การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีพระราชปรารภว่า เงินภาษีอากรอันเป็นผลประโยชน์ของแผ่นดิน จัดเก็บกันไม่เป็นระเบียบกระจัดกระจายรั่วไหลไปมากมาย ในปี พ.ศ. 2416 จึงได้ตราพระราชบัญญัติสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ จุลศักราช 1235 และได้โปรดเกล้าตั้งสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้น เพื่อเป็นสำนักงานกลางสำหรับเก็บเงินผลประโยชน์รายได้ภาษีอากรของแผ่นดินมารวมไว้ในที่แห่งเดียว มิให้แยกย้ายกระจัดกระจายอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ ดังที่เคยเป็นมาแต่ก่อน ให้หน่วยงานราชการทุกแห่ง นำส่งเงินผลประโยชน์เข้าสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์เป็นรายได้แผ่นดิน ให้มีพนักงานบัญชีกลางสำหรับรวบรวมบัญชีผลประโยชน์แผ่นดิน และตรวจตราการเก็บภาษี

อากรของหน่วยงานต่างๆให้เป็นไปอย่างรัดกุม ไม่รั่วไหลดังแต่ก่อน ซึ่งนับเป็นต้นกำเนิดของกระทรวงการคลังในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2418ได้โปรดเกล้าให้ตราพระราชบัญญัติกรมพระคลังมหาสมบัติ จุลศักราช 1237 ตั้งกรมพระคลังมหาสมบัติ แยกงานการคลังออกจากงานการต่างประเทศ ซึ่งเวลานั้นรวมกันอยู่เป็นราชการในกรมท่า และต่อมาในปี พ.ศ. 2433 ได้ยกฐานะกรมพระคลังมหาสมบัติ เป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ตามพระธรรมนูญ หน้าที่ราชการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติรัตนโกสินทร์ศก 109

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

ในด้านการจัดเก็บภาษี ได้โปรดให้เปลี่ยนแปลงวิธีการเก็บภาษีอากรเสียใหม่ จากระบบเจ้าภาษีนายอากร มาเป็นทางราชการเป็นผู้เก็บเอง โดยในช่วงแรกได้ทดลองให้เทศาภิบาลบางแห่งจัดเก็บภาษีอากรเอง ปรากฏว่าได้ผลดี สามารถจัดเก็บภาษีอากร ได้เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก จึงโปรดให้เลิกวิธีการเรียกประมูลรับเหมาผูกขาดเก็บภาษีอากรจากราษฎรโดยสิ้นเชิง และให้เทศาภิบาลเก็บเองเหมือนกันหมดทุกมณฑล

ในด้านรายจ่าย พระองค์ได้ทรงวางพิกัดอัตราเงินเดือนให้แก่ข้าราชการตามตำแหน่งเป็นที่แน่นอนแทนเงินเบี้ยหวัดที่จ่ายแต่เดิม และยังพระราชทานเบี้ยบำนาญแก่ข้าราชการ เพื่อเป็นเครื่องเลี้ยง เมื่อรับราชการไม่ได้แล้ว โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2439 พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดทำงบประมาณแผ่นดินขึ้นเป็นครั้งแรกอันเป็นแบบฉบับที่จะต้องทำงบประมาณแผ่นดินขึ้น

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

นอกจากการปฏิรูปตามที่กล่าวมาข้างต้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ยกเลิกภาษีชนิดที่เป็นโทษแก่ราษฎร และภาษีอากรบางประเภทที่ทำรายได้ให้กับรัฐบาลไม่มากนัก และเป็นภาระแก่คนยากจน เช่น ภาษีอากรภายใน อากรบ่อนเบี้ย เป็นต้น (อากรบ่อนเบี้ย ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเลิกอากรบ่อนเบี้ย จ.ศ. 1249 (พ.ศ. 2430) โดยลดจำนวนบ่อนเบี้ยลงทุกปี และ ในที่สุดก็เลิกได้หมดทั่งราชอาณาจักร เมื่อปี พ.ศ. 2460 ในสมัยรัชกาลที่ 6) สำหรับบทบัญญัติของภาษีอากรที่ได้มีการตราขึ้นในรัชสมัยนี้ เป็นเพียงการแก้ไขปรับปรุงภาษีอากรที่มีอยู่เท่าเดิมนั้น มิได้มีการเพิ่มประเภทภาษีขึ้นใหม่แต่อย่างใด

