Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

    คุณกำลังปวดหัวกับการเขียน email เพื่อติดต่อธุรกิจอยู่รึเปล่า วันนี้ English Munmun นำ 9 ตัวอย่างการเขียนอีเมลธุรกิจอย่างมืออาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ มาฝาก ซึ่งจะแสดงวิธีในการแต่งประโยค การเรียบเรียงเนื้อหา และเทคนิคการสื่อสารซึ่งจะช่วยให้คุณรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ตามแนวทางปฏิบัติการเขียนอีเมลอย่างมืออาชีพ ถ้าพร้อมแล้ว เราไปดูกันเลย

9 ตัวอย่างการเขียน Email เพื่อติดต่อธุรกิจอย่างมืออาชีพ หยิบไปใช้เลย ไม่ต้องคิดเยอะ

    การเขียน email เพื่อติดต่อธุรกิจจะไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่คุณรู้ 5 ขั้นตอนการเขียน Business Email ให้ดูโปร คุณก็จะสามารถเขียนอีเมลให้ดูมืออาชีพได้อย่างสบาย ๆ แต่ถ้าหากคุณยังไม่มั่นใจกับการเรียบเรียงเนื้อหาที่จะเขียนละก็ วันนี้ผมได้รวบรวมตัวอย่างการเขียนอีเมลใน 9 สถานการณ์ที่พวกเรามักจะได้เจอในการสื่อสารด้วยอีเมลเพื่อติดต่อธุรกิจมาให้แล้ว ลองดูตัวอย่างการเขียนอีเมลให้มีประสิทธิภาพในบทความนี้ แล้วเอาไปปรับใช้ได้เลย

สารบัญ

ตัวอย่างที่ 1 อีเมลเพื่อนำเสนอสินค้าให้กับบริษัทที่ยังไม่เคยติดต่อมาก่อน

ตัวอย่างที่ 2 อีเมลเพื่อตอบกลับการนำเสนอสินค้าและบริการ

ตัวอย่างที่ 3 อีเมลเพื่อขอความร่วมมือทางธุรกิจ

ตัวอย่างที่ 4 อีเมลเพื่อยื่นข้อเสนอทางธุรกิจ

ตัวอย่างที่ 5 อีเมลเพื่อแนะนำบริษัท 

ตัวอย่างที่ 6 อีเมลเพื่อซักถามข้อมูล

ตัวอย่างที่ 7 อีเมลเพื่อขออะไรบางอย่างจากอีกฝ่าย

ตัวอย่างที่ 8 อีเมลนำเสนอบริการ

ตัวอย่างที่ 9 อีเมลติดตามผล

สรุป

คำศัพท์ที่น่าสนใจ

ขอความช่วยเหลือ ภาษาอังกฤษ เรามาดูตัวอย่างรูปประโยค เมื่อเราต้องการขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น เป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นการขอแบบสภาพ เราลองจำรูปประโยคเหล่านี้ไปใช้กัน

ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับ Can, Could และ Would กันก่อน

กำลังฝึกภาษาอังกฤษอยู่ไหม?

รับฟรี eBook คำศัพท์ TOEIC 1,099 คำ ที่พบบ่อย
ส่งตรงเข้ามือถือทันที 
เพียงกรอกรับด้านล่าง 

(สุ่ม 50 คน/วัน แจก!!! Email บทเรียนภาษาอังกฤษทุกวัน 1 ปี)

ข้าพเจ้ายินยอมให้ส่งไฟล์หนังสือ และใช้ข้อมูลเพื่อวัตถุประสงค์การตลาด

ส่ง eBook เข้า SMS Loading...

Thank you!

You have successfully joined our subscriber list.

Can –

  • Can you help me? คุณสามารถช่วยฉันได้ไหม
  • Can you do me a favor please? คุณสามารถช่วยอะไรฉันสักนิดได้ไหม

Could –

  • Could you help me? คุณพอจะช่วยฉันได้ไหม
  • Could you please help me out with…..? คุณพอจะช่วยฉันเกี่ยวกับ..ได้ไหม

Would –

  • Would you help me? คุณยินดีที่จะช่วยฉันไหม
  • Would you mind helping me? คุณพอจะช่วยฉันได้ไหม (ความหมายแบบเกรงใจมาก ๆ)
  • Would you please explain to me ……? คุณช่วยอธิบาย…ให้ฉันฟังหน่อยนะ

ซึ่งทั้ง 3 คำเป็นคำเอาไว้ชอความช่วยเหลือทั้งหมด แต่จากประโยคข้างบนเพื่อนๆจะเห็นถึงความแตกต่างของความสุภาพ โดยที่ 

