นักเรียนมีวิธีการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยอย่างไร

 นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะอันล้ำค่าของชาติไทยที่ได้รับการสืบต่อกันมา

แต่โบราณกาล  จัดเป็นสิ่งที่งดงามทางศิลปวัฒนธรรมที่ควรแก่การรักษาสืบทอดต่อชนรุ่นหลัง  และควรที่จะได้มีการเผยแพร่และปลูกฝังค่านิยมแก่เยาวชนไทย

ในยุคปัจจุบัน นักเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงนี้ไว้  ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความชำนาญมากยิ่งขึ้นจึงเห็นเป็นการสมควรที่จะให้มีการฝึกซ้อม นาฏศิลป์ไทยเป็นประจำ เพื่อพัฒนาทักษะในการแสดงของนาฏศิลป์ไทยให้พัฒนาก้าวหน้าต่อไป

ใบความรู้เรื่อง

การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย

ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครกับชีวิตประจำวัน

นาฎศิลป์และการละครมีความสำคัญกับชีวิตประจำวันของมนุษย์มาโดยตลอดตั้งแต่
เกิดจนตาย จะเห็นได้จากเวลาคนเราเกิดมาในสมัยก่อนจะมีพิธีทำขวัญเดือน โกนผม
ไฟ ซึ่งถือเป็นพิธีมงคล เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวก็จะมีพิธี โกนจุกเพื่อแสดงว่าเข้าสู่วัยหนุ่ม
สาวแล้ว ชีวิตในช่วงต่างๆของคนไทย เช่น การอุปสมบท พิธีทำขวัญนาค การแต่งงาน
ขึ้นบ้านใหม่ และพิธีอื่นๆอีกมากมาขล้วนมีนาฎศิลป์และการละครเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ

1. ความสำคัญของนาฎศิลป์และการละคร

นาฎศิลป์และการละครมีความสำคัญดังนี้
1.1 แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ เพราะศิลปะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อจิตใจของมนุษย์
เป็นเครื่องโน้มน้าวอารมณ์ โดยเฉพาะการแสดงละครเป็นสิ่งที่ช่วยในการกล่อมเกลา
จิตใจ ให้แง่คิดและให้กำลังใจในการที่จะสร้างความเจริญรุ่งเรืองในชาติสืบต่อไป

1.2 เป็นแหล่งรวมศิลปะแขนงต่างๆ เพราะศิลปะทุกแขนงนั้นมีความเชื่อมโยงเกี่ยว
เนื่องกันทั้งสิ้น ได้แก่

- วรรณกรรม คือ การแต่งบทละคร บทร้อง

- จิตรกรรม คือ การเขียนฉากละคร การแต่งหน้าตัวละคร

- ประติมากรรม คือ การปั้น การหล่อ การสลักรูป เช่น ประดิษฐ์

- สถาปัตยกรรม คือ การสร้างเวที การสร้างฉาก

- ดุริยางคศิลป์ คือ การบรรเลงคนตรี ขับร้อง
ศิราภรณ์ต่างๆ การแสดงหุ่นละครหลวงเป็นการแสดงที่รวมศิลปะแขนงต่างๆ ได้แก่
วรรณกรรมจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และคุริยางคศิลป์ เป็นการแสดงที่
มีความสวยงามมาก

2. บทบาทของนาฏศิลป์และการละครกับชีวิตประจำวัน

นาฎศิลป์และการละครเป็นกิจกรรมที่ปรากฏอยู่ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กับ
ชีวิตประจำวันของเรา เช่น

2.1 ) การเล่านิทาน เป็นกิจกรรมที่มีลักษณะของการละครผสมอยู่เพราะเป็นเรื่องราว
ที่เล่าต่อๆกันมาหรือเป็นเรื่องของนิทานพื้นบ้าน ซึ่งบางครั้งอาจมีการแสดงท่าทาง
ประกอบซึ่งอาจจะเปรียบได้ว่าผู้เล่าเป็นผู้แสดงที่สื่อสารเรื่องราวให้กับผู้ฟัง

2.2 ) การเลียนแบบ สามารถพบเห็นได้จากการสมมุติตนเองในการเล่นของเด็กๆ
เช่น เล่นขายของ สมมุติดนเองเป็นพ่อค้า ลูกค้าที่มีการต่อรองราคาในการซื้อขาย
สินค้ากันการละเล่นงูกินหาง สมมุติตนเองเป็นพ่องู แม่งู และลูกงู เป็นต้น ซึ่งการเล่น
หรือการสร้างสถานการณ์เช่นนี้มีลักษณะเหมือนกับการแสดงละคร ที่นักแสดงต้อง
เลียนแบบตัวละครแล้วแสดงออกมาให้ผู้ชมได้รับรู้

2.3) กิจกรรมเพื่อความบันเทิง เป็นการแสดงเพื่อผ่อนคลายความเครียด ความ
เหนื่อยล้ำจากการทำงาน หรือเป็นการแสดงที่ใช้แสดงในงานเทศกาลต่างๆหรืองาน
บุญของไทยตั้งแต่อดีตเพื่อสร้างความบันเทิง ประชาชนนิยมเล่นการละเล่นพื้นบ้านที่
เป็นการแสดงพื้นบ้าน ซึ่งกิจกรรมต่างๆเหล่านี้ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับนาฎศิลป์และ
การละครทั้งสิ้น

3.การอนุรักษ์นาฎศิลป์และการละคร

นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปวัฒนธรรมที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาติ มีคุณค่าต่อสังคม
ไทย ซึ่งจะเห็นได้จากการแสดงต่างๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม วิถีการดำเนิน
ชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้เป็นมรดกของชาติ

การอนุรักนาฎศิลป์ไทยนั้นถือว่าเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่จะต้องตระหนักถึง
คุณค่าของงานนาฎศิลป์ที่บรรพบุรุษได้สร้าวิสรรค์ขึ้นมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน อีกทั้ง
ยังมีการจัดตั้งหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการช่วยส่งเสริมและอนุรักษ์นาฎศิลป์ไทย เช่น
วิทยาลัยนาศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร
เป็นต้น

คนไทยสามารถมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบทอดนาฎศิลป์ไทยได้ดังนี้

- ปลูกฝั่งให้คนไทยทุกคนยึดถือว่าการอนุรักษ์และส่งเสริมนาฎศิลป์เป็น

- ศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยปละนาฎศิลป์พื้นเมืองในท้องถิ่น
ของตนเอง

- ตระหนักถึงความสำคัญของนาฏศิลป์ไทยที่มีต่อสังคมไทยและประเทศชาติ

-ให้ความร่วมมือในการสนับสนุน เผยแพร่ อนุรักษ์ และให้ความร่วมมือในการเข้าร่วม
ชมและจัดกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์ไทยรูปแบบการแสดง

ได้_______คะแนน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ใบงานที่ 3

เรื่อง สรุปความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์นาฏศิลป์

ชื่อ-นามสกุล____________________เลขที่________ชั้น________

วันที่_ _______เดือน_________________________พ.ศ________

คำชี้แจง ให้ผู้เรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1.นาฏศิลป์ไทยมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................
2.ละครมีบทบาทต่อคนในสังคมอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................
3.เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่านาฏศิลป์เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
..............................................................................................................................
4.ละครไทยแสดงถึงภูมิปัญญาด้านใด
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................
5.นาฏศิลป์และละครไทยมีบทบาทต่อสังคมอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….........
.............................................................................................................................

6.การอนุรักษ์นาฏศิลป์มีประโยชน์อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….................
7.การอนุรักษ์นาฏศิลป์มีวิธีการอนุรักษ์อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….................
8.การอนุรักษ์นาฏศิลป์ควรตระหนักถึงสิ่งใด
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….................

ได้_______คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน

ชื่อ-นามสกุล_______________________เลขที่________ชั้น___________

วันที่___________เดือน_________________________พ.ศ___________

คำชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้นี้
1.ผู้เรียนมีความรู้สึกอย่างไรหลังจากที่เรียนหน่วยการเรียนรู้นี้แล้ว
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
2.ผู้เรียนได้รับความรู้เรื่องใดบ้าง จากหน่วยการเรียนรู้นี้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
3.ผู้เรียนยังไม่เข้าใจเรื่องใดอีกบ้างที่เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้นี้ซึ่งต้องการให้ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติม
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
4.ผู้เรียนจะสามารถนำความรู้ความเข้าใจจากหน่วยการเรียนรู้นี้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
5.ให้ผู้เรียนบอกแนวทางการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยพร้อมทั้งบอกผล
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

หมายเหตุ ให้ผู้สอนทำสำเนาแบบบันทึกนี้เพื่อให้นักเรียนบันทึกทุกหน่วยการเรียนรู้

นักเรียนจะมีแนวทางการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยอย่างไรให้คนรุ่นต่อไปได้รู้จัก 2 ข้อ *

การค้นคว้าวิจัย ควรศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาของไทยในด้านต่างๆ ของท้องถิ่น จังหวัด ภูมิภาค.
การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและ ความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น.

การแสดงนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์มีอะไรบ้าง

นาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ หมายถึง การแสดงที่ปรมาจารย์ทางนาฏศิลป์ได้คิดประดิษฐ์ท่ารำ ดนตรี การแต่งกาย และได้รับการยอมรับ เป็นการแสดงรำหรือระบำเบ็ดเตล็ดที่ไม่เกี่ยวกับการฟ้อน เซิ้งหรือการแสดงที่เกี่ยวกับพื้นเมืองของแต่ละภาคตัวอย่างเช่น ระบำโบราณคดี รำสีนวล รำอวยพร ระบำนพรัตน์ ระบำไก่ ระบำม้า ระบำนกยูงเป็นต้น

การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยเป็นหน้าที่ของใคร

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (พระอุโบสถวัดบวรสถาน มงคล) การอนุรักษ์นาฏศิลป์และการละคร เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน ที่จะต้องตระหนักถึงคุณค่า ของงานนาฏศิลป์ หน่วยงานที่มีหน้าที่ ในการช่วยส่งเสริมและ อนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย เช่น

นาฏศิลป์และการละครมีประโยชน์ต่อนักเรียนในด้านการพัฒนาตนเองอย่างไร

1.การเรียนนาฏศิลป์ช่วยพัฒนาด้านร่างกาย ธรรมชาติของเด็กนั้นไม่ชอบอยู่นิ่ง แต่ชอบการเคลื่อนไหวร่างกายในการเดิน วิ่ง กระโดด ยักย้ายร่างกายไปมา ดังนั้น การที่เด็กได้ร่ายรำ ทำให้เด็กได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายทั้งกล้ามเนื้อเล็กและกล้ามเนื้อใหญ่ให้สอดคล้องกับทำนอง จังหวะและเสียงดนตรี ซึ่งเป็นเหมือนการออกกำลังกาย ...