วิธีทําสบู่เหลวสมุนไพร ตะไคร้

อย่างเช่น PSA SERVICE & SUPPLY เป็นโรงงานผลิตของใช้ในโรงแรม สบู่โรงแรม แชมพูโรงแรม และอีกมากมาย คัดสรรวัตถุดิบที่ดีมีคุณภาพ ใส่ใจทุกขั้นตอนการผลิต โรงงานมีมาตรฐานสากลรองรับ ต้องการสินค้าแบบไหนสามารถผลิตได้ตามความต้องการ พร้อมให้คำปรึกษาตลอดการผลิต

วิธีทําสบู่เหลวสมุนไพร ตะไคร้
(Liquid Soap)==�Ըշ�ʺ����ҧ��͵�������(���������ͷ���)

���͹� ���˹��ҧ� �ͧ�ҷ�ʺ����ҧ�����ѹ�ͧ�ٹШ��
�ѹ�����ҡ������� �ͧ�Ӵٹ� ��������������ѹ�ѧ�Ш�� ������ѧ��º�ҧ(����觷����ͧ͢ ���仴�㹺��͡�ͧ��ҵç links �Ф�� ����ʵ�����觫������������¹� )

�Ҵ���ǹ����ѹ��͹
1. N-70                      30 g
2. Sodium Chloride      6  g
3. KD                        7.5 g
4. Water                  200 g
5. ���������                5 g
6. Glydant                 2.5 g
7. FO/EO                  ����ҳ����ͺ

�������� 15 �.�. 51 19:29:29

�������� 15 �.�. 51 19:17:55

วิธีทําสบู่เหลวสมุนไพร ตะไคร้

�ҡ�س : soapy

วิธีทําสบู่เหลวสมุนไพร ตะไคร้
วิธีทําสบู่เหลวสมุนไพร ตะไคร้
- [ 15 �.�. 51 19:10:19 ]

ขั้นตอนการทำสบู่เหลวแบบธรรมชาติ

1.เทสารละลายด่างลงในน้ำมัน
2.ใช้ไม้พายกวนส่วนผสมให้เข้ากัน
3.เทส่วนผสมลงในหม้อต้มสองชั้น นำขึ้นตั้งไฟปานกลาง กวนต่อไปเรื่อยๆ
4.เมื่อส่วนผสมเริ่มทำปฏิกิริยารวมกันเป็นสบู่จะมีลักษณะเป็นของเหลวข้นคล้ายนมข้นหรือครีมสลัด
5.กวนต่อไปเรื่อยๆ สบู่จะเปลี่ยนจากของเหลวเป็นเหนียวข้นคล้ายแป้งเปียกหรือผลไม้กวน
เคี่ยวต่อไปอีก 2 ชั่วโมง เนื้อสบู่จะเป็นสีใสขึ้น
6.นำหม้อขึ้นตั้งไฟ เติมน้ำสะอาด 2-3 เท่า ต้มให้เดือด แล้วตักเนื้อสบู่ทั้งหมดใส่ในหม้อ
7.ใช้ไฟปานกลาง กวนเบาๆ ไปสักครู่ ยกลงจากเตา
8.ปิดฝาหม้อ ตั้งทิ้งไว้ข้ามคืน
9.รุ่งเช้าเปิดฝาหม้อดูจะพบว่า เนื้อสบู่ที่เหนียวข้นจะละลายหมดกลายเป็นสบู่เหลว

2. สารสกัดจากสมุนไพรที่หาได้ในชุมชน ชนิดใดชนิดหนึ่ง (ขมิ้นชัน, แตงกวา, นมถั่วเหลือง, ครีมขาว, ใบบวบ, ดอกกุหลาบ, ส้ม, มะเฟือง, ฟ้าทะลายโจร, พญาลอ, ว่านหางจระเข้, ใบบัวบก, มะขามเปียก, มะละกอ, กล้วยน้ำว้า, เสารส, สับปรด, แตงโม เป็นต้น จำนวน 200-350 มิลลิลิตร (4 ช้อนโต๊ะ)

3. น้ำผึ้ง จำนวน 4 ช้อนโต๊ะ

4. กลิ่นปรุงแต่งตามใจชอบ

วิธีทำ :

- ให้นำสารสกัดจากสมุนไพรที่เตรียมไว้ 100 กรัม ล้างให้สะอาด ปั่นกับน้ำกรอง 200-350 มิลลิลิตร กรองเอากากออก น้ำที่ได้จะเป็นสีออกมาคลายๆกับสีของวัตถุดิบนั้นๆ กลิ่นหอมสดชื่นตามธรรมชาติ แล้วนำมาผสมกับน้ำผึ้งอีก 4 ช้อนโต๊ะ

- ใช้หม้อสแตนเลสจะทำให้ร้อนทั่วถึง ใช้ไฟอ่อนๆ ต้มจนเกล็ดสบู่ละลายแล้วเติมน้ำผึ้ง 4 ช้อนโต๊ะ นำน้ำสมุนไพรที่เตรียมไว้เติมลงไป แล้วใส่น้ำหอมกลิ่นตามต้องการ เสร็จแล้วเทใส่พิมพ์ พอสบู่เย็นลงให้ตัดสบู่เป็นก้อนๆ ตามขนาดที่ต้องการ

วิธีใช้และประโยชน์ :

- ใช้อาบน้ำและล้างหน้า
- ช่วยขจัดคราบสกปรกบนใบหน้าและร่างกาย
- ช่วยบำรุงผิวพรรณให้สดชื่นผ่องใส ตามสรรพคุณของสารสกัดสมุนไพรที่ใช้

** สมุนไพรที่สามารถนำมาทำสบู่ได้มีหลากหลายชนิด เช่น ขมิ้นชัน, แตงกวา, นมถั่วเหลือง, ครีมขาว, ใบบวบ, ดอกกุหลาบ, ส้ม, มะเฟือง, ฟ้าทะลายโจร, พญาลอ, ว่านหางจระเข้, มะขามเปียก, มะละกอ, กล้วยน้ำว้า, อาโวกาโด, สับปะรด, เสาวรส, แตงโม ฯลฯ

การทำสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ, การทำสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ หมายถึง, การทำสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ คือ, การทำสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ ความหมาย, การทำสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ คืออะไร

การทำสบู่เหลวและสมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ

การทำสบู่เหลว

วัสดุ

๑.น้ำหมักชีวภาพ ๕ ช้อนโต๊ะ ๒.น้ำ ๓ ลิตร

๓.ผงฟอง ( N ๗๐ ) ๒ ช้อนโต๊ะ ๔.ตะไคร้หั่นฝอย ๑๐ ต้น

๕.มะขามเปียก ครึ่งกิโลกรัม

วิธีทำ

๑. นำผงฟองมาละลายกับน้ำ

๒.นำน้ำมาต้ม ใส่ตะไคร้ มะขามเปียกตอนเดือด

๓.เมื่อน้ำเดือดยกลง ทิ้งไว้จนอุ่น กรองเอาแต่กากทิ้ง

๔.นำน้ำที่ได้มาผสมกับผงฟองที่ละลายน้ำแล้วคนให้ทั่ว

๕.เติมน้ำหมักชีวภาพ

ประโยชน์

ใช้อาบน้ำ ทำความสะอาดร่างกาย

สมุนไพรพื้นบ้านที่น่าสนใจ

กระดังงาไทย: แก้ลมวิงเวียน ชูกำลัง ทำให้รูสึกสดชื่น ปลอดโปร่ง ร่างกายแข็งแรงเสมอ

ใบชา: ทำให้เกิดความชุ่มชื้น ชูกำลัง บำรุงโลหิต ขับลม แก้อาการเสมหะ

ยางกำยาน: บำรุงหัวใจ ทำให้สดชื่น บำรุงร่างกาย

ดอกกรรณิกา: แก้ลมวิงเวียนได้ดี ชูกำลัง ทำให้รูสึกสดชื่น ปลอดโปร่ง ร่างกายแข็งแรงเสมอ

ดอกงิ้ว: แก้อาการประสาท แก้พิษไข้

รากงิ้ว: บำรุงร่างกาย แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน

ดอกจำปา: แก้ลมวิงเวียนได้ดี แก้อ่อนเพลีย บำรุงหัวใจ

ลูกชุมเห็ดไทย: ชูกำลัง ทำให้เกิดความชุ่มชื้น และแก้อาการช้ำบวม

รากตะไคร้ต้นหรือตะไคร้บก: ขับลมที่เกิดในลำไส้

รากมะกรูด: แก้อาการเป็นลม แน่น จุกเสียด ถอนพิษ

มะตูมสุก: แก้ลมจุกเสียด แน่น แก้กระหายน้ำ ขับลม ช่วยย่อยอาหาร

ดอกขิงแห้ง: บำรุงกำลังร่างกาย บำรุงธาตุได้อีก แก้อ่อนเพลีย

หัวถั่วพู: บำรุงกำลังร่างกาย ชูกำลัง แก้อาการอ่อนเพลีย

บัวบก: บำรุงกำลัง บำรุงหัวใจ

รากมะนาว: บำรุงประสาท แก้อาการเป็นไข้ ทำให้กล้ามเนื้อไม่ปวดเมื่อยแต่แข็งแรงดี

กฤษณา: บำรุงกำลังร่างกาย แก้อาการเป็นลม หน้ามืดวิงเวียนได้ดีมาก

แก่นขนุน: บำรุงกำลัง บำรุงร่างกาย

ดอกคำฝอย: บำรุงร่างกาย บำรุงกำลัง สร้างโลหิตทำให้บริสุทธิ์ บำรุงหัวใจได้ดี ขับประจำเดือน แก้อาการปวดแสบร้อนที่ผิวหนัง