บทความงาน > การทำงาน > เทคนิคการทำงาน > รูปประโยคสำหรับเขียนอีเมลภาษาอังกฤษ

รูปประโยคสำหรับเขียนอีเมลภาษาอังกฤษ

  • 8 June 2018

Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ
Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ
Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ
Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ
Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ
Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ
Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ

Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ

          อีเมล (E-mail) ได้รับความนิยมใช้งานเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะทั้งสะดวกรวดเร็ว แถมยังใช้ได้ทั้งกรณีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และในยุคที่การสื่อสารของหนุ่มสาวออฟฟิศต้องโกอินเตอร์กันเช่นทุกวันนี้ jobsDB ขอนำเสนอตัวช่วยดี ๆ แนะแนวทางให้คุณเขียนอีเมลภาษาอังกฤษได้ชำนิชำนาญกว่าที่เคย

          1. เริ่มต้นที่ “ชื่อเรื่อง (Subject)” เราจะตั้งชื่อเรื่องอีเมลอย่างไรให้ผู้อ่านเปิดอ่านทันทีที่ได้รับและค้นหาในภายหลังได้ง่าย คำตอบก็คือ…ชื่อเรื่องควรสรุปประเด็นหลัก สั้น ชัดเจน เฉพาะเจาะจง ทำให้ผู้อ่านทราบได้ทันทีว่าอีเมลมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร และอยากอ่านเนื้อหาในเมล นอกจากนี้ เราควรเลี่ยงการใช้อักขระซ้ำ ๆ อย่าง $$$ หรือ ฿฿฿ ซึ่งอาจส่งผลให้อีเมล์ของเราตกไปอยู่ใน Junk Box แทน

          2. ส่วนต่อมาคือ “คำทักทาย (Greeting)” ซึ่งจะกำหนดน้ำเสียง (tone) ของอีเมล ผู้อ่านมีแนวโน้มที่จะตัดสินตัวผู้เขียนและตัดสินใจว่าจะอ่านข้อความต่อหรือไม่จากคำทักทาย ดังนั้นจึงสำคัญที่เราจะเลือกใช้คำทักทายให้เหมาะสม

          คำทักทายมาตรฐานที่ใช้ในอีเมลธุรกิจ คือ Dear + (คำนำหน้าชื่อ) + ชื่อผู้รับ + (:)/(,) เช่น Dear Mr. Jonathan, หรือ Dear Susan:  กรณีไม่รู้จักผู้รับดีหรือเป็นการติดต่อในครั้งแรก แนะนำให้เขียนคำทักทายเป็นทางการหน่อย โดยใส่ Dear + คำนำหน้า + ชื่อสกุล เช่น Dear Mr. Mcintosh และหากไม่รู้จักชื่อผู้รับ ให้ใส่ตำแหน่งของผู้รับ หรือเขียนในลักษณะกว้าง ๆ แทน เช่น Dear Principal: หรือ Dear Sir/Madam: หรือ To whom it may concern:

          และหากอีเมลของเราไม่เป็นทางการนัก เราก็ควรปรับคำทักทายให้เหมาะสม โดยใส่เพียงชื่อตัวผู้รับอย่างเดียว หรือ ใส่ชื่อตัวผู้รับและคำทักทายนำหน้า เช่น David, หรือ Dear David, หรือ Hi/Hello David

          3. ขยับมาที่ส่วนของ “เนื้อความ (Body)” กันบ้างค่ะ… เนื่องจากปกติผู้อ่านมักมีเวลาน้อย เนื้อความอีเมล์จึงควรสั้นและกระชับที่สุด การสื่อสารข้อมูลที่ย่อยแล้วจะช่วยให้ผู้รับเข้าใจได้เร็วขึ้น นอกจากนี้ เราควรบอกวัตถุประสงค์ที่เขียนมาให้ชัดเจน และโยงให้เห็นความเกี่ยวข้องกับผู้รับ มาดูตัวอย่างบางสำนวนที่ใช้บ่อยในการเขียนเนื้อความกันค่ะ

– Further to your last email, … = อ้างถึงอีเมลที่คุณส่งมาครั้งก่อน … (อ้างถึงการติดต่อที่ผ่านมา)

– I am writing in connection with / with regard to … = ฉันส่งอีเมลมาเกี่ยวกับเรื่อง … (แจ้งเหตุผลที่เขียนมา)

– I am writing to let you know that … = ฉันเขียนอีเมลมาเพื่อแจ้งให้ทราบว่า… (ให้ข้อมูลทั่วไป)

– I am delight to tell you that … = ฉันรู้สึกยินดีที่จะแจ้งให้ทราบว่า … (ให้ข้อมูลเชิงบวก)

– We regret to inform you that … = ฉันเสียใจที่จะแจ้งให้ทราบว่า … (ให้ข้อมูลเชิงลบ)

