ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

​​ผู้ประกอบอาชีพอิสระ เช่น แพทย์ ผู้สอบบัญชี นักกฎหมาย วิศวกร สถาปนิก นักแสดง ตัวแทนสินค้าขายตรง ตัวแทนประกันชีวิต ฯลฯ  เป็นอาชีพที่ทำงานโดยอาจไม่ได้มีสถานะเป็นพนักงานหรือลูกจ้างประจำ และมีรายรับไม่เท่ากันทุกเดือน มากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป ตามแต่ปริมาณงาน ดังนั้น เมื่อมีรายได้ที่แตกต่างกันไป การวางแผนทางการเงิน  จึงเป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างยิ่ง เช่น ต้องมีวิธีการจัดสรรรายได้ที่ได้มาแต่ละครั้งเป็นเงินออมและการลงทุน เพื่อให้ได้ผลตอบแทนและจัดการให้ตัวเองมีเงินพอใช้สอดคล้องกับรายจ่ายที่จะเกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา รวมไปถึงการประกันสุขภาพ การประกั​นชีวิต  ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงทางการเงิน และบรรเทาความเดือดร้อน กรณีมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด หรือหากเป็นการจะลงทุนเปิดกิจการ SMEs ของตัวเองก็ควรเริ่มจากการวางแผนธุรกิจ  และหากยังมีเงินทุนไม่พอ การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินก็อาจเป็นตัวช่วยให้คุณสร้างความฝันจนสำเร็จได้

นอกจากนี้ ยังมีข้อได้เปรียบในการจัดการภาษี ตรงที่เสียภาษีหัก ณ ที่จ่าย ในอัตราต่ำเพียง 3% รวมทั้งสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ตามจริง เช่น แพทย์ 60% ของรายได้ อาชีพอิสระอื่น ๆ 30% โดยถูกไม่จำกัดไว้ที่ 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาทเช่นกรณีลูกจ้าง พนักงานที่รับเงินเดือน

เทรนอาชีพใหม่ๆ

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

 

Advertisement

ข้อแตกต่างในอาชีพ

          วิชาชีพ (วิชา+อาชีพ) หรือ Profession หมายถึง เป็นงานที่มีขนบธรรมเนียมและจรรยาบรรณของโดยเฉพาะอาศัยความรู้เฉพาะด้านตามลักษณะงาน   มีกฎระเบียบที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงนั้นอย่างเคร่งครัด  จะต้องได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเท่านั้น
วิชาชีพ ได้แก่  แพทย์  ทันตแพทย์  สัตวแพทย์  เภสัชกร  พยาบาล  เทคนิคการแพทย์  นักกายภาพบำบัด  ทนายความ  วิศวกร  สถาปนิก  ครู  และบุคลากรทางการศึกษา  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ประกอบโรคศิลปะบางกลุ่ม นักบัญชี

ลักษณะสำคัญของการเป็นวิชาชีพ ได้แก่
1. มีองค์ความรู้เฉพาะของตน ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องเข้ารับการศึกษา ฝึกอบรมให้มีความรู้ในศาสตร์เฉพาะของวิชาชีพนั้นๆ 
2. มีความเป็นอิสระในการประกอบวิชาชีพ เป็นการประกอบวิชาชีพที่มีมาตรฐานการปฏิบัติเป็นการเฉพาะสำหรับวิชาชีพนั้นๆ โดยมีองค์ความรู้เป็นพื้นฐาน บุคคลอื่นไม่สามารถจะมาสั่งการให้ปฏิบัติอย่างนั้นอย่างนี้ได้ นอกจากนี้การปกครองกันเองภายในวิชาชีพเดียวกันยังเป็นอิสระจากการควบคุมของคนนอกวิชาชีพ เช่น ถ้าสมาชิกคนใดกระทำผิด การพิจารณาจะเริ่มจากคณะกรรมการขององค์กรวิชาชีพก่อน
3. มีกฎหมายรองรับการประกอบวิชาชีพ หมายถึง จะต้องมีการขึ้นทะเบียนเพื่อขออนุญาตประกอบวิชาชีพ ได้แก่ ใบประกอบวิชาชีพ
4. มีจรรยาบรรณ ตราขึ้นเพื่อผู้ประกอบวิชาชีพดำรงตนหรือประพฤติตนอยู่ในความถูกต้อง ดีงามต่อผู้รับบริการ ต่อเพื่อนผู้ร่วมวิชาชีพ ต่อตนเอง และต่อสังคมส่วนรวม
5. มีสำนึกที่จะให้บริการ เมื่อถูกเรียกร้องการบริการจะต้องเต็มใจที่จะให้บริการแก่ผู้มารับบริการได้เสมอ บางครั้งอาจจะต้องสละความสุขส่วนตัว มีความภาคภูมิใจ ในวิชาชีพของตน
          อาชีพ หมายถึง   งานหรือการทำมาหากิน ทำธุรกิจ เพื่อได้ค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง หรือเงินเดือน  ไม่ต้องสอบเพื่อขอใบอนุญาต หรือใบประกอบ ตามที่กฎหมายรองรับ ฯลฯ 
          ตัวอย่างของอาชีพ คือ แม่ค้า/ค้าขาย พนักงาน ลูกจ้างรายวัน เจ้าของธุรกิจตนเองที่ไม่ได้ทำงานเกี่ยวกับวิชาชีพ

