วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6 เฉลยแบบฝึกหัด

  • ก-
  • ก+

ข้อมูลเบื้องต้นของเรื่องนี้


เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท  หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4-6

ทำเอาไว้ให้น้องชาย แต่ว่าถ้าคนอื่นอยากจะเอาไปใช้ก็ไม่ว่า
ไม่เม้นก็ไม่เป็นไร ให้แล้ว ไม่หวังอะไร ((:
มีบางส่วนหาเอง บางส่วน(ใหญ่) ไปก้อบคนอื่นเค้ามา
เอามารวมๆไว้

ENJOY !

เครดิต " ::- [ คุ J x นู n ! c * Z ]-:: "

เลือกประเภทที่ต้องการซื้อ

ทุกประเภท

แพ็กเกจ

นิยายรายตอน

ตอนอ่านล่วงหน้า

เลือกทั้งหมด

จำนวน 0 รายการ *ไม่รวมรายการที่ซื้อไปแล้ว

ยืนยัน

ผลงานอื่นๆ ของ m0chi

ผลงานอื่นๆ ของ m0chi

วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6 เฉลยแบบฝึกหัด

กำลังโหลด...

นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ

วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ม.6 เฉลยแบบฝึกหัด

กำลังโหลด...

คำนิยม Top

"ขยันจัง!"

(แจ้งลบ)

ขยันจังเลยค่ะ ยกนิ้วให้เลย ที่หวังดี อยากให้น้องๆรุ่นหลัง ได้ นำความรู้ด้านนี้ไปศึกษาต่อไป และที่สำคัญ คำนี้โดนใจสุดๆ ให้แล้ว ไม่หวังอะไร ยกนิ้วโป้งเลยนะค่ะ บางคนอาจคิดว่า สร้างมาทำไม อยากให้น้องๆรุ่นหลังลอกหรือไง อ่ะนะ แต่ถ้าพูดตรงๆ และก็ไม่ผิดด้วยอ่ะนะที่สร้างเอาไว้ให้รุ่นน้องหรือเพื่อนๆ ได้นำมาศึกษาต่อไป จริงไหม ถือว่า เป็นความคิดของตน คนอื ... อ่านเพิ่มเติม

ขยันจังเลยค่ะ ยกนิ้วให้เลย ที่หวังดี อยากให้น้องๆรุ่นหลัง ได้ นำความรู้ด้านนี้ไปศึกษาต่อไป และที่สำคัญ คำนี้โดนใจสุดๆ ให้แล้ว ไม่หวังอะไร ยกนิ้วโป้งเลยนะค่ะ บางคนอาจคิดว่า สร้างมาทำไม อยากให้น้องๆรุ่นหลังลอกหรือไง อ่ะนะ แต่ถ้าพูดตรงๆ และก็ไม่ผิดด้วยอ่ะนะที่สร้างเอาไว้ให้รุ่นน้องหรือเพื่อนๆ ได้นำมาศึกษาต่อไป จริงไหม ถือว่า เป็นความคิดของตน คนอื่น อย่าเื.ื.ก จะดีกว่านะค่ะ^^   อ่านน้อยลง

ไข่มุกเจ้าค๊า | 30 มี.ค. 54

  • 37

  • 0

"ขยันจัง!"

(แจ้งลบ)

ขยันจังเลยค่ะ ยกนิ้วให้เลย ที่หวังดี อยากให้น้องๆรุ่นหลัง ได้ นำความรู้ด้านนี้ไปศึกษาต่อไป และที่สำคัญ คำนี้โดนใจสุดๆ ให้แล้ว ไม่หวังอะไร ยกนิ้วโป้งเลยนะค่ะ บางคนอาจคิดว่า สร้างมาทำไม อยากให้น้องๆรุ่นหลังลอกหรือไง อ่ะนะ แต่ถ้าพูดตรงๆ และก็ไม่ผิดด้วยอ่ะนะที่สร้างเอาไว้ให้รุ่นน้องหรือเพื่อนๆ ได้นำมาศึกษาต่อไป จริงไหม ถือว่า เป็นความคิดของตน คนอื ... อ่านเพิ่มเติม

ขยันจังเลยค่ะ ยกนิ้วให้เลย ที่หวังดี อยากให้น้องๆรุ่นหลัง ได้ นำความรู้ด้านนี้ไปศึกษาต่อไป และที่สำคัญ คำนี้โดนใจสุดๆ ให้แล้ว ไม่หวังอะไร ยกนิ้วโป้งเลยนะค่ะ บางคนอาจคิดว่า สร้างมาทำไม อยากให้น้องๆรุ่นหลังลอกหรือไง อ่ะนะ แต่ถ้าพูดตรงๆ และก็ไม่ผิดด้วยอ่ะนะที่สร้างเอาไว้ให้รุ่นน้องหรือเพื่อนๆ ได้นำมาศึกษาต่อไป จริงไหม ถือว่า เป็นความคิดของตน คนอื่น อย่าเื.ื.ก จะดีกว่านะค่ะ^^   อ่านน้อยลง