– Please find attached my report. = ฉันได้ส่งรายงานมาตามแนบ (แจ้งเกี่ยวกับไฟล์แนบ)

– Could you give me some information about …? = คุณช่วยส่งข้อมูลเกี่ยวกับ … ให้ฉันหน่อยได้ไหม? (ขอข้อมูล)

– I would be grateful if you could … = ฉันจะขอบคุณมาก ถ้าคุณจะช่วย … (ขอความร่วมมือ/ช่วยเหลือ)

– If you wish, I will be happy to … = ถ้าคุณต้องการ ฉันยินดีที่จะ … (เสนอให้ความช่วยเหลือ)

– Thank you for your help. = ขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือ (แสดงความเห็นในตอนท้าย)

– Please feel free to contact me if you have any questions. My direct line is … = หากมีข้อสงสัย โปรดติดต่อฉันที่เบอร์ … (แสดงความเห็นในตอนท้าย)

          4. และก็มาถึงส่วนสุดท้าย คือ “คำลงท้าย (Sign-off)” ซึ่งเราก็ควรใช้ให้สอดคล้องกับคำทักทาย ตามด้วยชื่อของเรา เพื่อให้ผู้อ่านทราบว่าใครเป็นคนติดต่อมา

กรณีเขียนถึงคนที่เราไม่ได้รู้จักดี เราใช้ Yours faithfully, หรือ Sincerely (yours), หรือ Yours truly, หรือ Respectfully yours, แต่หากเขียนถึงคนที่เรารู้จักดี อาจใช้คำลงท้ายเป็น Best wishes, หรือ Kind regards, หรือ Regards, ก็ได้ และเนื่องด้วยสไตล์ที่เป็นทางการน้อยกว่าจดหมาย อีเมลอาจลงท้ายด้วยข้อความอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับเนื้อความอีเมล์ เช่น Thank you, หรือ See you tomorrow, หรือ Keep up the good work! ได้เช่นกันค่ะ

          5. ขอแถมท้ายด้วยตัวย่อที่พบเห็นอยู่บ่อยครั้งในอีเมลธุรกิจ เผื่อไว้หยิบมาใช้ให้เข้ากับแทรนด์ “สั้น กระชับ” ของอีเมลกันค่ะ ได้แก่ ASAP (as soon as possible) = เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ / FYI (for your information) = เพื่อเป็นข้อมูลให้คุณ / TNK (thank you) = ขอบคุณ / N/A (not applicable, not available หรือ no answer) = ไม่มีข้อมูล หาข้อมูลไม่ได้ หรือไม่สามารถระบุได้ / S. (post script) = ป.ล.

          เท่านี้…เราก็สามารถเป็น “นักเขียนอีเมลมืออาชีพ” ได้อย่างมั่นใจแล้วล่ะค่ะ

หางานได้ง่ายผ่าน 3 ขั้นตอน (คลิกดูทีละขั้นตอนได้ทันที)

  • สมัครสมาชิกจ๊อบส์ดีบี เพื่อเริ่มหางาน
  • ฝาก Resume / Update เรซูเม่
  • หางาน ตามความต้องการได้ทันที

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทั้ง iOS และ Android

Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ

คว้างานที่ใช่ ด้วยการค้นหางานที่ง่ายและรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดการเรซูเม่อย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุณอัปโหลด ดู และลบได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพลิดเพลินไปกับประสบการณ์การใช้งานแสนง่าย ด้วยระบบ AI ใหม่ ช่วยค้นหางานที่ตรงใจมากขึ้นถึง 6 เท่า​

เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ฝึกพูดอังกฤษแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม

เคล็ดลับการพูดภาษาอังกฤษอย่างมืออาชีพในที่ทำงาน

ประโยคสำหรับอีเมลภาษาอังกฤษ  ประโยคเขียนอีเมลภาษาอังกฤษ  อีเมลภาษาอังกฤษ  เขียนอีเมลภาษาอังกฤษ  เขียนอีเมลภาษาอังกฤษอย่างไร

บทความยอดนิยม

Term Paper Writing Services

The need for an expert to do term essay...

Can Be Term Paper Writing Services worth the Price?

Students have many choices available to them when they’re...

Email ขอความร่วมมือ ภาษาอังกฤษ

10 เช็คลิสต์เคลียร์งานก่อนหยุดยาว

ช่วงปลายปีถือเป็นถือช่วงเวลาแห่งความสุขที่ทุกคนรอคอยอย่างแท้จริง โดยเฉพาะเดือนธันวาคม ที่ถือเป็นเดือนที่มีวันหยุดนักขัตฤ...