          สรุปสั้นๆคือ วิชาชีพ ต่างจาก อาชีพ ตรงที่ วิชาชีพ ต้อง”สอบ” เพื่อขอใบอนุญาต/ใบประกอบ ตามสภา หรือองค์กรที่รับสอบ ขึ้นทะเบียนวิชาชีพนั้นๆ โดยมีกฎหมายรองรับ 

ข้อดี-ข้อเสีย อาชีพอิสระ VS อาชีพรับจ้าง

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

          – ความแตกต่างของระบบการทำงานทั้งสองระบบนี้ ลักษณะการทำงาน เทคนิค และวิธีการทำงาน ซึ่งอาชีพอิสระ กับ อาชีพรับจ้าง 2 คำนี้มีความหมายที่แตกต่างกันอยู่แล้ว คำว่าอาชีพอิสระ คือ การทำงานที่ไม่ได้อยู่ในกรอบ ไม่มีรูปแบบการทำงานตายตัว เช่น งาน Freelance งานทำที่บ้าน งานเสริมต่างๆ ในขณะที่อาชีพรับจ้าง เป็นการทำงานที่กฏเกณฑ์ และข้อความบังที่ชัดเจน เช่น การทำงานราชการ งานบริษัทต่างๆ วันนี้เรามาดูกันว่า งานทั้ง 2 ระบบนี้ มีข้อดี-ข้อเสีย อะไรบ้าง

1. อาชีพรับจ้าง

1.1 ข้อเสียของอาชีพรับจ้าง
      – ข้อจำกัดในเรื่องของรายได้ หรือที่เรียกว่า เพดานเงินเดือน คุณไม่สามารถกำหนดรายได้ด้วยตนเองได้
      – คุณต้องใช้เวลาวันละ 8-10 ชั่วโมงต่อวัน ในการทำงานให้กับคนอื่น
     – คุณอาจจะเจอกับสภาพสังคมที่ไม่ดี โดนเอาเปรียบจากเจ้านาย เพื่อนร่วมงาน  หรือลูกน้อง
     – บางครั้งคุณอาจจะไม่ได้รับความยุติธรรม เช่น ทำงานหนัก กว่าเงินเดือนที่ควรได้รับ
1.2 ข้อดีของอาชีพรับจ้าง
     – มีรายได้ที่มั่นคง ที่เรียกว่า เงินเดือน ที่คุณจะได้รับแน่นอนทุกเดือน
     – มีสิทธิ ลาหยุด ลากิจ ลาพักร้อน แถมยังได้เงินเดือนตามปกติ
     – มีสวัสดิการรองรับ เช่น ประกันสังคมต่างๆ 
     – มีเครดิตในการที่จะกู้ยืมเงิน

2. อาชีพอิสระ
2.1 ข้อเสียของอาชีพอิสระ
      – ต้องเป็นเจ้านายตัวเอง ต้องควบคุมตัวเองให้ได้ เพราะว่าไม่มีใครบังคับให้คุณทำงาน
      – รายได้ไม่แน่นอน มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความขยันของตัวคุณเอง
      – ไม่มีสวัสดิการ หรือประกันสังคม เหมือนอาชีพรับจ้าง
      – คุณต้องทำทุกอย่างด้วยตนเอง
 2.2 ข้อดีของอาชีพอิสระ
       – คุณมีอิสระในการทำงาน เวลา สถานที่ คุณสามารถทำงานที่ไหนก็ได้
       – รายได้ไม่กำจัด อยู่ที่ความสามารถคุณ กำหนดด้วยตนเอง
       – สามารถเลือกงานที่ถนัด ที่เราต้องการจริงๆได้
       – ทำงานน้อยกว่า ได้รายได้มากกว่า อาชีพรับจ้าง 

บทสรุป
– ความแตกต่างของงานทั้งสองระบบนี้ก็คือ วิธีการทำงาน แต่สิ่งที่ได้ผลลัพธ์เหมือนกันก็คือ รายได้

