ไทยมีวิธีนำคำภาษาเขมรมาใช้อย่างไร

บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาการยืมคำภาษาเขมรในภาษาไทย โดยศึกษาภูมิหลังและลักษณะคำยืมภาษาเขมรที่ปรากฏในภาษาไทย พบว่า เขมรเป็นชาติที่มีความสัมพันธ์มานานทั้งทางการค้า การสงคราม การเมืองและวัฒนธรรม เขมรมีอิทธิพลเหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยหลายร้อยปี จากการมีอาณาเขตติดต่อกันทำให้ภาษาเขมรเข้ามาปะปนกับภาษาไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ภาษาถิ่นเขมรก็คล้ายคลึงกับภาษาพูดของชาวอีสานใต้ของไทย ตลอดจนชาวภาคตะวันออกตามชายแดนไทย – กัมพูชาด้วย จากประวัติศาสตร์อันยาวนานของทั้งสองประเทศต่างมีวัฒนธรรมประเพณีที่เหมือนกันมาก แม้กระทั้งวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนรวมทั้งภาษาต่างก็ยืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะภาษาเขมร 1) ภาษาเขมรเป็นภาษาคำโดด คำส่วนใหญ่มีเพียง 1 - 2 พยางค์ ใช้อักษรขอมหวัด มีพยัญชนะ 33 ตัว เหมือนภาษาบาลี คือ วรรคกะ ก ข ค ฆ ง, วรรคจะ จ ฉ ช ฌ ญ วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ,วรรคตะ ต ถ ท น ธ วรรคปะ ป ผ พ ภ ม ,เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ 2) ภาษาเขมรไม่มีวรรณยุกต์แต่อิทธิพลคำยืมบางคำให้เขมรมีรูปวรรณยุกต์ (+)ใช้ 3) ภาษาเขมรมรสระจม 18 รูป สระลอย 18 รูป แบ่งเป็นสระเดี่ยวยาว 10 เสียง สระผสม 2 เสียง ยาว 10 เสียง สระเดี่ยวสั้น 9 เสียง สระประสม 2 เสียง สั้น 3 เสียง 4) ภาษาเขมรมีพยัญชนะควบกล้ำมากมาย มีพยัญชนะควบกล้ำ 2 เสียง ถึง 85 หน่วยและพยัญชนะควบกล้ำ 3 เสียง 3 หน่วย

������������Ҥ�ⴴ �Ѵ����㹵�С���ͭ-��� �Ӵ�������ǹ�˭��� �Ӿ�ҧ����������繤�ⴴ �����ҡ�����§����һ���¤���Ӥѭ�����ǡѺ������ �����ѡɳкҧ���ҧ��ҧ仨ҡ������

�ѡɳФ���������������

  1. �ѡ���С����� � � � � �� ༴� ���� �Ӹ� ��� ����
  2. �ѡ�繤ӤǺ���� �� �� ��ѧ ��ا
  3. �ѡ�� �ѧ �ѹ �� ��˹�Ҥӷ�����ͧ��ҧ�� ��
    - �ѧ �ѧ�Ѻ �ѧ�� �ѧ���¹ �ѧ�Դ �ѧ�� �ѧ�Ҩ
    - �ѹ �ѹ� �ѹ�� �ѹ�Թ �ѹ��� �ѹ���
    - �� ���� �ӺѴ ���˹� �Ӻǧ
  4. �������ѡ�ù� �� ʹء ʹҹ �ʴ� ��� ����� �繵�
  5. �������ǹ�ҡ�����Ҫ��Ѿ�� �� ��� ��ͧ ࢹ� ���� ��÷� �ʴ� �ô �繵�
  6. �ѡ�ŧ���� ��
    - � �ŧ�� ��� �� ��ҹ �� ��дҹ ��͡ �� ��Ш͡
    - � �ŧ�� ��� ��� - ����� ��� - ��Ш�
    - ��� �ŧ�� ��� ��з� �� ��÷� ��Ш� - ��è� ��Ш� - ��è�

��������������������������

  1. ��������µç �� ��дҹ ��з��� �з� �ѧ �ô ��� �繵�
  2. �����Ҥӷ���ŧ�������� �� �ѧ�� �ӺѴ Ἱ� ��ѭ
  3. �����駤������Фӷ���ŧ�������� �� �Դ-���Դ ��ѧ-���ѧ �Թ-���Թ ���-���� �Ǫ-��Ǫ
  4. ���繤����ѭ����� �� ��ع ��ԭ ��� ���� ʧ� �繵�
  5. ���繤����ó��� �� ��� �ǧ ���� ʴ� ��� �繵�
  6. ���繤��Ҫ��Ѿ�� �� ࢹ�� ���� ��� ��÷� ���� �繵�
  7. �������������Ҿٴ���������¹

������ҧ��������������

��ЪѺ ���ⴧ �����´ ��кͧ ��к�� ��з��� ���ⶹ ��оѧ ��оѧ �оѧ ������ ����� �ѧ�� �ӨѴ ���� �ѭ�ǹ ��� ʡѴ ʹͧ ʹء ʴѺ ʺ� �ѧ�Ѵ �����ҭ ��� ���ç ��ǧ �ʴ� ��ᾧ ���ѧ ��ҹ ��� ��� �Ѵ ੾�� ��Ѻ ��� �·�ǧ ��� ������ ��С�¾�֡ ��Ѻ ��Шҹ �ô ༴� ��� ��ѭ ��ԭ ༪ԭ ����ԧ ྐྵ�´ ���͡

ภาษาเขมรเป็นภาษาคำโดด จัดอยู่ในตระกูลมอญ-เขมร คำดั้งเดิมส่วนใหญ่เป็น คำพยางค์เดียวและเป็นคำโดด ถือเอาการเรียงคำเข้าประโยคเป็นสำคัญเช่นเดียวกับภาษาไทย แต่มีลักษณะบางอย่างต่างไปจากภาษาไทย

ไทยมีวิธีนำคำภาษาเขมรมาใช้อย่างไร

   การสังเกตคำเขมรที่ใช้ในภาษาไทย มีดังนี้

๑. มักจะสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผด็จ บำเพ็ญ กำธร ถกล ตรัส
๒. มักเป็นคำควบกล้ำ เช่น ไกร ขลัง ปรุง
๓. มักใช้ บัง บัน บำ บรร นำหน้าคำที่มีสองพยางค์ เช่น
บัง บังคับ บังคม บังเหียน บังเกิด บังคล บังอาจ
บัน บันได บันโดย บันเดิน บันดาล บันลือ
บำ บำเพ็ญ บำบัด บำเหน็จ บำบวง
๔. นิยมใช้อักษรนำ เช่น สนุก สนาน เสด็จ ถนน เฉลียว เป็นต้น
๕. คำเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น ขนง ขนอง เขนย เสวย บรรทม เสด็จ โปรด เป็นต้น
๖. มักแผลงคำได้ เช่น
- ข แผลงเป็น กระ เช่น ขดาน เป็น กระดาน ขจอก เป็น กระจอก
- ผ แผลงเป็น ประ ผสม - ประสม ผจญ - ประจญ
- ประ แผลงเป็น บรร ประทม เป็น บรรทม ประจุ - บรรจุ ประจง - บรรจง

ไทยมีวิธีนำคำภาษาเขมรมาใช้อย่างไร

๑. ยืมมาใช้โดยตรง เช่น กระดาน กระท่อม กะทิ บัง โปรด ผกา เป็นต้น
๒. ยืมเอาคำที่แผลงแล้วมาใช้ เช่น กังวล บำบัด แผนก ผจัญ
๓. ยืมทั้งคำเดิมและคำที่แผลงแล้วมาใช้ เช่น เกิด-กำเนิด ขลัง-กำลัง เดิน-ดำเนิน ตรา-ตำรา บวช-ผนวช
๔. ใช้เป็นคำสามัญทั่วไป เช่น ขนุน เจริญ ฉงน ถนอม สงบ เป็นต้น
๕. ใช้เป็นคำในวรรณคดี เช่น ขจี เชวง เมิล สดำ สลา เป็นต้น
๖. ใช้เป็นคำราชาศัพท์ เช่น เขนาย ตรัส ทูล บรรทม เสวย เป็นต้น
๗. นำมาใช้ทั้งเป็นภาษาพูดและภาษาเขียน

