แนวข้อสอบ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ ศ 2561

แนวข้อสอบ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ ศ 2561

กองบัญชี สำนักงานงบประมาณและการเงิน

Accountancy Division, Office of Budget and Finance

กองบัญชี สำนักงานงบประมาณและการเงิน

  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • ผู้บังคับบัญชา
    • กำหนดอำนาจหน้าที่
  • ระเบียบและคู่มือการปฏิบัติงาน
    • การประเมินผลฯ
    • คู่มือการปฏิบัติงาน
    • ระเบียบ กฏหมาย
  • จัดซื้อ จัดจ้าง
  • ภาพกิจกรรม
  • ค้นหาเอกสาร
  • ติดต่อเรา

เลขที่หนังสือ

0010.34/5398

ลงวันที่

29 พ.ย. 2561

มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ.2561

ไฟล์แนบ

น.0010.34.5398 ลง 29 พ.ย.61.pdf540.41 KB

มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ.2561.pdf1.74 MB

ประเภทเนื้อหา

ระเบียบการ

© 2022 Copyrights. All rights reserved. Accountancy Division, Office of Budget and Finance.

การทำข้อสอบผิดในขั้นตอนการเตรียมตัวสอบก็เพื่อให้เรากลับไปทบทวนในบท หรือเนื้อหาที่เรายังอ่านไม่ครอบคลุม

แนวข้อสอบ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ ศ 2561

คู่มือเตรียมสอบนักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ 2565 เนื้อหาพร้อมแนวข้อสอบ 474 ข้อ ราคา 590.- จัดส่งฟรี

  • 1. ใครเป็นผู้กำหนดวิธีการจัดทำงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม

    พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561

    • นายกรัฐมนตรี
    • ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ
    • คณะรัฐมนตรี
    • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
  • 2. ในเบื้องต้นงบประมาณรายจ่ายที่กำหนดในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี จำแนกได้กี่ประเภท

    พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561

    • 5 ประเภท
    • 8 ประเภท
    • 10 ประเภท
    • 12 ประเภท
  • 3. ประเภทของงบประมาณรายจ่ายในข้อใดเป็นชื่อที่ไม่ถูกต้อง

    พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561

    • งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
    • งบประมาณรายจ่ายบุคลากร
    • งบประมาณรายจ่ายสำหรับดำเนินงาน
    • งบประมาณรายจ่ายเพื่อการชำระหนี้ภาครัฐ
  • 4. งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้แก่หน่วยรับงบประมาณใช้จ่าย โดยแยกต่างหากจากงบประมาณรายจ่ายของหน่วยรับงบประมาณ เรียกว่า

    พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561

    • งบประมาณรายจ่ายงบกลาง
    • งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
    • งบประมาณรายจ่ายบุคลากร
    • งบประมาณรายจ่ายสำหรับทุนหมุนเวียน
  • 5. งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้สำหรับแผนงานบูรณาการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ โดยมีหน่วยรับงบประมาณตั้งแต่สองหน่วยขึ้นไปร่วมกันรับผิดชอบดำเนินการ เรียกว่า

    พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561

    • งบประมาณรายจ่ายงบกลาง
    • งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
    • งบประมาณรายจ่ายบุคลากร
    • งบประมาณรายจ่ายสำหรับทุนหมุนเวียน
  • 6. แผนการคลังระยะปานกลางให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่ากี่ปี

    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561

    • 1 ปี
    • 3 ปี
    • 5 ปี
    • 10 ปี
  • 7. การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้แก่หน่วยงานของรัฐต้องคำนึงถึง

    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561

    • ความจำเป็นและภารกิจ
    • ฐานะเงินนอกงบประมาณ
    • ความสามารถในการใช้จ่ายและการก่อหนี้ผูกพัน
    • ถูกทุกข้อ
  • 8. งบประมาณรายจ่ายลงทุน ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละเท่าใดของงบประมาณรายจ่ายประจำปี

    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561

    • ร้อยละ 10
    • ร้อยละ 20
    • ร้อยละ 50
    • ร้อยละ 70
  • 9. การเสนอกฎหมายที่กำหนดให้หน่วยงานของรัฐไม่ต้องนำเงินรายได้หรือเงินอื่นใดส่งคลังจะต้องได้รับความเห็นชอบจากใครก่อน

    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561

    • กระทรวงการคลัง
    • คณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ
    • คณะรัฐมนตรี
    • ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
  • 10. ผู้ดำรงตำแหน่งใดมีอำนาจสั่งจ่ายเงินจากคลังเป็นเงินทดรองราชการ เพื่อให้ส่วนราชการใช้ทดรองจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายปลีกย่อย