ที่มา :: หนังสือที่ระลึกในการเปิดอาคารกรมสรรพากร 2 กันยายน 2540

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

วิวัฒนาการการศึกษาไทย

การศึกษาในอดีต ปัจจุบัน อนาคต ต่างมีวิวัฒนาการเพื่อปรับให้เข้ากับยุคและสมัยของผู้คนในแต่ละยุค ปัจจัยที่ทำให้การศึกษามีวิวัฒนาการและมีการเปลี่ยนแปลงนั้นมีทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกประเทศ อย่างเช่น ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนาสังคมให้มีความเจริญและทันสมัย ปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในด้านต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งประเทศเองก็มีวิวัฒนาการทางการศึกษาด้วยเช่นกัน

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

การศึกษาในอดีต

นับตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินตอนต้นการศึกษาได้ถูกจัดแบ่งตามเพศ โดยการศึกษาสำหรับผู้ชายจะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การศึกษาของฝ่ายอาณาจักร และพุทธจักร การศึกษาของฝ่ายอาณาจักรเป็นการศึกษาสำหรับผู้ชายที่เป็นทหาร โดยจะเล่าเรียนเกี่ยวกับมวย กระบี่กระบอง อาวุธ ตำราพิชัยยุทธ์ต่าง ๆ ส่วนการศึกษาของพุทธจักรเป็นการศึกษาสำหรับพลเรือนชาย เป็นการเล่าเรียนเกี่ยวกับคัมภีร์ไตรเวท โหราศาสตร์เวชกรรม และการศึกษาสำหรับเพศหญิงจะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับงานบ้านงานเรือน กิริยามารยาท กาทำอาหาร เป็นต้น

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา

การปฏิรูปการศึกษาไทยนับตั้งแต่ พ.ศ. 2412- พ.ศ. 2535 ได้มีเกิดการปฏิรูปการศึกษาไทยซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้

การปฏิรูปการศึกษาไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

เป็นการปฏิรูปการศึกษาไทยครั้งแรก โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดตั้งสถานศึกษาขึ้นตามวัดในมณฑลต่าง ๆ และให้โรงเรียนต่าง ๆ ขึ้นกับกรมศึกษาธิการทั้งหมด ต่อมาก็ได้มีการยกฐานะกรมศึกษาธิการเป็นกระทรวงธรรมาการ หรือกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน  

การปฏิรูปการศึกษาไทยหลังการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองคณะราษฎร์ได้มีการกำหนดเป้าหมายของการศึกษา คือ ให้พลเมืองทุกคน ไม่เลือกเพศ ชาติ ศาสนา ได้รับการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อประกอบอาชีพที่จะเกิดประโยชน์แก่บ้านเมือง โดยให้มีการศึกษา 3 ด้านคือ จากธรรมชาติ จากการงาน และจากการสมาคม ต่อมาในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามได้มีการเพิ่มจุดเน้นการการจัดการศึกษาไทยอีก 1 ส่วน จากสามส่วน เป็น พุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา

การปฏิรูปการศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2494-2534

การปฏิรูปการศึกษาไทยในช่วงนี้ได้มีการประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 2 และ 3 มีการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู ประกาศใช้พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน มีการจัดสอนเอนทรานซ์เข้ามหาวิทยาลัย  และมีการจัดวางระบบการศึกษา