ไข่มุกเจ้าค๊า | 30 มี.ค. 54

  • 37

  • 0

318 ความคิดเห็น

คู่มอื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 8 |ลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศ 283

จากคำ�ถามข้างต้น เพราะเหตุใดอุณหภูมิของนำ้�ผิวหน้ามหาสมุทรบริเวณชายฝ่ังด้านตะวัน
ออกและบรเิ วณชายฝัง่ ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ ิกจงึ เปลยี่ นแปลงไปจากปกติ
แนวคำ�ตอบ เพราะผิวหน้ามหาสมุทรแปซิฟิกถูกพัดไปสะสมยังชายฝั่งด้านตะวันตกของ
มหาสมทุ รแปซฟิ กิ ไดน้ อ้ ยลง น�้ำ ชน้ั ลา่ งบรเิ วณชายฝงั่ ตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ จงึ ยกตวั
ขนึ้ มาแทนทน่ี �้ำ ดา้ นบนไดน้ อ้ ยลงเชน่ กนั สง่ ผลใหน้ �ำ้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณชายฝง่ั ดา้ นตะวนั
ออกมอี ุณหภูมิต�ำ่ กวา่ ปกติ ส่วนน้ำ�ผวิ หนา้ บรเิ วณชายฝ่งั ดา้ นตะวันตกมอี ณุ หภมู ิสูงกวา่ ปกติ

7. ให้นักเรียนศึกษารูป 8.24 และสืบค้นข้อมูลในหนังสือเรียนหน้า 213 เพ่ือศึกษาปรากฏการณ์
ลาณีญา แล้วร่วมกนั อภปิ รายโดยใช้คำ�ถามตอ่ ไปนี้

เมอื่ ลมคา้ มกี �ำ ลงั แรงกวา่ ปกติ จะสง่ ผลตอ่ อณุ หภมู ขิ องน�ำ้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณชายฝงั่ ดา้ น
ตะวนั ออกและบรเิ วณชายฝง่ั ดา้ นตะวันตกของมหาสมทุ รแปซิฟกิ หรือไม่ อย่างไร
แนวค�ำ ตอบ สง่ ผล คอื น�ำ้ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณชายฝงั่ ดา้ นตะวนั ออกมอี ณุ หภมู สิ งู กวา่ ปกติ
ส่วนบริเวณชายฝงั่ ด้านตะวนั ตกของมหาสมุทรแปซฟิ ิกมอี ณุ หภมู ิต�่ำ กวา่ ปกติ

จากคำ�ถามข้างต้น เพราะเหตุใดอุณหภูมิของน้ำ�ผิวหน้ามหาสมุทรบริเวณชายฝ่ังด้านตะวัน
ออกและบริเวณชายฝั่งดา้ นตะวันตกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ จงึ เปลยี่ นแปลงไปจากปกติ
แนวคำ�ตอบ เพราะผิวหน้ามหาสมุทรแปซิฟิกถูกพัดไปสะสมยังชายฝ่ังด้านตะวันตกของ
มหาสมทุ รแปซฟิ กิ ไดม้ ากขน้ึ น�ำ้ ชน้ั ลา่ งบรเิ วณชายฝง่ั ตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ จงึ ยกตวั
ขนึ้ มาแทนทนี่ �้ำ ดา้ นบนไดม้ ากขนึ้ เชน่ กนั สง่ ผลใหน้ �้ำ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณชายฝงั่ ดา้ นตะวนั
ออกมีอณุ หภูมิสงู กวา่ ปกติ สว่ นน�้ำ ผวิ หน้าบรเิ วณชายฝง่ั ด้านตะวนั ตกมอี ณุ หภูมิต�ำ่ กวา่ ปกติ

8. ครูตรวจสอบความเข้าใจนักเรียนเก่ียวกับปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา โดยใช้คำ�ถามใน
หนังสือเรียนหน้า 213 ดังนี้

ในช่วงที่ลมคา้ ออ่ นก�ำ ลังลง อณุ หภมู นิ �ำ้ ผิวหน้ามหาสมทุ รแปซฟิ ิกบริเวณใกล้ประเทศไทยจะมี
การเปลีย่ นแปลงอย่างไร
แนวคำ�ตอบ อุณหภมู นิ ้�ำ ผวิ หน้ามหาสมุทรลดต�ำ่ ลงกวา่ ปกติ

9. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายตามความคิดของตนเองเพ่ือนำ�เข้าสู่กิจกรรม 8.4 ว่า “ปรากฏการณ์
เอลนีโญและลานีญาส่งผลต่อลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม อย่างไรบ้าง” จากนั้นแบ่ง
กล่มุ นักเรยี น แลว้ ใหป้ ฏบิ ัตกิ ิจกรรม 8.4 ดงั นี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

284 บทที่ 8 |ลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศ คูม่ ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

กิจกรรม 8.4 ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานญี า

จุดประสงค์กิจกรรม
สืบค้นข้อมูล และอธิบายผลของปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาที่มีต่อสภาพ
ลมฟ้าอากาศ ส่งิ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อมจากข้อมูลที่ก�ำ หนด

เวลา 1 ชัว่ โมง

วัสด-ุ อุปกรณ์

1. เอกสารขอ้ มลู ตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์ผลกระทบจากเอลนีโญ ณ ประเทศต่าง ๆ
2. เอกสารขอ้ มลู ตัวอยา่ งเหตุการณ์ผลกระทบจากลานญี า ณ ประเดน็ ต่าง ๆ
3. แผนทโี่ ลก
4. สีเมจกิ

การเตรียมตวั ลว่ งหน้า

ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาข้อมลู เกยี่ วกับผลกระทบของปรากฏการณเ์ อลนีโญและลานญี ามา
ล่วงหน้า

ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรบั ครู

1. ครูอาจแนะน�ำ ให้นักเรยี นบนั ทึกผลการวิเคราะหข์ ้อมูลลงบนแผนที่โดยใช้สัญลกั ษณ์หรอื
สี แทนผลกระทบทเี่ กิดขนึ้ ในบริเวณตา่ ง ๆ บนโลก
2. ครูอาจไม่ระบุช่ือภาพว่าเป็นผลกระทบจากปรากฎการณ์เอลนีโญหรือลานีญา แล้วให้
นกั เรยี นวเิ คราะหแ์ ละเชอ่ื มโยงกบั ความรทู้ ไ่ี ดอ้ ภปิ รายในขอ้ 6 และ 7 วา่ ผลกระทบทศ่ี กึ ษานน้ั
เกดิ จากปรากฎการณใ์ ด เพราะเหตใุ ดจงึ คิดเช่นนัน้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 8 |ลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศ 285

วธิ กี ารท�ำ กิจกรรม

1. ศึกษาข้อมูลตัวอย่างเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริงเก่ียวกับผลกระทบของปรากฏการณ์
เอลนีโญและลานีญาท่ีมีต่อลมฟ้าอากาศ ส่ิงมีชีวิต และส่ิงแวดล้อม จากเอกสารที่
กำ�หนด

2. ระบบุ รเิ วณทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากปรากฎการณเ์ อลนโี ญและลานญี ารวมทง้ั ตวั อยา่ งผลก
ระทบลงบนแผนที่โลก

3. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบผลกระทบท่เี กิดจากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานญี า
4. นำ�เสนอและอภปิ รายผลการทำ�กิจกรรม

ตัวอย่างผลการท�ำ กิจกรรม

ตัวอย่างการวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลกระทบท่ีเกิดจากปรากฏการณ์เอลนีโญและ
ลานีญา

พจาำยนหุ วมนนุ เเพขิ่มตขรอนึ้ น

ผลกระทบจากลานญี า

อณุ หภูมิสูงกวา ปกติ แหง แลงหรือฝนนอ ยกวา ปกติ ผลผลติ ทางการเกษตรเพิ่มขึน้
อณุ หภูมิตำ่ กวา ปกติ ฝนมากหรอื น้ำทว ม ผลผลิตทางการเกษตรลดลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

286 บทท่ี 8 |ลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศ คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