 

การประกอบอาชีพ

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างมีลักษณะการทำงานในข้อใด

อาชีพ หมายถึง การทำกิจกรรม การทำงาน การประกอบการที่ไม่เป็นโทษแก่สังคม และมีรายได้ตอบแทน โดยอาศัยแรงงาน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ แตกต่างกันไป
กลุ่มอาชีพตามลักษณะการประกอบอาชีพ มี 2 ลักษณะ คือ อาชีพอิสระ และอาชีพรับจ้าง

  1. อาชีพอิสระหมายถึง อาชีพทุกประเภทที่ผู้ประกอบการดำเนินการด้วยตนเอง
    แต่เพียงผู้เดียวหรือเป็นกลุ่ม อาชีพอิสระเป็นอาชีพที่ไม่ต้องใช้คนจำนวนมาก แต่หากมีความจำเป็นอาจมีการจ้างคนอื่นมาช่วยงานได้ เจ้าของกิจการเป็นผู้ลงทุน และจำหน่ายเอง คิดและตัดสินใจด้วยตนเองทุกเรื่อง ซึ่งช่วยให้การพัฒนางานอาชีพ เป็นไปอย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ การประกอบอาชีพอิสระ เช่น ขายอาหาร ขายของชำ ซ่อมรถจักรยานยนต์ ฯลฯ ในการประกอบอาชีพอิสระ ผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ ความสามารถในเรื่อง การบริหาร การจัดการ เช่น การตลาด ทำเลที่ตั้ง เงินทุน การตรวจสอบ และประเมินผล เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องมีความอดทนต่องานหนัก ไม่ถ้อถอยต่อ ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และมองเห็นภาพการดำเนินงาน ของตนเองได้ทะลุปรุโปร่ง

    2. อาชีพรับจ้าง หมายถึง อาชีพที่มีผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการ โดยตัวเองเป็นผู้รับจ้าง ทำงานให้ และได้รับค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง หรือเงินเดือน อาชีพรับจ้างประกอบด้วย บุคคล 2 ฝ่าย ซึ่งได้ตกลงว่าจ้างกัน บุคคลฝ่ายแรกเรียกว่า “นายจ้าง” หรือผู้ว่าจ้าง
    บุคคลฝ่ายหลังเรียกว่า “ลูกจ้าง” หรือผู้รับจ้าง มีค่าตอบแทนที่ผู้ว่าจ้างจะต้องจ่ายให้แก่ ผู้รับจ้างเรียกว่า “ค่าจ้าง”
    การประกอบอาชีพรับจ้าง โดยทั่วไปมีลักษณะ เป็นการรับจ้างทำงานในสถาน ประกอบการหรือโรงงาน เป็นการรับจ้างในลักษณะการขายแรงงาน โดยได้รับค่าตอบ แทนเป็นเงินเดือน หรือค่าตอบแทนที่คิดตามชิ้นงานที่ทำได้ อัตราค่าจ้างขึ้นอยู่กับการกำหนด
    ของเจ้าของสถานประกอบการ หรือนายจ้าง การทำงานผู้รับจ้างจะทำอยู่ภายในโรงงาน ตามเวลาที่นายจ้างกำหนด การประกอบอาชีพรับจ้างในลักษณะนี้มีข้อดีคือ ไม่ต้องเสี่ยง กับกาลงทุน เพราะลูกจ้างจะใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่นายจ้างจัดไว้ให้ทำงานตามที่นายจ้าง กำหนด แต่มีข้อเสีย คือ มักจะเป็นงานที่ทำซ้ำ ๆ เหมือนกันทุกวัน และต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของนายจ้าง ในการประกอบอาชีพรับจ้างนั้น มีปัจจัยหลายอย่างที่เอื้ออำนวยให้ผู้ประกอบอาชีพ รับจ้างมีความเจริญก้าวหน้าได้ เช่น ความรู้ ความชำนาญในงาน มีนิสัยการทำงานที่ดี มีความกระตือรือร้น มานะ อดทน ในการทำงาน ยอมรับกฎเกณฑ์และเชื่อฟังคำสั่ง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ความขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี รวมทั้ง สุขภาพอนามัยที่ดี อาชีพต่าง ๆ ในโลกมีมากมาย หลากหลายอาชีพ ซึ่งบุคคลสามารถจะเลือกประกอบ อาชีพได้ตามความถนัด ความต้องการ ความชอบ และความสนใจ ไม่ว่าจะเป็นอาชีพ ประเภทใด จะเป็นอาชีพอิสระ หรืออาชีพรับจ้าง ถ้าหากเป็นอาชีพที่สุจริตย่อมจะทำให้ เกิดรายได้มาสู่ตนเอง และครอบครัว ถ้าบุคคลผู้นั้นมีความมุ่งมั่น ขยัน อดทน ตลอดจน มีความรู้ ข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ จะทำให้มองเห็นโอกาสในการเข้าสู่อาชีพ และพัฒนา อาชีพใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นอยู่เสมอ

