มาตรฐานวิชาชีพครู 2564 มีกี่มาตรฐาน

มาตรฐานวิชาชีพครู 2564 มีกี่มาตรฐาน

มาตรฐานความรู้

      ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2556 เพิ่มมาตรฐานวิชาชีพครูเป็น 11 มาตรฐาน (จากเดิมมีเพียง 9 มาตรฐาน) โดยเพิ่ม 2 มาตรฐาน  เพิ่มมาตรฐาน “ปรัชญาการศึกษา” , “คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ” และได้จัดให้มาตรฐาน “การจัดการเรียนรู้” และ “การบริหารจัดการในห้องเรียน” จากเดิมที่แยกเป็น 2 มาตรฐาน รวมไว้ด้วยกันเป็น 1 มาตรฐาน และเปลี่ยนแปลงบางมาตรฐานเช่น เดิม มาตรฐานภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู ก็เปลี่ยนเป็น ภาษาและวัฒนธรรมแทน

มาตรฐานความรู้ ทั้ง 11 มาตรฐาน ประกอบด้วยความรู้ดังต่อไปนี้

            1.ความเป็นครู

            2.ปรัชญาการศึกษา  ( เพิ่มเติม )

            3.ภาษาและวัฒนธรรม (เดิม “ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู”)

            4.จิตวิทยาสำหรับครู

            5.การพัฒนาหลักสูตร 

            6.การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน (รวมจาก 2 มาตรฐานเป็น 1 มาตรฐาน)

            7.การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (เดิม “การวิจัยทางการศึกษา”)

            8.นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

            9.การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

          10.การประกันคุณภาพการศึกษา

          11.คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ  ( เพิ่มเติม )

สาระความรูและสมรรถนะของครู 

    1.ความเปนครู 

สาระความรู  : 1) ความสําคัญของวิชาชีพครู บทบาทหน้าที่ ภาระงานของครู 

                         2) พัฒนาการของวิชาชีพครู 

                         3) คุณลักษณะของครูที่ดี 

                         4.) การสร้างทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพครู 

                         5) การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเปนครู 

                         6) การเปนบุคคลแหงการเรียนรูและการเปนผูนําทางวิชาการ 

                         7) เกณฑมาตรฐานวิชาชีพครู 

                         8) จรรยาบรรณของวิชาชีพครู 

                         9) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา 

สมรรถนะ     :  1) รักเมตตาและปรารถนาดีตอผูเรียน 

                         2) อดทนและรับผิดชอบ 

                         3) เป็นบุคคลแหงการเรียนรูและเปนผูนําทางวิชาการ 

                         4) มีวิสัยทัศน 

                         5) ศรัทธาในวิชาชีพครู 

                         6) ปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู

     2. ภาษาและวัฒนธรรม ( เดิม " ภาษาและเทคโนโลยีสําหรับครู " ) 

สาระความรู  :  1) ภาษาไทยสําหรับครู 

                        2) ภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอื่นๆสําหรับครู 

                        3) เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครู  

สมรรถนะ     :  1) สามารถใช ทักษะในการฟง การพูด การอาน การเขียนภาษาไทย เพื่อการสื่อความหมายได อยางถูกต้อง 

                        2) สามารถใช ทักษะในการฟงการพูดการอาน การเขียนภาษาอังกฤษ หรือภาษาตางประเทศอื่นๆ เพื่อการสื่อความหมายไดอยางถูกต้อง 