สรุปผลการทำ�กจิ กรรม

ในช่วงที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ ชายฝ่ังด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเกิด
ความแหง้ แลง้ มากขนึ้ และพายหุ มนุ เขตรอ้ นเคลอ่ื นทไี่ ปทางเหนอื มากขนึ้ ในขณะทช่ี ายฝง่ั
ดา้ นตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ มปี รมิ าณฝนเพมิ่ มากขน้ึ จนท�ำ ใหม้ โี อกาสเกดิ น�้ำ ทว่ ม
และดนิ ถลม่ มากขนึ้ และพายหุ มนุ เขตรอ้ นมจี �ำ นวนเพม่ิ มากขน้ึ สว่ นในพนื้ ทท่ี หี่ า่ งไกลออก
ไปอาจมีอุณหภูมิสูงหรือต่ำ�กว่าปกติ เกิดความแห้งแล้งหรือมีปริมาณฝนเพิ่มข้ึน ผลผลติ
ทางการเกษตรเพม่ิ ขน้ึ และในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ มจี �ำ นวนพายหุ มนุ เขตรอ้ นลดลง
ในชว่ งทเี่ กดิ ปรากฏการณล์ านญี า ชายฝงั่ ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ มปี รมิ าณ
ฝนมากขึ้นจนทำ�ให้มีโอกาสเกิดนำ้�ท่วมและดินถล่มมากขึ้น ในขณะที่ชายฝ่ังด้านตะวัน
ออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเกิดความแห้งแล้งมากข้ึน ส่วนในพื้นท่ีที่ห่างไกลออกไปอาจ
มอี ุณหภมู ติ �่ำ กว่าปกติ เกดิ ความแห้งแล้งหรือมีปริมาณฝนเพม่ิ ข้ึน ผลผลติ ทางการเกษตร
ลดลง และในมหาสมุทรแอตแลนติกมีจำ�นวนพายุหมุนเขตรอ้ นเพิม่ ข้นึ

ค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม

ในช่วงที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ พื้นที่ชายฝ่ังด้านตะวันออกและตะวันตกของ
มหาสมุทรแปซิฟิกได้รับผลกระทบอะไรบา้ ง
แนวคำ�ตอบ พ้ืนท่ีชายฝ่ังด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเกิดฝนตกน้อยลง
ท�ำ ใหม้ ีความแห้งแล้งมากขึน้ ในขณะทีช่ ายฝ่งั ด้านตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซิฟกิ
มีปริมาณฝนเพ่ิมมากขึ้นจนทำ�ให้มีโอกาสเกิดน้ำ�ท่วมและดินถล่มมากขึ้น และ
ชาวประมงในบรเิ วณนนั้ จบั ปลาได้นอ้ ยลง

ในช่วงที่เกิดปรากฏการณ์ลานีญา พื้นที่ชายฝ่ังด้านตะวันออกและตะวันตกของ
มหาสมทุ รแปซิฟกิ ได้รบั ผลกระทบอะไรบา้ ง

แนวค�ำ ตอบ ชายฝงั่ ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ มปี รมิ าณฝนมากขน้ึ จนท�ำ ให้
มโี อกาสเกดิ น�ำ้ ทว่ มและดนิ ถลม่ มากขนึ้ ในขณะทช่ี ายฝง่ั ดา้ นตะวนั ออกของมหาสมทุ ร
แปซิฟิกเกดิ ความแหง้ แล้งมากข้ึน

ปรากฏการณเ์ อลนีโญและลานีญาส่งผลกระทบต่อพน้ื ที่อืน่ ๆ หรือไม่ อย่างไร
แนวค�ำ ตอบ สง่ ผลกระทบตอ่ พน้ื ทอ่ี นื่ ๆ ดว้ ย โดยอาจเกดิ ความแหง้ แลง้ หรอื มปี รมิ าณ

ฝนเพิ่มขน้ึ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 8 |ลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศ 287

ปรากฏการณเ์ อลนโี ญและลานีญาก่อใหเ้ กิดผลกระทบไดอ้ ย่างไร
แนวคำ�ตอบ ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาก่อให้เกิดผลกระทบได้เน่ืองจากอุณหภูมิ
น้ำ�ผิวหน้ามหาสมุทรเปล่ียนแปลงไปจากปกติ โดยถ้านำ้�ผิวหน้ามหาสมุทรมีอุณหภูมิสูงกว่า
ปกติจะทำ�ให้นำ้�ระเหยเข้าสู่บรรยากาศได้มากขึ้นส่งผลให้เกิดฝนตกมากข้ึน แต่ถ้าน�ำ้ ผิวหน้า
มหาสมุทรมีอุณหภูมิตำ่�กว่าปกติจะทำ�ให้น้ำ�ระเหยเข้าสู่บรรยากาศได้น้อยลงส่งผลให้เกิด
ฝนตกน้อยลง

10. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรม และรว่ มกนั อภิปรายผลการทำ�กิจกรรมพร้อม
ตอบคำ�ถามท้ายกจิ กรรม โดยมีแนวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบค�ำ ถามดังดา้ นบน

12. ครตู รวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนเกี่ยวกบั ผลกระทบจากปรากฏการณเ์ อลนีโญและลานีญา
โดยใช้ค�ำ ถามในหนังสอื เรยี นหนา้ 215 และ 216 ดังน้ี

ในช่วงที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ ชายฝั่งด้านตะวันออกและชายฝ่ังด้านตะวันตกของ
มหาสมทุ รแปซิฟกิ ได้รับผลกระทบอย่างไรบ้าง เพราะเหตุใด
แนวค�ำ ตอบ พนื้ ทช่ี ายฝงั่ ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ เกดิ ความแหง้ แลง้ มากขน้ึ พน้ื ที่
ชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ มโี อกาสเกดิ น�้ำ ทว่ มและดนิ ถลม่ มากขน้ึ เนอ่ื งจาก
นำ้�ผิวหน้ามหาสมุทรมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติจึงทำ�ให้น้ำ�ระเหยเข้าสู่บรรยากาศได้มากข้ึน และ
ชาวประมงจบั ปลาไดน้ อ้ ยลง เนอื่ งจากชว่ งเกดิ เอลนโี ญ ลมคา้ มกี �ำ ลงั ออ่ นกวา่ ปกตทิ �ำ ใหน้ �้ำ ผวิ
หนา้ มหาสมทุ รถกู พดั ออกไปไดน้ อ้ ยกวา่ ปกติ น�้ำ ชน้ั ลา่ งทมี่ สี ารอาหารสงู จงึ ยกตวั ขนึ้ มาแทนท่ี
น้ำ�ผิวหนา้ ไดน้ อ้ ย

ในช่วงท่ีเกิดปรากฏการณ์ลานีญา ชายฝั่งด้านตะวันออกและชายฝ่ังด้านตะวันตกของ
มหาสมุทรแปซิฟิกไดร้ ับผลกระทบอย่างไรบ้าง เพราะเหตใุ ด
แนวค�ำ ตอบ พน้ื ทช่ี ายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ มโี อกาสเกดิ น�้ำ ทว่ มและดนิ ถลม่
มากขนึ้ เนอ่ื งจากพน้ื ทช่ี ายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตกมอี ณุ หภมู สิ งู กวา่ ปกตจิ งึ ท�ำ ใหเ้ กดิ เมฆและมปี รมิ าณ
ฝนตกเพม่ิ มากขน้ึ สว่ นชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ เกดิ ความแหง้ แลง้ มากขนึ้
เนื่องจากน�ำ้ ผวิ หนา้ มหาสมุทรมอี ุณหภูมิต�ำ่ กว่าปกติ จึงทำ�ให้มปี รมิ าณฝนลดลง

13. ค รูอภิปรายกับนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลกระทบจากปรากฏการเอลนีโญและลานีญาท่ีมีต่อ
ประเทศไทย โดยใชค้ ำ�ถามชวนคิดในหนงั สือเรยี นหน้า 216 ดังนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

288 บทที่ 8 |ลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศ คู่มอื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

เพราะเหตุใด ในช่วงท่ีเกิดปรากฏการณ์ลานีญา ประเทศไทยจึงมีฝนตกมากกว่าปกติและ
อณุ หภูมอิ ากาศต�ำ่ กว่าปกติ
แนวค�ำ ตอบ เนอื่ งจากน�้ำ ผวิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ กิ
มอี ณุ หภมู สิ งู กวา่ ปกติ อากาศเหนอื ผวิ น�้ำ บรเิ วณนจ้ี งึ มอี ณุ หภมู สิ งู ขน้ึ สง่ ผลใหค้ วามกดอากาศ
มคี า่ ต�ำ่ กวา่ ปกติ ท�ำ ใหค้ วามกดอากาศบรเิ วณตอนบนของประเทศจนี และความกดอากาศเหนอื
มหาสมุทรมีค่าแตกต่างกันมากขึ้น อากาศจึงสามารถเคล่ือนท่ีจากทางตอนบนของประเทศ
จีนมายังมหาสมุทรได้มากขึ้นส่งผลให้ประเทศไทยมีอุณหภูมิลดต่ำ�ลงกว่าปกติ นอกจากนี้
อากาศเยน็ ทเี่ คลอื่ นผา่ นมายงั บรเิ วณประเทศไทยซงึ่ มคี วามชนื้ สงู ยงั สง่ ผลใหเ้ กดิ ฝนตกมากขน้ึ

14. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ ผลการหมนุ เวยี นของอากาศและน�ำ้ ผวิ หนา้ ในมหาสมทุ ร
โดยมีแนวทางการสรปุ ดงั นี้
แนวทางการสรุป การหมุนเวียนของอากาศและการหมุนเวียนของนำ้�ผิวหน้ามหาสมุทรมีความ
สัมพันธ์กัน หากการหมุนเวียนของอากาศและน้ำ�ผิวหน้ามหาสมุทรเกิดความแปรปรวนจะส่งผลต่อ
ลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิต และสง่ิ แวดล้อม เช่น เอลนโี ญและลานญี า

แนวทางการวดั และประเมนิ ผล

KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล

K: ผ ล ข อ ง ก า ร ห มุ น เ วี ย น ข อ ง อ า ก า ศ แ ล ะ 1. การตอบค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจ
นำ้�ผิวหน้าในมหาสมุทรที่มีต่อลมฟ้าอากาศ 2. ก ารตอบคำ�ถาม และการนำ�เสนอผล
สิง่ มชี วี ติ และสงิ่ แวดล้อม
การอภปิ ราย
3. แบบฝึกหัด

P: 1. ผลงานการแสดงพนื้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ
1. การจดั กระท�ำ และส่ือความหมายข้อมูล จากปรากฏการณเ์ อลนโี ญและลานลี งใน
2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะ แผนที่โลก

ผู้น�ำ 2. มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ อภิปราย
และลงข้อสรุปเก่ียวกับผลกระทบจาก
ปรากฏการณ์เอลนโี ญและลาณญี า

A : การยอมรับความเหน็ ตา่ ง การรับฟังความเหน็ ของผอู้ นื่ ในการ
ร่วมอภปิ ราย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 8 |ลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศ 289

แบบฝกึ หดั ท้ายบท

1. ระบุปัจจัยหลักท่ีทำ�ให้ประเทศไทยมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าบริเวณขั้วโลก พร้อมท้ังให้
เหตุผลประกอบ
แนวค�ำ ตอบ 1) ต�ำ แหนง่ ละตจิ ดู ประเทศไทยอยใู่ นต�ำ แหนง่ ทร่ี บั พลงั งานจากรงั สใี นแนวเฉยี ง
นอ้ ยกว่าบรเิ วณขวั้ โลกทำ�ให้ความเขม้ ของรงั สีสูงกวา่ 2) อัตราส่วนรงั สสี ะท้อนของพน้ื ผิวโลก
บริเวณประเทศไทยนอ้ ยกว่าบรเิ วณขวั้ โลก ทำ�ให้รบั รังสีไดม้ ากกว่า

2. ท่ีละติจูดเดียวกัน ในบริเวณท่ีเป็นแหล่งโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งมีการปล่อยฝุ่นควันเป็น
จ�ำ นวนมาก เมอ่ื เทยี บกบั บรเิ วณปา่ ไมท้ ม่ี อี ากาศปลอดโปรง่ บรเิ วณใดจะไดร้ บั ปรมิ าณพลงั งาน
จากรงั สีดวงอาทิตย์น้อยกวา่ กนั เพราะเหตุใด
แนวค�ำ ตอบ บรเิ วณทเี่ ปน็ แหลง่ โรงงานอตุ สาหกรรมไดร้ บั ปรมิ าณพลงั งานจากรงั สดี วงอาทติ ย์
น้อยกว่า เพราะละอองลอยจากโรงงานอุตสาหกรรมจะดูดกลืน สะท้อน และกระเจิงรังสี
ดวงอาทิตย์ ทำ�ใหร้ ังสดี วงอาทิตย์ทตี่ กกระทบพน้ื ผวิ โลกมคี วามเข้มนอ้ ยลง

3. เมอื่ เปรยี บเทยี บบรเิ วณขว้ั โลกและปา่ ดบิ ชนื้ บรเิ วณใดมอี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นมากกวา่ กนั
และสง่ ผลต่ออุณหภูมิอากาศบริเวณนน้ั อยา่ งไร
แนวค�ำ ตอบ บรเิ วณขวั้ โลกมอี ตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นมากกวา่ บรเิ วณปา่ ดบิ ชนื้ สง่ ผลใหอ้ ณุ หภมู ิ
อากาศบรเิ วณขว้ั โลกตำ่�กวา่ บรเิ วณป่าดิบชน้ื
4. พิจารณาแผนภาพแสดงบริเวณเส้นความกดอากาศเท่า (isobar) ก และ ข ซ่ึงอยู่ใน
เขตซีกโลกเหนือ และเส้นความกดอากาศเทา่ ค และ ง ซึ่งอยู่ในเขตซีกโลกใต้

หมายเหตุ เส้นความกดอากาศเท่าคอื เสน้ ท่ลี ากผา่ นบรเิ วณท่มี ีความกดอากาศเทา่ กัน ณ บริเวณต่าง ๆ พร้อมทง้ั
มีการระบคุ ่าความกดอากาศของเสน้ นนั้ ๆ ในหนว่ ยเฮกโตปาสกาล (hPa)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

290 บทท่ี 8 |ลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศ คูม่ ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาทศิ ทางการเคลอ่ื นทข่ี องอากาศตอ่ ไปนว้ี า่ ถกู หรอื ผดิ โดยวงกลม
เลอื กพร้อมทัง้ ใหเ้ หตุผลประกอบ

4.1 ถูก / ผิด เพราะเหตุใด
อากาศจะต้องมีทิศทางการเคล่ือนที่
จากบริเวณท่ีมีความกดอากาศสูง
กว่าไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศ
ต�ำ่ กว่า

