ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

1. การสื่อสารแบบบนลงล่าง (Downward Communication)


เป็นการสื่อสารจากต่ำแหน่งที่สูงกว่าลงมาตำแหน่งที่ต่ำกว่าได้แก่ นโยบาย/เป้าหมายองค์กร,กฎระเบียบ,
การให้ข้อมูล ป้อนกลับเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้พนักงานรับทราบและปฏิบัติตาม

2 การสื่อสารแบบล่างขึ้นบน (Upward Communication)
เป็นการสื่อสารจากผู้ใต้บังคับบัญชาไปยังผู้บังคับบัญชา ได้แก่ ข้อคิดเห็น,ข้อเสนอแนะ,ข้อเรียกร้องจากพนักงาน
วัตถุประสงค์ คือเปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดงความคิดเห็น มีส่วนร่วมและเกิดความผูกพันกับองค์กรมากขึ้น

3. การสื่อสารในแนวนอน (Later or Horizontal Communication)
เป็นการสื่อสารระหว่างเพื่อร่วมงานในหน่วยงานเดี่ยวกัน
วัตถุประสงค์ เพื่อประสานการทำงาน ให้ข้อมูลการทำงานและเชื่อมความสัมพันธ์อันดี

4.การสื่อสารข้ามสายงาน
เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลที่อยู่คนละหน่วยงาน หรือระหว่างหน่วยงาน ได้แก่ ข้อมูลเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน,
ความคิดเห็น,การแลกเปลี่ยนความรู้
วัตถุประสงค์ เพื่อประสานการปฏิบัติงานร่วมกันและประสานความสัมพันธ์ อันดีระหว่างหน่วยงาน


เกร็ดความรู้กับธรรมนิติ : ทิศทางการสื่อสารในองค์กร

การสื่อสารข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับมีทิศทางการส่งข้อมูล (transmission mode) 3 รูปแบบ ดังนี้

1.การส่งข้อมูลทิศทางเดียว

          การสื่อสารข้อมูลทางเดียว (simplea transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทำหน้าที่ส่งแต่เพียงผู้เดียวและผู้รับทำหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว ตลอดการทำการสื่อสารข้อมูลกันผู้รับจะไม่มีการตอบกลับมายังผู้ส่งเลย การสื่อสารข้อมูลในลักษณะนี้ เช่น การรับฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ การรับข้อมูลจากเพจเจอร์ เป็นต้น

ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

2.การส่งข้อมูลสองทิศทางสลับกัน

          

การสื่อสารข้อมูลโดยการส่งข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (half-duplex transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผู้ส่งเเละผู้รับทำหน้าที่ผลัดกันส่งและรับ โดยที่ระหว่างฝ่ายหนึ่งทำหน้าที่ส่ง อีกฝ่ายหนึ่งจะต้องรอให้ผู้ส่งให้เสร็จก่อนถึงจะสามารถส่งกลับได้ นั่นคือ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง จะมีผู้ส่งเพียงฝ่ายเดียวเท่านั้น ไม่สามารถส่งโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน จึงเป็นการผลัดการส่งและรับข้อมูล เช่น การใช้วิทยุสื่อสาร เป็นต้น

ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

3.การส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน

           การสื่อสารข้อมูลโดยการส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (full-duplex transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ทั้งผู้ส่งและผู้รับสามารถเป้นผู้ส่งและผู้รับพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน นั่นคือ ระหว่างอีกฝ่ายหนึ่งทำการส่งข้อมูลอยู่ อีกฝ่ายหนึ่งก็สามารถส่งข้อมูลตอบกลับมาได้เลยโดย ไม่ต้องรอให้ส่งข้อมูลหมดก่อน เช่น การคุยโทรศัพท์ และการสนทนาผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นต้น

ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

ทิศทางการสื่อสารข้อมูล


ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

ทิศทางการสื่อสาร

ลักษณะการสื่อสาร

ทิศทางเดียว (Simplex)

เป็นทิศทางการสื่อสารที่ข้อมูลจะส่งจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง โดยที่ข้อมูลจะไม่สามารถ

ส่งย้อนกลับมาได้ เช่น วิทยุฟังเพลง

ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

ทิศทางการสื่อสาร

ลักษณะการสื่อสาร

กึ่งสองทิศทาง (Half Duplex)

เป็นทิศทางการสื่อสารที่สามารถส่งข้อมูลไปและรับสองทิศทางได้ แต่ไม่สามารถส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ ขณะที่เครื่องหนึ่งเป็นผู้รับอีกเครื่องจะเป็นผู้ส่ง เช่น วิทยุสื่อสาร

ทิศทางการสื่อสารมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

ทิศทางการสื่อสาร

ลักษณะการสื่อสาร

สองทิศทาง (Full Duplex)

เป็นทิศทางการสื่อสารที่สามารถส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกันได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ

ทิศทางการสื่อสารข้อมูลมีกี่รูปแบบ แต่ละรูปแบบมีอะไรบ้าง

1. การส่งข้อมูลทิศทางเดียว และสองทิศทางสลับกัน 2. การส่งข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน 3. การเลือกทิศทางการส่งข้อมูลได้เหมาะสมตามความต้องการ ทิศทางการส่งข้อมูล ( TRANSMISSION MODE ) การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกทิศทางการส่งข้อมูลเป็น 3 รูปแบบดังนี้ 2.1 การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว ( simplex transmission )

ทิศทางการสื่อสารคืออะไร

ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล หมายถึง ทิศทางจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูลโดยผ่านสื่อนำข้อมูล

การสื่อสารแบบทิศทางเดียว มีอะไรบ้าง

การส่งข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ผู้ส่งทำหน้าที่ส่งข้อมูลเพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูลก็ทำหน้าที่รับข้อมูลเพียงอย่างเดียวเท่านั้น เช่น การส่งสัญญาณโทรทัศน์ไปยังเครื่องรับโทรทัศน์ การส่งข้อมูลทิศทางเดียว การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission)

ทิศทางมีอะไรบ้าง

ทิศหลักมี 4 ทิศ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศที่อยู่กึ่งกลางระหว่างทิศหลักทั้งสี่ คือ - ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ระหว่างทิศตะวันออกกับทิศเหนือ