    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561

    • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    • คณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ
    • คณะรัฐมนตรี
    • ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
  • 11. ข้อใดหมายถึง ผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจหรือศักยภาพในการให้บริการที่ลดลงในงวดการรายงาน โดยอยู่ในรูปของกระแสไหลออกหรือการใช้ไปซึ่งสินทรัพย์ต่าง ๆ

    ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561

    • รายได้
    • ค่าใช้จ่าย
    • สินทรัพย์
    • หนี้สิน
  • 12. ทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของหน่วยงานซึ่งเป็นผลจากเหตุการณ์ในอดีต และคาดว่าจะทาให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต หรือศักยภาพในการให้บริการเพิ่มขึ้นแก่หน่วยงาน เรียกว่า

    ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561

    • รายได้
    • ค่าใช้จ่าย
    • สินทรัพย์
    • หนี้สิน
  • 13. ข้อใดคือความหมายของ รายได้

    ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561

    • เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งพร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นเงินสดในจำนวนเงินที่เท่ากันหรือใกล้เคียงกับมูลค่าเดิม
    • กระแสไหลเข้าของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจหรือศักยภาพในการให้บริการในระหว่างงวดการรายงานซึ่งส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นในสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน
    • ราคาที่ตราไว้บนเหรียญ ธนบัตร พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้นกู้หรือหลักทรัพย์อื่น
    • สินทรัพย์อันมีลักษณะคงทน ที่ใช้ในการดำเนินงานและใช้ได้นานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาการดำเนินงานตามปกติมิได้มีไว้เพื่อขาย
  • 14. ข้อใดคือความหมายของ หนี้สิน

    ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561

    • ผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจหรือศักยภาพในการให้บริการที่ลดลงในงวดการรายงาน โดยอยู่ในรูปของกระแสไหลออกหรือการใช้ไปซึ่งสินทรัพย์ต่าง ๆ
    • ศักยภาพในการก่อให้เกิดกระแสเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดแก่หน่วยงานทั้งทางตรงและทางอ้อม
    • หลักการโดยเฉพาะ หลักเกณฑ์ ประเพณีปฏิบัติ กฎเกณฑ์หรือปฏิบัติที่หน่วยงานใช้ในการจัดทำและนำเสนอรายงานการเงิน
    • ภาระผูกผันในปัจจุบันของหน่วยงานซึ่งเป็นผลจากเหตุการณ์ในอดีต โดยที่การปลดเปลื้องภาระนั้นคาดว่าจะส่งผลต่อการสูญเสียทรัพยากรของหน่วยงานที่อยู่ในรูปของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
  • 15. ข้อใดถือเป็นลักษณะเชิงคุณภาพของรายงานการเงิน

    ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561

    • ความเข้าใจได้
    • ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
    • ความเชื่อถือได้
    • ถูกทุกข้อ
  • 16. โดยหลักแล้ว การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ให้หน่วยงานของรัฐเลือกใช้วิธีใดก่อน

    พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

    • วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
    • วิธีคัดเลือก
    • วิธี e-bidding
    • วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market)
  • 17. ข้อใดเป็นคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะเข้ายื่นข้อเสนอในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ

    พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

    • มีความสามารถตามกฎหมาย
    • ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
    • ไม่อยู่ระหว่างเลิกกิจการ
    • ถูกทุกข้อ
  • 18. ในการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป มีสิ่งใดที่หน่วยงานของรัฐต้องพิจารณา

    พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

    • ประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐ
    • วัตถุประสงค์ของการใช้งาน
    • คำนึงถึงเกณฑ์ราคา
    • ถูกทุกข้อ
  • 19. ผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะจะลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้างภายในกำหนดเวลาตามข้อใด

    พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

    • ภายใน 15 วัน
    • ภายใน 15 วันหลังประกาศผลผู้ชนะ
    • ภายใน 30 วัน
    • ล่วงพ้นระยะเวลาอุทธรณ์และไม่มีผู้ใดอุทธรณ์
  • 20. ก่อนลงนามในสัญญาหน่วยงานของรัฐอาจประกาศยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้ในกรณีตามข้อใด

    พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

    • หน่วยงานของรัฐนั้นไม่ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณที่
    • มีการกระทำที่เข้าลักษณะผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือที่ได้รับการคัดเลือกมีผลประโยชน์ร่วมกัน
    • การทำการจัดซื้อจัดจ้างต่อไปอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ
    • ถูกทุกข้อ

Submit

แนวข้อสอบ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ ศ 2561

BoxSet พิชิตข้อสอบท้องถิ่น 64 วิดีโอติวภาค ก. กฎหมาย 11 ฉบับ จำนวน 29 ชั่วโมง พร้อมคู่มือเตรียมสอบภาค ก. วิชาความสามารถในการศึกษาวิเคราะห์และสรุปเหตุผล วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ และเจาะข้อสอบกฎหมายภาค ก. ท้องถิ่น 1,000 ข้อ ราคา 1,990.- จัดส่งฟรี