4.2 ถูก / ผิด เพราะเหตุใด
อากาศจะตอ้ งมที ศิ ทางการเคลอ่ื นที่
จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง
กวา่ ไปยงั บรเิ วณทมี่ คี วามกดอากาศ
ต่ำ�กวา่

4.3 ถกู / ผดิ เพราะเหตใุ ด
อากาศมีทิศทางทางการเคล่ือนที่จาก
บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่าไป
ยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ�กว่า
และอากาศบนซีกโลกเหนือมีทิศทาง
การเคลอ่ื นท่ีเบนออกไปทางขวา

4.5 ถูก / ผดิ เพราะเหตใุ ด
อากาศบนซีกโลกใต้จะต้องมีทิศทาง
การเคลื่อนทีเ่ บนออกไปทางซา้ ย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 8 |ลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศ 291

5. จากแบบจ�ำ ลองการหมนุ เวียนอากาศตามเขตละตจิ ูดให้นักเรียนตอบค�ำ ถามต่อไปนี้

5.1 เหตใุ ดอากาศจึงยกตัวข้ึนบริเวณศูนยส์ ูตร และบรเิ วณละติจดู ที่ 60 องศา
แนวคำ�ตอบ ที่บริเวณศูนย์สูตรมีความเข้มรังสีมากทำ�ให้อากาศมีอุณหภูมิสูง ประกอบกับลมค้า
จากซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้พัดเข้าหากันทำ�ให้อากาศยกตัวขึ้นอย่างรุนแรง และท่ีบริเวณ
ละตจิ ูดที่ 60 องศา อากาศท่อี ุ่นกว่าจากละติจูดที่ 30 องศา เคล่อื นทมี่ าปะทะกบั อากาศเย็นจาก
ข้วั โลก ท�ำ ให้อากาศยกตวั ขน้ึ

5.2 เหตุใดอากาศจึงจมตวั ลงบรเิ วณละตจิ ูดที่ 30 องศา และบริเวณขวั้ โลก
แนวค�ำ ตอบ ทบ่ี รเิ วณละตจิ ดู ท่ี 30 องศา อากาศทยี่ กตวั และเคลอ่ื นทมี่ าจากศนู ยส์ ตู รจะมอี ณุ หภมู ิ
ตำ่�ลง ทำ�ให้มีความหนาแน่นเพ่ิมมากข้ึน จึงจมตัวลงบริเวณละติจูดท่ี 30 องศา และท่ีบริเวณ
ข้ัวโลกเปน็ บรเิ วณทม่ี คี วามเขม้ รงั สดี วงอาทติ ยน์ อ้ ย อากาศจงึ มอี ณุ หภมู ติ �ำ่ และความกดอากาศสงู
ท�ำ ใหอ้ ากาศจมตวั ไดด้ ี

5.3 ทิศทางของลมพ้ืนผิวบริเวณละติจูด 0 ถึง 30 องศาเหนือแตกต่างจากทิศทางของลม
บริเวณ ละตจิ ดู 0 ถงึ 30 องศาใต้อย่างไร เพราะเหตุใด
แนวคำ�ตอบ ลมพื้นผิวบริเวณละติจูด 0 ถึง 30 องศาเหนือ มีทิศทางเบนออกไปทางขวา
สว่ นลมพืน้ ผวิ บรเิ วณละตจิ ูด 0 ถึง 30 องศาใต้ มที ิศทางเบนออกไปทางซ้าย เนอ่ื งจากอทิ ธิพล
จากแรงคอริออลิสทแี่ ตกต่างกันระหวา่ งซกี โลกเหนือและซกี โลกใต้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

292 บทที่ 8 |ลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศ คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

6. ให้นักเรียนเติมลักษณะภูมิอากาศและลมประจำ�เขตละติจูดลงในช่องว่างให้สอดคล้องกับ
การหมุนเวียนของอากาศในแต่ละแถบละตจิ ูด
ก. ลมตะวนั ออก
ข. ลมตะวนั ตก
ค. ภมู อิ ากาศต้งั แตแ่ บบแหง้ แล้งจนถงึ ภูมิอากาศแบบอบอนุ่
ง. ภมู อิ ากาศตง้ั แต่แบบรอ้ นชน้ื จนถงึ ภมู อิ ากาศแบบแหง้ แลง้
จ. ภูมอิ ากาศตงั้ แต่ภูมิอากาศอบอุน่ จนถงึ ภูมิอากาศหนาว

