเพื่อเปล่ียนเป็นพลังงาน บางส่วนถกู เปลีย่ นเป็นแป้ง
และเกบ็ ไว้ท่ใี บ ลาํ ต้น และราก บางส่วนถูกนํ าไปสรา้ ง
เซลลโู ลส และบางส่วนจะรวมกับแรธ่ าตุในเซลล์พืชแลว้
เปลย่ี นเป็นสารประกอบอ่ืน ๆ เชน่ โปรตนี ไขมัน

• แก๊สออกซเิ จน
เป็นแก๊สท่ไี ด้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

และถกู นํ าไปใชใ้ นกระบวนการหายใจ

ทาํ แบบทดสอบ ในใบงาน

กจิ กรรม การทดสอบแปง จากการสังเคราะห
แสงในใบพชื

Before
กอ่ นหยดสารละลายไอโอดนี (ใบโดนแสงแดด)

กจิ กรรม การทดสอบแปงจากการสงั เคราะห
แสงในใบพืช

After
หลงั จากหยดสารละลายไอโอดนี 3 นาที

สารสังเคราะหจากพชื

สารทไ่ี ด้จากการสังเคราะห์ของพืชออกเป็น 2 กลุม่ ดงั นี้

สารประกอบปฐมภูมิ (primary
metabolites)

1. คารโ์ บไฮเดรต (carbohydrate) : ไดจ้ าก
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช โดยอยใู่ น
รูปนาตาลโมเลกลุ เดยี่ ว และสารประกอบพอ
ลิแซก็ คาไรด์

2. โปรตนี (protein) : ประกอบด้วยกรดอะมโิ น
เอนไซม์ และสารอนพุ ันธข์ องกรดอะมิโน

3. ไขมนั (fat) : นามนั พืชบางชนิ ด จะพบ B-sitosterol
เป็นสารตงั้ ต้นในการผลิดยาสเตยี รอยด์ สาร
เลซทิ นิ ชว่ ยในการย่อยอาหาร

สารสังเคราะหจากพชื

สารประกอบทุติยภมู ิ (secondary
metabolites)

1. อลั คาลอยด์ (aldaloid)
สารอัลคาลอยดจ์ ากพืชบางชนิ ดเป็นของเสียที่พืช
สรา้ งข้ึน ซง่ึ เป็นแหล่งของธาตไุ นโตรเจนทมี่ ีผลต่อ
การงอกของเมล็ด และชว่ ยป้องกันอนั ตราของโรคพืช
ทเี่ กดิ จากแมลง
❑ มอรฟ์ ีน ใชร้ กั ษาอาการเจ็บปวดจากบาดแผลท่มี ี

ขนาดใหญ่
❑ โคลชซิ นี ใชร้ กั ษาโรคเกาต์
❑ ควินี น ใชร้ กั ษาโรคมาลาเรยี

สารสังเคราะหจ ากพืช

สารประกอบทุติยภูมิ (secondary metabolites)

2. สารกลมุ่ ฟีนอลกิ (phenolic)
❑ วานิ ลลา เป็นสารตงั้ ตน้ ในการผลติ วานิ ลลา

ใชใ้ นอุตสาหกรรมอาหารและเครอ่ื งดม่ื
❑ แทนนิ น ใชใ้ นอุตสาหกรรมการฟอกหนั งสัตว์

ใชท้ ําลายเชอ้ื ราและแบคทเี รยี เป็นยารกั ษา
อาการทอ้ งรว่ ง
❑ แอนโทไซยานิ น สารสีละลายนาได้ ใชใ้ น

อุตสาหกรรมอาหารและเครอื่ งดื่ม
❑ ฟลาโวนอยด์ ใชเ้ ป็นยารกั ษาอาการทอ้ งรว่ ง อาการ

ฟกชาตามรา่ งกาย

สารสังเคราะหจ ากพชื

สารประกอบทตุ ยิ ภมู ิ (secondary metabolites)

3. เทอรฟ์ ีนอยด์และสเตยี รอยด์ (terpenoid and
steroid)
❑ แคโรทนี อยด์ ใชใ้ นอุตสาหกรรมเครอ่ื งสําอาง
❑ บีตาแคโรทนี ใชป้ ้องกนั การเกิดเซลล์มะเรง็
❑ แทกซอล ใชเ้ ป็นยารกั ษาโรคมะเรง็
❑ สตวี ิโอไซด์ ท่สี กดั จากหญ้าหวาน

ใชเ้ ป็นสารให้ความหวานแทนนาตาล

ลักษณะใดบ้างท่บี ง่ บอก
ว่าพืชมกี ารเจรญิ เตบิ โต

ปจจยั ทมี ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช

การเจรญิ เตบิ โตของพืช (plant growth) เป็น
กระบวนการท่พี ืชเพ่ิมความสงู ขนาด และการ
เปลย่ี นแปลงอวัยวะตา่ งๆ ไปทาํ หน้ าทเ่ี ฉพาะของพืช

การแบง เซลล

การขยายขนาดของเซลล
การเปลย่ี นแปลงรูปรางของ
เซลล

การแบงเซลล (cell divisions)

• การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ (mitosis
divisions)

การแบง่ เซลล์รา่ งกาย ทาํ ให้เซลล์ของรา่ งกายมี
จํานวนมากข้นึ และทําให้ส่ิงมชี วี ติ มกี ารเจรญิ
เตบิ โต

https://youtu.be/Ba9LXKH2ztU
http://igbiologyy.blogspot.com/2014/03/cell-division-mitosis-and-meiosis.html

การแบงเซลล (cell divisions)

• การแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ (Meiosis
divisions)

การแบ่งเซลล์สืบพันธุเ์ พ่ือสรา้ งเซลลส์ ืบพันธุ์
เพศชายหรอื เพศหญิง

http://igbiologyy.blogspot.com/2014/03/cell-division-mitosis-and-
meiosis.html

ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโตของพืช

ปัจจยั ภายนอก คือ สภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ ใน
บรเิ วณทีพ่ ืชเจรญิ เติบโต
❑ แสง
❑ นา
❑ แรธ่ าตุ
❑ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
❑ แก๊สออกซเิ จน
❑ และอื่นๆ

ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช

ปัจจยั ภายใน คือ ฮอรโ์ มนพืช ซง่ึ เป็นสาร
อนิ ทรยี ใ์ นกล่มุ ของโปรตีนทีพ่ ืชสังเคราะห์ข้นึ
แบง่ ออกเป็น 5 กล่มุ
❑ ออกซนิ
❑ ไซโตไคนิ น
❑ จบิ เบอเรลลนิ
❑ เอทลิ นี
❑ กรดแอบไซซกิ

ออกซิน

ฮอรโ์ มนพืชตัวแรกท่คี ้นพบ โดยเรม่ิ ศึกษาเก่ยี วกับ
กระบวนการโค้งงอการเข้าหาแสงของยอดอ่อนต้น
กลา้ พืชใบเลย้ี งเด่ยี ว (coleoptile) ต่อมาเรยี ก
phototropism

ออกซิน

หน้ าท่สี ําคัญ
▪ เรง่ การขยายตวั ของเซลล์ และกระต้นุ การแบง่ เซลล์
▪ กระตนุ้ การออกราก เรง่ การออกดอกของพืชบาง

ชนิ ด
▪ ยบั ยงั้ การเจรญิ ของตาขา้ ง ป้องกนั ใบรว่ ง เปลยี่ น

เพศดอก

ไซโตไคนิ น

เป็นฮอรโ์ มนท่คี ้นพบจากการทําวิจยั ดา้ นการ
เพาะเลย้ี งเน้ื อเยอ่ื พืช
หน้ าท่สี ําคัญ
▪ กระตนุ้ การแบง่ เซลลแ์ ละเรง่ การขยายตัวของ

เซลล์
▪ ส่งเสรมิ การเจรญิ ของตาขา้ ง ชะลอการแก่

ของใบ
▪ ชว่ ยการงอกของเมลด็ ควบคุมการเปิดปิด

ของปากใบ
▪ ทํางานรว่ มกบั Auxin

ไซโตไคนิ น

จบิ เบอเรลลิน

• ฮอรโ์ มนพืชทค่ี ้นพบจากปัญหาโรคชนิ ดหน่ึ งของข้าว
ซง่ึ จะให้ผลผลิตตา มีลาํ ตันสูงยาว ต่อมา พบวา่
สาเหตมุ าจากรา ทช่ี อื่ วา่ Gibberella fujikuroi และ
ได้ทาํ การแยกเชอ้ื ให้บรสิ ทุ ธแ์ิ ละตัง้ ชอื่ วา่
Gibberellin

จิบเบอเรลลนิ

หน้ าที่สําคัญ
▪ เรง่ การขยายตวั ของเซลล์ และการยดื ของ

ลาํ ต้น
▪ เรง่ การออกดอก
▪ ชว่ ยการงอกของเมลด็ และตา(bud)

เอทลิ นี

เป็นฮอรโ์ มนทีเ่ รง่ การสกุ ของผลไม้ โดยมกี ารปลอ่ ย
สารระเหยออกมา นอกจากการเรง่ การสกุ แลว้ มกี าร
รว่ งของใบ การออกดอกของสับปะรด การเพ่ิม
ปรมิ าณนายางพารา เป็นตน้

หนาที่สําคัญ
▪ กระตุนการสุกของผลไม
▪ กระตนุ การรวงของใบ
▪ กระตนุ การออกดอก
▪ ยับยงั้ การยดื ตวั ของลาํ ตน

บม่ ดว้ ย เอทลี ีน

http://www.student.
chula.ac.th/~59370
537/ethylene.html

กรดแอบไซซกิ (ABA)

ค้นพบจากการศึกษาการเรง่ กระบวนการรว่ งของใบ
เรยี กวา่ Abscission และเมอ่ื ทําให้สารมคี วามบรสิ ทุ ธ์ิ
ค้นพบว่าเป็นสารตวั เดียวกันกับสารยับยงั้ การเจรญิ
ของตา เรยี กว่า dormin และสารยับยงั้ การยดื ตัวของ
coleoptile โดย Auxin

หน้ าทส่ี ําคัญ
▪ ยบั ยงั้ การเจรญิ หรอื ยบั ยงั้ การทํางานของ

ฮอรโ์ มนชนิ ดอนื่ ๆ
▪ ยบั ยงั้ การงอกของเมล็ด
▪ กระตุ้นการปิดของปากใบเมอ่ื ขาดนา

การตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าของพืช

Question!

เพราะเหตใุ ด พืชจึงมี
การเจรญิ ของลาํ ตน้
และรากในทศิ ทาง

ตรงข้ามกัน

Answer

เพราะพืชสว นใหญท่ีเปนไมยืนตนจะมีการเจริญของลําตน ขึน้ ดา น
บนเพอ่ื ชใู บรบั แสง แตสําหรับรากจะเจริญลงสูดนิ เพ่ือดูดนา้ํ และแร
ธาตทุ ี่อยใู นดนิ เขา สูลาํ ตน เพ่ือใชใ นการเจริญเตบิ โต

การตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ ของพืชจะ
เกย่ี วข้องกับการสื่อสารระหว่างเซลล์

ประกอบด้วย 3 ส่วน

1. การรับสัญญาณ (reception)
2. การส่งสัญญาณ (signal

transduction)
3. การตอบสนอง (response)

การเคลอื่ นไหวของพืช ในการตอบสนองต่อส่ิงเรา้
แบ่งออกเป็น 2 แบบ

1. ทรอปิกมูฟเมนต์ (tropic movement)
การเคลือ่ นไหวของพืชทม่ี ีทศิ ทางสัมพันธก์ บั ส่ิง

เรา้ ภายนอก ซง่ึ อาจจะเบนเข้าหาหรอื เบนออกจาก
ส่ิ งเรา้

2. แนสตกิ มฟู เมนต์ (nastic movement)
การเคล่อื นไหวของพืชทต่ี อบสนองแบบไม่มที ศิ ทางท่ี

แน่ นอนสัมพันธก์ ับส่ิงเรา้ ซง่ึ เกิดจากการเปล่ยี นแปลง
ปรมิ าณนาในเซลล์ การเปล่ยี นแปลงแรงดนั เต่งภายใน
เซลล์ หรอื การเจรญิ เตบิ โตของส่วนต่าง ๆ ไมเ่ ทา่ กัน

nastic Tropic
movement movement

nastic Tropic
movement movement

จบ แลว จา
Good luck!