การศึกษาสมัยปัจจุบัน

การศึกษาในปัจจุบัน ใช้แผนการศึกษาสมัย พ.ศ. 2535  ซึ่งมีลักษณะที่กำหนดหลายประการ ดังนี้

  1. กำหนดหลักการที่สำคัญ 4  หลักการ
  2. กำหนดจุดมุ่งหมาย ที่ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย ปัญญา ด้านจิตใจ ด้านร่างกายและสังคม
  3. วางระบบการศึกษา 
  4. กำหนดนโยบายการศึกษา 19 ประการ
  5. กำหนดแนวทางการจัดการศึกษา
  6. กำหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

การศึกษาไทยในอนาคต

ในอนาคตการศึกษาถือว่าเป็นสิ่งที่สำหรับประชาชนและประเทศชาติอย่างมากเนื่องจากเพื่อประชาชนต้องการทักษะการคิด การดำรงชีวิตจากการศึกษา และสำหรับประเทศชาติการศึกษาก็ยังเป็นความและอนาคตของประเทศในด้านต่าง ๆ การศึกษาในอนาคตนี้จะมีความแตกต่างจากในอดีตเนื่องจากยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ดังนั้นการศึกษาไทยจึงควรที่จะเปิดมุมมองทางด้าน ๆ ให้มากขึ้น 

การดำเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ตรงกับข้อใด

การปฏิรูปด้านการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีจุดมุ่งหมายอย่างไร

สาเหตุที่ทาให้เกิดการปฏิรูปการศึกษา คือ พระองค์ต้องการสร้างคนที่มีความรู้เพื่อเข้ารับราชการ ช่วยบริหารประเทศให้พัฒนามากขึ้น โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงเรียนหลวงแห่งแรกคือ โรงเรียนนายทหาร มหาดเล็ก เมื่อวันที่6 ตุลาคม พ.ศ.2414 ทรงพระราชทานเสื้อผ้า อาหารกลางวันทุกวัน ครูก็ได้ค่าจ้าง ต่อมา โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระตาหนักเดิมที่สวน ...

การปฏิรูปทางสังคมที่สำคัญในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด

เนื่องในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีการเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปทางด้านต่าง ๆ ให้มีความทันสมัยขึ้น จึงผลให้เกิดการปฏิรูปทางด้านสังคมด้วยเช่นกันคือการยกเลิกทาส โดยแผนการปฏิรูปสังคมในเรื่องของการเลิกทาสนั้นก็ได้มีการออกประกาศพระราชบัญญัติต่าง ๆ ในการยกเลิกทาส เช่น การมีธงประจำชาติครั้งแรก การออกประกาศพระราชบัญญัติพิกัดกระเษียรอายุ ...

การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาคที่เด่นชัดที่สุดในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด

การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค จัดตั้งระบบมณฑลเทศาภิบาลเพื่อสร้างความเป็นเอกภาพทางการปกครองและการดูแลหัวเมืองอย่างใกล้ชิด ยกเลือกเมืองเอก โท ตรี หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองประเทศราชและเปลี่ยนมณฑล ยกเลิกระบบกินเมือง เพราะมีข้าหลวงเทศาภิบาลมาดูเป็นหูเป็นจาแทนรัฐบาลจากส่วนกลาง

ข้อใดเป็นผลการปฏิรูปด้านเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 5

สมัยรัชกาลที่ ๕ มีการปรับเปลี่ยนสถาบันที่สำคัญ ซึ่งส่งผล ให้มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยด้วย นั่นคือการปฏิรูประบบ บริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งหัวใจคือการปฏิรูประบบภาษีและระบบ เทศาภิบาล ซึ่งเป็นการรวมศูนย์อำนาจเก่าเข้ามาอยู่ในเมืองกรุงเทพฯ การปฏิรูปอันนั้นทำให้รัฐบาลมีรายได้มาใช้จ่ายเพื่อพัฒนามากขึ้น