ลักษณะอาชีพ

อาชีพ   จำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านเรียกว่า วิชาชีพ เช่น วิศวกร แพทย์ พยาบาล ทนายความ    อาชีพที่ถูกกฎหมายและศีลธรรม เรียกว่า สัมมาชีพ เช่น ค้าขาย ส่วนบางอาชีพที่ผิดกฎหมาย เรียกว่า มิจฉาชีพ เช่น โจร อาชีพอาจมีรายได้แตกต่างกันไป   ลักษณะอาชีพที่เป็นลูกจ้างจะได้ค่าตอบแทนในรูปแบบเงินเดือน อาชีพค้าขายหรือประกอบกิจการส่วนตัว    จะได้ค่าตอบแทนในรูปแบบ กำไร

รายได้ในการทำงาน 

เงินรายได้ของบุคคลที่เป็นผลตอบแทนจากการทำงานให้บุคคลอื่นหรือจากการประกอบอาชีพอิสระด้วยตนเอง อันได้แก่ ค่าจ้าง เงินเดือน หรือกำไรจากการประกอบกิจการ รายได้ประเภทนี้ยังรวมถึงเงินได้ที่เป็นบำนาญและสวัสดิการสังคมอื่นๆ รายได้จากการทำงานนี้นำมาใช้เป็นฐานในการเก็บภาษีเงินได้ ซึ่งแตกต่างจากรายได้อีกประเภทหนึ่ง ที่ได้มาโดยมิได้เกี่ยวข้องกับการทำงานโดยตรง

ผู้ประกอบอาชีพรับจ้างต้องมีคุณสมบัติแบบใด *

2. มีนิสัยพื้อฐานในการทำงานที่ดี ได้แก่ มีความขยัน มีความอดทน มีใจรักในการทำงาน มีความรับผิดชอบ มีวินัยในการทำงาน และมีความซื่อสัตย์ 3. มีการวางแผนในการทำงานว่าจะทำอะไรก่อนอะไรหลัง และมีการกำหนดเป้าหมายในการทำงานชัดเจน 4.มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี เพื่อให้การประกอบอาชืพมีความสำเร็จและก้าวหน้า

ที่ประกอบอาชีพรับจ้างจะมีการทำงานในลักษณะใด

๒. อาชีพรับจ้าง หมายถึง เป็นอาชีพที่มีผู้อื่นเป็นเจ้าของกิจการหรือนายจ้าง โดย ตัวเองเป็นผู้รับจ้าง ทำงานให้ และได้รับค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง หรือเงินเดือน อาชีพรับจ้าง ประกอบด้วย บุคคล 2 ฝ่าย ซึ่งได้ตกลงว่าจ้างกัน บุคคลฝ่ายแรกเรียกว่า "นายจ้าง" หรือผู้ว่า จ้าง บุคคลฝ่ายหลังเรียกว่า "ลูกจ้าง" หรือผู้รับจ้าง มีค่าตอบแทนที่ ...

ข้อใดเป็นลักษณะการประกอบอาชีพอิสระ

การประกอบอาชีพอิสระ คือ การประกอบกิจการส่วนตัวต่าง ๆ ในการผลิตสินค้าหรือบริการที่ถูกต้องตามกฎหมาย เป็นธุรกิจของตนเองไม่ว่าธุรกิจนั้นจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม ซึ่งผู้ประกอบการสามารถที่จะกำหนดรูปแบบและวิธีดำเนินงานของตัวเองได้ตามความเหมาะสม ไม่มีเงินเดือนหรือมีรายได้ที่แน่นอนตายตัว ผลตอบแทนคือเงินกำไรจากการลงทุนนั่นเอง

ข้อใดเป็นลักษณะของการประกอบอาชีพรับราชการ

1.อาชีพรับราชการ เป็นกลุ่มอาชีพที่ท างานเพื่อประชาชนและประเทศชาติ ข้าราชการจะได้รับค่าตอบแทน เป็นเงินเดือนซึ่งได้มาจากภาษีเงินได้ที่รัฐบาลเก็บจากประชาชนที่ประกอบอาชีพมีรายได้ มีระยะเวลาในการทางานที่ แน่นอน โดยทางานตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์และหยุดงานวันเสาร์และวันอาทิตย์ เริ่มท างานตั้งแต่เวลา 08.00-16.00 น. หรือ ...