                        3) สามารถใช คอมพิวเตอรขั้นพื้นฐาน 

    3. การพัฒนาหลักสูตร 

สาระความรู   : 1) ปรัชญาแนวคิดทฤษฎีการศึกษา 

                          2) ประวัติความเปนมาและระบบการจัดการศึกษาไทย 

                          3) วิสัยทัศนและแผนพัฒนาการศึกษาไทย 

                          4) ทฤษฎีหลักสูตร 

                          5) การพัฒนาหลักสูตร 

                          6) มาตรฐานและมาตรฐานชวงชั้นของหลักสูตร 

                          7) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 

                          8) ปญหาและแนวโนมในการพัฒนาหลักสูตร 

สมรรถนะ    :  1) สามารถวิเคราะหหลักสูตร 

                         2) สามารถปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรได อยางหลากหลาย 

                         3) สามารถประเมินหลักสูตรได ทั้งกอนและหลังการใชหลักสูตร 

                         4) สามารถจัดทําหลักสูตร 

    4. การจัดการเรียนรู 

สาระความรู   : 1) ทฤษฎีการเรียนรูและการสอน 

                         2) รูปแบบการเรียนรู และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน

                         3) การออกแบบและการจัดประสบการณการเรียนรู 

                         4) การบูรณาการเนื้อหาในกลุมสาระการเรียนรู 

                         5) การบูรณาการการเรียนรู แบบเรียนรวม 

                         6) เทคนิคและวิทยาการจัดการเรียนรู 

                         7) การใช และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู 

                         8) การจัดการเรียนรู้แบบยึดผูเรียนเปนสําคัญ 

                         9) การประเมินผลการเรียนรู 

สมรรถนะ     :  1) สามารถนําประมวลรายวิชามาจัดทําแผนการเรียนรู รายภาคและตลอดภาค 

                        2) สามารถออกแบบการเรียนรู ที่เหมาะสมกับวัยของผูเรียน 

                        3) สามารถเลือกใชพัฒนาและสร้างสื่ออุปกรณที่สงเสริมการเรียนรูของผูเรียน 

                        4) สามารถจัดกิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรูของผูเรียนและจําแนกระดับการเรียนรูของผูเรียนจากการประเมินผล 

    5. จิตวิทยาสําหรับครู 

สาระความรู   :  1) จิตวิทยาพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย 

                         2) จิตวิทยาการศึกษา 

                         3) จิตวิทยาการแนะแนวและใหคําปรึกษา 

สมรรถนะ     :  1) เข้าใจธรรมชาติของผูเรียน 

                        2) สามารถชวยเหลือผูเรียนใหเรียนรูและพัฒนาไดตามศักยภาพของตน 

                        3) สามารถใหคําแนะนําชวยเหลือผูเรียนใหมีคณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 

                        4) สามารถสงเสริมความถนัดและความสนใจของผูเรียน

    6. การวัดและประเมินผลการศึกษา 

สาระความรู   :  1) หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลทางการศึกษา 

                          2) การสร้างและการใชเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา 

                          3) การประเมินตามสภาพจริง 

                          4) การประเมินจากแฟมสะสมงาน 

                          5) การประเมินภาคปฏิบัติ 

                          6) การประเมินผลแบบยอยและแบบรวม 

สมรรถนะ        :  1) สามารถวัดและประเมินผลไดตามสภาพความเปนจริง 

                          2) สามารถนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการจัดการเรียนรูและหลักสูตร 

    7. การบริหารจัดการห้องเรียน 

สาระความรู     : 1) ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ 

                            2) ภาวะผูนําทางการศึกษา 

                            3) การคิดอยางเปนระบบ 

                            4) การเรียนรูวัฒนธรรมองคกร 

                            5) มนุษยสัมพันธ์ในองคกร 

                            6) การติดตอสื่อสารในองคกร 

                            7) การบริหารจัดการชั้นเรียน 

                            8) การประกันคุณภาพการศึกษา 

                            9) การทํางานเปนทีม 

                          10) การจัดทําโครงงานทางวิชาการ 

                          11) การจัดโครงการฝกอาชีพ 

                          12) การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา

                          13) การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ 

                          14) การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน 

สมรรถนะ        : 1) มีภาวะผูนํา 

                           2) สามารถบริหารจัดการในชั้นเรียน 

                           3) สามารถสื่อสารไดอยางมีคุณภาพ 

                           4) สามารถในการประสานประโยชน 

                           5) สามารถนํานวัตกรรมใหมๆ มาใชในการบริหารจัดการ  

    8. การวิจัยทางการศึกษา 

สาระความรู   : 1) ทฤษฎีการวิจัย 

                           2) รูปแบบการวิจัย 

                           3) การออกแบบการวิจัย 

                           4) กระบวนการวิจัย 

                           5) สถิติเพื่อการวิจัย 

                           6) การวิจัยในชั้นเรียน 

                           7) การฝกปฏิบัติการวิจัย 

                           8) การนําเสนอผลงานวิจัย

                           9) การค้นคว้าศึกษางานวิจัยในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้

                         10) การใชกระบวนการวิจัยในการแกปญหา 

                         11) การเสนอโครงการเพื่อทำวิจัย

สมรรถนะ     :  1) สามารถนําผลการวิจัยไปใชในการจัดการเรียนการสอน 

                         2) สามารถทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียน

    9. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 

สาระความรู : 1) แนวคิด ทฤษฎีเทคโนโลยี และนวัตกรรมการศึกษาที่สงเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู 

                        2) เทคโนโลยีและสารสนเทศ 

                        3) การวิเคราะหปญหาที่เกิดจากการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ 

