การประเมินหลักฐาน ภายนอก ภายใน

          หลักฐานที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ ต้องเป็นหลักฐานที่ให้ข้อมูลที่เป็นจริง หลักฐานที่ให้ข้อมูลจริงบ้างเท็จบ้าง นำส่วนที่เป็นจริงไปใช้ได้ ส่วนหลักฐานที่เป็นเท็จทั้งหมดไม่นำไปใช้ในการศึกษา

2.ข้อมูลทติยภูมิหลักฐานที่นักประวัติศาสตร์หรือนักวิจัยรวบรวบ เรียบเรียงขึ้นมาภายหลัง จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีต หลักฐานประเภทนี้มีอยู่จำนวนมาก และหลากหลาย เช่น หนังสือ ตำรา งานวิจัย รายงาน และบทความทางด้านประวัติศาสตร์ ตลอดจนข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากเอกสารอื่นๆ เช่น หนังสือประเภทต่างๆ วารสาร วรรณคดี ฯลฯ

วิธีการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ 2 กรณีคือ


1. การประเมินหลักฐานภายนอก - เป็นการประเมินตัวหลักฐานจากภายนอก ว่าใครเป็นผู้บันทึกหลักฐานนั้น มีสถานภาพใดในขณะนั้น บันทึกโดยจุดมุ่งหมายใด มีความเป็นกลางเพียงใด

2. การประเมินหลักฐานภายใน - เป็นการประเมินเนื้อหาของข้อมูลที่ปรากาฏในหลักฐานนั้นๆ ว่าน่าเชื่อถือ และมีอคติหรือไม่ ตรงกับข้อเท็จจริงหรือมีการบิดเบือนข้อมูลหรือไม่

การประเมินหลักฐานภายนอกมีอะไรบ้าง

การประเมินหลักฐานภายนอกเป็นการประเมินตัวหลักฐานจากภายนอกว่าใครเป็นผู้บันทึก หลักฐานนั้น ผู้บันทึกหลักฐานมีสถานภาพใดในขณะนั้น บันทึกขึ้นโดยจุดมุ่งหมายใด มีความเป็นกลาง เพียงใด ทั้งนี้เพราะบางครั้งผู้บันทึกอาจบันทึกขึ้นโดยคำาสั่งของผู้มีอำานาจ หรือบันทึกจากอคติส่วนตัว โดยยึดผลประโยชน์และมุมมองของตนเป็นสำาคัญ

เพราะเหตุใดจึงต้องประเมินหลักฐานภายนอก

เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของสถานศึกษา เงื่อนไขของความสำเร็จ และสาเหตุของปัญหา เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง

การประเมินคุณภาพภายนอก คืออะไร

การประเมินคุณภาพภายนอก หมายถึง กระบวนการในการรวม รวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของบุคลากรในสถานศึกษา ตามแผนปฏิบัติการประจําปีที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เพื่อ ตัดสินความสําเร็จตามเกณฑ์ที่กําหนดโดยบุคคลภายนอกที่ไม่มี ส่วนเกี่ยวเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา Page 5 การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาในกระบวนการ ประกันคุณภาพ ...

การประเมินภายในพิจารณาจากอะไร

2. การประเมินภายใน เป็นการประเมินสิ่งที่ปรากฏบนหลักฐาน อาทิ ตัวอักษร รูปภาพ ร่องจารึก ตำหนิ ว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด มีข้อความใดที่น่าสงสัย หรือกล่าวไว้ไม่ถูกต้อง ตัวอย่าง ปีที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงสร้างพระวิหารวัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก ในพระราชพงศาวดารฉบับต่างๆ ระบุไว้ตรงกันบ้างไม่ตรงกันบ้าง เช่น