ไทยมีวิธีนำคำภาษาเขมรมาใช้อย่างไร

กระชับ กระโดง กระเดียด กระบอง กระบือ กระท่อม กระโถน กระพัง ตระพัง ตะพัง กระเพาะ กระแส กังวล กำจัด กำเดา รัญจวน ลออ สกัด สนอง สนุก สดับ สบง สังกัด สไบสำราญ สรร สำโรง แสวง แสดง กำแพง กำลัง ขนาน ขจี โขมด จัด เฉพาะ ฉบับ เชลย โดยทรวง ถนน บายศรี ประกายพรึก ปรับ ประจาน โปรด เผด็จ ผจญ ผจัญ เผอิญ เผชิญ เพ็ญเพลิง เพนียด ระลอก

ภาษาเขมรเข้ามาสู่ประเทศไทยโดยทางการค้า ทางสงครามการเมืองและวัฒนธรรม ภาษาเขมรเป็นภาษาคำโดด จัดอยู่ในตระกูลมอญ-เขมร คำดั้งเดิมส่วนใหญ่เป็นคำพยางค์เดียวและเป็นคำโดด ถือเอาการเรียงคำเข้าประโยคเป็นสำคัญเช่นเดียวกับภาษาไทย แต่มีลักษณะบางอย่างต่างไปจากภาษาไทย

ลักษณะคำภาษาเขมรในภาษาไทย

1.      มักจะสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผด็จ บำเพ็ญ กำธร ถกล ตรัส

2.      มักเป็นคำควบกล้ำ เช่น ไกร ขลัง ปรุง

3.      มักใช้ บัง บัน บำ นำหน้าคำที่มีสองพยางค์ เช่น
บัง บังคับ บังคม บังเหียน บังเกิด บังคล บังอาจ
บัน บันได บันโดย บันเดิน บันดาล บันลือ
บำ บำเพ็ญ บำบัด บำเหน็จ บำบวง

4.      นิยมใช้อักษรนำ เช่น สนุก สนาน เสด็จ ถนน เฉลียว เป็นต้น

5.      คำเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น ขนง ขนอง เขนย เสวย บรรทม เสด็จ โปรด เป็นต้น

6.      มักแผลงคำได้ เช่น
- ข แผลงเป็น กระ เช่น ขดาน เป็น กระดาน ขจอก เป็น กระจอก
- ผ แผลงเป็น ประ ผสม - ประสม ผจญ - ประจญ
- ประ แผลงเป็น บรร ประทม เป็น บรรทม ประจุ - บรรจุ ประจง - บรรจง

การยืมคำภาษาเขมรมาใช้ในภาษาไทย

1.      ยืมมาใช้โดยตรง เช่น กระดาน กระท่อม กะทิ บัง โปรด ผกา เป็นต้น

2.      ยืมเอาคำที่แผลงแล้วมาใช้ เช่น กังวล บำบัด แผนก ผจัญ

3.      ยืมทั้งคำเดิมและคำที่แผลงแล้วมาใช้ เช่น เกิด-กำเนิด ขลัง-กำลัง เดิน-ดำเนิน ตรา-ตำรา บวช-ผนวช

4.      ใช้เป็นคำสามัญทั่วไป เช่น ขนุน เจริญ ฉงน ถนอม สงบ เป็นต้น

5.      ใช้เป็นคำในวรรณคดี เช่น ขจี เชวง เมิล สดำ สลา เป็นต้น

6.      ใช้เป็นคำราชาศัพท์ เช่น เขนาย ตรัส ทูล บรรทม เสวย เป็นต้น

7.      นำมาใช้ทั้งเป็นภาษาพูดและภาษาเขียน