                        4) แหลงการเรียนรูและเครือขายการเรียนรู 

                        5) การออกแบบการสร้าง การนําไปใช การประเมินและการปรับปรุง นวัตกรรม

สมรรถนะ     : 1) สามารถเลือกใช ออกแบบ สร้างและปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่ดี 

                        2) สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่ดี 

                        3) สามารถแสวงหาแหลงเรียนรู ที่หลากหลายเพื่อสงเสริมการเรียนรู้ของผูเรียน 

     มาตรฐานประสบการณ ของครู ผานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเปนเวลา ไม่น้อยกวา 1 ป และผานเกณฑการประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่ คณะกรรมการคุรุสภากําหนด ดังนี้ 

                                     1. การฝกปฏิบัติวิชาชีพระหวางเรียน  

                                     2. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ สาระการฝกทักษะและ สมรรถนะของครู 

1. การฝกปฏิบัติวิชาชีพระหวางเรียน 

สาระการฝกทักษะ     : 1) การบูรณาการความรู ทั้งหมดมาใชในการฝกประสบการณวิชาชีพในสถานศึกษา 

                                       2) ฝกปฏิบัติการวางแผนการศึกษาผูเรียนโดยการสังเกต สัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลและนําเสนอผลการศึกษา 

                                       3) มีสวนรวมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรรวมทั้ง การนําหลักสูตรไปใช 

                                       4) ฝกการจัดทําแผนการเรียนรูรวมกับสถานศึกษา 

                                       5) ฝกปฏิบัติการดําเนินการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยเขาไป มีสวนรวมในสถานศึกษา 

                                       6) การจัดทําโครงงานทางวิชาการ

สมรรถนะ     :    1) สามารถศึกษาและแยกแยะผูเรียนไดตามความแตกตางของผูเรียน 

                           2) สามารถจัดทําแผนการเรียนรู 

                           3) สามารถฝกปฏิบัติการสอน ตั้งแตการจัดทําแผนการสอน ปฏิบัติการสอน ประเมินผลและปรับปรุง 

                           4) สามารถจัดทําโครงงานทางวิชาการ 

2. การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 

สาระการฝกทักษะ      :  1) การบูรณาการความรูทั้งหมดมาใชในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 

                                         2) การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู ที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ 

                                         3) การจัดกระบวนการเรียนรู 

                                         4) การเลือกใชการผลิตสื่อและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู 

                                         5) การใชเทคนิคและยุทธวิธีในการจัดการเรียนรู 

                                         6) การวัดและประเมินผลการเรียนรู 

                                         7) การทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน 

                                         8) การนําผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 

                                         9) การบันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนรู 

                                       10) การสัมมนาทางการศึกษา 

สมรรถนะ      :     1) สามารถจัดการเรียนรูในสาขาวิชาเฉพาะ 

                             2) สามารถประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน 

                             3) สามารถทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน 

                             4) สามารถจัดทํารายงานผลการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาผูเรียน

มาตรฐานวิชาชีพครูมีกี่มาตรฐาน

ประกอบด้วยมาตรฐาน ๓ ด้าน คือ มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และ มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) โดยจรรยาบรรณของวิชาชีพได้มีการกาหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพื่อประมวล พฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างของการประพฤติปฏิบัติ ประกอบด้วย พฤติกรรมที่พึงประสงค์ และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์

มาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชีพครู มีกี่ข้อ

"มาตรฐานการปฏิบัติงานของครู 12 ข้อ" ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ (๑) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ (๒) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน

มาตรฐาน วิชาชีพ ครู 9 มาตรฐาน มี อะไร บ้าง

(1) มาตรฐานความรู้ที่เทียบโอน ประกอบด้วยมาตรฐานความรู้ที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของคุรุสภาว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 จำนวน 9 มาตรฐาน 1) ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู 2) การพัฒนาหลักสูตร 3) การจัดการเรียนรู้ 4) จิตวิทยาสำหรับครู 5) การวัดและประเมินผลการศึกษา 6) การบริหารจัดการในห้องเรียน 7) การวิจัย ...

สมรรถภาพ ตามมาตรฐานความรู้ของครู มีอะไรบ้าง

สมรรถนะ.
รักเมตตาและปรารถนาดีต่อผู้เรียน.
อดทนและรับผิดชอบ.
เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นผู้นําทางวิชาการ.
มีวิสัยทัศน์.
ศรัทธาในวิชาชีพครู.
ปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู.