การ ละเมิดลิขสิทธิ์ ทาง อ้อม : คือ

เราเชื่อว่าทุกคนคงคุ้นเคยกับคำว่า “ลิขสิทธิ์” กันเป็นอย่างดีใช่ไหมหล่ะ แต่ถึงจะเคยได้ยินบ่อยๆ ความจริงแล้วเราเข้าใจเกี่ยวกับการคุ้มครองลิขสิทธิ์มากน้อยแค่ไหน ? ร็ไหมว่ากฎหมายลิขสิทธิ์คืออะไร ? และการกระทำแบบใดบ้างที่เข้าข่ายละเมิดลิขสิทธิ์ วันนี้ ShopBack Blog มีคำตอบมาฝากและอยากชวนเพื่อนๆ มาเติมความรู้ให้เท่าทันคำว่าลิขสิทธิ์กันค่ะ

คลิกสมัครใช้ ShopBack          รับข่าวสารเงินคืน          แชร์โปร เก็บดีล ShopBack ชวนฟัง : “Blog เล่า” ช่องที่จะพาคุณฟัง เรื่อง Unseen ครอบจักรวาล ที่คุณควรจะรู้ แต่ยังไม่รู้!

❤︎ ฟังสบาย Unseen ได้ทุกเดือนที่ Youtube : Blog เล่า
❤︎ อัปเดตเรื่องราว Unseen กันต่อได้อีกที่ twitter : @BlogLao_Unseen

การ ละเมิดลิขสิทธิ์ ทาง อ้อม : คือ

ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิของบุคคลเพียงคนเดียวที่จำทำการใดๆ กับงานสร้างสรรค์ที่ผู้สร้างได้ใช้ความรู้ความสามารถสร้างขึ้นมาโดยไม่ลอกเลียนคนอื่น แต่ใช่ว่างานสร้างสรรค์ทุกอย่างบนโลกจะมีลิขสิทธิ์นะคะ เพราะตามนิยามกฎหมายลิขสิทธิ์คืองานนั้นต้องจัดอยู่ในประเภทที่กฎหมายคุ้มครอง โดยผู้สร้างสรรค์ผลงานจะได้รับความคุ้มครองทันทีที่สร้างชิ้นงานนั้นๆ ขึ้น หรือก็คือ “ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นได้ทันทีหากงานสร้างสรรค์นั้นจัดอยู่ในประเภทงานที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย” นั่นเอง

ส่วนใครอยากแจ้งต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญาว่าตนเองเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในผลงานชิ้นนั้นก็สามารถทำได้นะคะ ซึ่งการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์นี้จะเป็นการแจ้งต่อหน่วยงานราชการว่าเราคือเจ้าของสิทธิ์ในผลงานชิ้นนั้นๆ แต่! หากมีกรณีพิพาทว่าใครเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ตัวจริงก็ต้องมีการพิสูจน์ความเป็นเจ้าของกันต่อไป เปรียบเทียบง่ายๆ ก็คือเหมือนเราบอกทางราชการว่าเราคือเจ้าของผลงานให้พวกเขารับรู้ไว้ก่อน แต่หน่วยงานไม่ได้รับรองให้ว่าเราคือเจ้าของ ถ้าเกิดมีใครมาโต้แย้งเรื่องความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์กับเราในอนาคต ก็ต้องมีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงกันค่ะ

การ ละเมิดลิขสิทธิ์ ทาง อ้อม : คือ

กฎหมายลิขสิทธิ์คืออะไร ?

การ ละเมิดลิขสิทธิ์ ทาง อ้อม : คือ

กฎหมายลิขสิทธิ์คือกฎหมายที่บัญญัติขึ้นเพื่อประโยชน์ของผู้สร้างสรรค์ผลงานก็จริง แต่หากเราอ่านมาถึงตรงนี้เพื่อนๆ คงรู้แล้วว่ากฎหมายนี้ยังมีประโยชน์ทางอ้อมในการกระตุ้นให้คนทั่วไปอยากสร้างผลงานดีๆ ออกมาเผยแพร่สู่สาธารณะเพื่อให้สังคมและประเทศของเราพัฒนาไปอย่างยั่งยืนด้วย และถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมายลิขสิทธิ์มาเป็นเวลานานแล้ว แต่ความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในเรื่องลิขสิทธิ์ของคนไทยยังมีน้อยมาก ดังนั้น ShopBack Blog จึงขอเป็นหนึ่งในกระบอกเสียงเผยแพร่ความเข้าใจเรื่องลิขสิทธิ์และหวังว่าบทความนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ทุกคนนะคะ 

งานสร้างสรรค์ที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ต้องเป็นงานในสาขา วรรณกรรม นาฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ รวมถึงงานอื่น ๆ ในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ งานเหล่านี้ถือเป็นผลงาน ที่เกิดจากการใช้สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ ในการสร้างสรรค์งานให้เกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ

งานสร้างสรรค์ที่มีลิขสิทธิ์ ประกอบด้วยงานต่างๆ ดังนี้

            งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์

            งานนาฎกรรม เช่น งานเกี่ยวกับการรำ การเต้น การทำท่า หรือการแสดงที่ประกอบเป็นเรื่องเป็นราว การแสดงโดยวิธีใบ้

            งานศิลปกรรม เช่น งานด้านจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ภาพประกอบแผนที่ โครงสร้าง ศิลปประยุกต์ ภาพถ่าย และแผนผัง ของงานดังกล่าว

            งานดนตรีกรรม เช่น เนื้อร้อง ทำนอง โน๊ตเพลงที่ได้แยกแยะเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว

            งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีดีโอเทป แผ่นเลเซอร์ดิสก์ เป็นต้น

            งานสิ่งบันทึกเสียง เช่น เทปเพลง แผ่นคอมแพคดิสก

            งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ

      งานดัดแปลง หมายถึง การทำซ้ำโดยเปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์

      งานรวบรวม หรือประกอบเข้าด้วยกัน โดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์

      -  สิ่งที่กฎหมายไม่คุ้มครอง ได้แก่

      -  แนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์

      -  ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใช้ หรือการทำงาน  

สิ่งที่ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์

      -  ผลงานดังต่อไปนี้เป็นผลงานที่ไม่ถือว่ามีลิขสิทธิ์

      -  ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร

      -  ประกาศ คำสั่ง ระเบียบ คำชี้แจง ของหน่วยงานรัฐหรือท้องถิน

      -  คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ

      -  คำแปล และการรวบรวมสิ่งต่างๆ ข้างต้น ที่หน่วยงานของรัฐหรือท้องถิ่นจัดทำขึ้น 

การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์
สิทธิในลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันที นับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงานออกมาโดยไม่ต้องจดทะเบียน หรือผ่านพิธีการใด ๆ

การคุ้มครองลิขสิทธิ์
ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการใช้ประโยชน์จากผลงานสร้างสรรค์ของตน ในการทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน รวมทั้งสิทธิในการให้เช่า โดยทั่วไปอายุการคุ้มครองสิทธิจะมีผลเกิดขึ้นทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงาน โดยความคุ้มครองนี้จะมีตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และคุ้มครองต่อไปอีก 50 ปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต

ประโยชน์ต่อผู้บริโภค
การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิในผลงานลิขสิทธิ์ มีผลให้เกิดแรงจูงใจแก่ผู้สร้างสรรค์ ผลงานที่จะสร้างสรรค์ผลงานที่มีประโยชน์ มีคุณค่าทางวรรณกรรมและศิลปกรรมออกสู่ตลาด ส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับความรู้ ความบันเทิง และได้ใช้ผลงานที่มีคุณภาพ

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์มีวัตถุประสงค์ให้ความคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ทั้งทางเศรษฐกิจและทางศีลธรรม ซึ่งบุคคลพึงได้รับจากผลงานสร้างสรรค์อันเกิดจากความนึกคิดและสติปัญญาของตน นอกจากนี้ยังมุ่งที่จะสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงาน กล่าวคือ เมื่อผู้สร้างสรรค์ได้รับผลตอบแทนจากหยาดเหงื่อแรงกายและสติปัญญาของตน ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากการลงทุน ก็ย่อมจะเกิดกำลังใจที่จะคิดค้นสร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานให้แพร่หลายออกไปมากยิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาสติปัญญาของคนในชาติ เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไปในอนาคต

การ ละเมิดลิขสิทธิ์ ทาง อ้อม : คือ
            ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ได้ให้ความหมายของคำว่า "ลิขสิทธิ์" ว่า หมายถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะทำการใดๆตามพระราชบัญญัตินี้" เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น นั่นก็หมายความ ว่า เจ้าของลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวเท่านั้นที่มีสิทธิจะทำอย่างไรก็ได้ กับงานอันมีลิขสิทธิ์ของตนเอง

การละเมิดลิขสิทธิ์มีด้านใดบ้าง

การละเมิดลิขสิทธิ์ มี 2 ลักษณะ คือ 1. การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง คือ การทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ผลงานที่ได้รับความคุ้มครองต่อสาธารณชน โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของ 2. การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม คือ การกระทำทางการค้า หรือการกระทำที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์

พฤติกรรมข้อใดเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ทางอ้อม

- การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม : คือ การกระทำทางการค้า หรือการกระทำที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าว ข้างต้น โดยผู้กระทำรู้อยู่แล้วว่างานใดได้ทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น แต่ก็ยังกระทำเพื่อหากำไรจากงานนั้น ได้แก่ การขาย มีไว้เพื่อขาย ให้เช่า เสนอให้เช่า ให้เช่าซื้อ เสนอให้เช่าซื้อ

การละเมิดลิขสิทธิ์มีกี่ทาง

ในส่วนที่เกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ทางวิชาการ แบ่งได้เป็น 2 ทาง ตามที่กฎหมายได้บัญญัติหลักโดยทั่วไปไว้ ได้แก่ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง และโดยอ้อม ดังนี้ (สุภาภรณ์ ศรีดี 2547: (หน่วยที่ 6) หน้า 67-69) 1.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง หมายถึง การกระทำต่องานอันมีลิขสิทธิ์โดยไม่ได้ขออนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ คือ

การละเมิดสิทธิโดยตรงคืออะไร

การละเมิดลิขสิทธิ์ หมายถึงการนำผลงานของผู้อื่นมาใช้ เผยแพร่ ดัดแปลง ทำซ้ำ โดยผู้เป็นเจ้าของผลงานไม่อนุญาตหรือไม่ได้รับทราบ ปกติแล้วผลงานใดๆ อาทิ สิ่งประดิษฐ์ วรรณกรรม ศิลปกรรม ฯลฯ เป็นกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์โดยปริยาย การนำผลงานมาใช้อาจมีเงื่อนไขบางประการเรียกว่าสัญญาอนุญาต ซึ่งกำหนดโดยเจ้าของผลงานหรือ ...