การหมุนเวยี นของอากาศ ภมู อิ ากาศและลมประจ�ำ เขตละตจิ ดู
ในแตล่ ะแถบละตจิ ูด ลมตะวนั ออก ภมู อิ ากาศต้ังแต่แบบร้อนช้ืน
จนถึงภมู อิ ากาศแบบแห้งแล้ง
การหมุนเวียนอากาศแถบเขตร้อน ลมตะวนั ตก ภูมิอากาศตงั้ แต่ภมู ิอากาศ
อบอนุ่ จนถึงภมู ิอากาศหนาว
การหมนุ เวยี นอากาศแถบข้ัวโลก ลมตะวันออก ภูมอิ ากาศต้งั แต่แบบแห้งแล้ง
การหมนุ เวียนอากาศ จนถึงภูมอิ ากาศแบบอบอุ่น
แถบละตจิ ดู กลาง

7. ระบลุ กั ษณะลมฟ้าอากาศทพี่ บบรเิ วณรอยต่อของเขตละติจดู พร้อมอธบิ ายการเกิด

บริเวณรอยตอ่ ลักษณะลมฟ้าอากาศ การเกิด

ละติจดู 60 องศา เหนือและใต้ เกิดเมฆและหยาดนำ้�ฟ้า ก า ร ห มุ น อ า ก า ศ ใ น แ ถ บ

ป ริ ม า ณ ม า ก ทำ � ใ ห้ ละติจูดกลางมาปะทะกับ

อากาศอบอุ่นและช้ืน อากาศเยน็ จากการหมนุ เวยี น

ตลอดปี อากาศแถบข้ัวโลกแล้วยก

ตัวข้นึ

ละติจดู 30 องศา เหนอื และใต้ แหง้ แลง้ มหี ยาดน�ำ้ ฟา้ นอ้ ย เกิดการจมตัวของอากาศที่
เคลอ่ื นทม่ี าจากแถบศนู ยส์ ตู ร

เสน้ ศูนย์สูตร มีเมฆมาก เกิดฝนฟ้า ล ม ค้ า จ า ก ซี ก โ ล ก เ ห นื อ
คะนองและฝนชุกตลอด และซีกโลกใต้พัดเข้าหากัน
ปี บรเิ วณศนู ยส์ ตู ร ท�ำ ใหอ้ ากาศ

ยกตัวอย่างรุนแรง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 8 |ลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศ 293

8. ปจั จัยหลกั ทท่ี �ำ ใหน้ �ำ้ ผิวหนา้ มหาสมุทรเกดิ การไหลเวียนคอื อะไร
แนวค�ำ ตอบ ลม แรงคอริออลสิ และขอบทวปี

9. บริเวณท่ีมกี ระแสน้ำ�อนุ่ ไหลผ่าน จะมีลมฟ้าอากาศเปน็ อยา่ งไร เพราะเหตุใด
แนวคำ�ตอบ อากาศมีอุณหภูมิและความชื้นสูงทำ�ให้มีโอกาสเกิดฝนตกได้มาก เพราะกระแส

น้ำ�อ่นุ ถ่ายโอนความร้อนเขา้ สู่อากาศบริเวณนั้นทำ�ใหอ้ ากาศมอี ุณหภูมิสูงขึ้น ประกอบกบั น�ำ้
สามารถระเหยเขา้ ส่บู รรยากาศไดม้ ากจึงมีความชื้นสูงและมโี อกาสเกดิ ฝนตกมาก

10. ใชแ้ ผนทีโ่ ลกท่ีก�ำ หนดใหป้ ระกอบการตอบคำ�ถามตอ่ ไปนี้

10.1 กระแสน�ำ้ ผวิ หนา้ บริเวณหมายเลข 1 มีทศิ ทางการไหลอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
แนวค�ำ ตอบ ไหลไปทางทศิ ตะวันออกตามทิศทางของลมตะวันตก
10.2 กระแสนำ้� A และกระแสนำ้� B กระแสน้ำ�ใดเป็นกระแสน้ำ�อุ่นและกระแสนำ้�ใดเป็น

กระแสน�้ำ เยน็ เพราะเหตใุ ด
แนวคำ�ตอบ กระแสน้ำ� A เป็นกระแสน้ำ�อุน่ เพราะไหลยงั บริเวณละติจูดท่ีสงู กว่าท�ำ ให้

น�้ำ ในกระแสน�ำ้ มอี ณุ หภมู สิ งู กวา่ น�ำ้ โดยรอบ สว่ นกระแสน�้ำ B เปน็ กระแสน�ำ้ เยน็ เพราะ
ไหลยงั บริเวณละตจิ ดู ทต่ี ่ำ�กว่าท�ำ ให้น้�ำ ในกระแสน้ำ�มอี ุณหภูมติ ่ำ�กว่าน้ำ�โดยรอบ
10.3 กระแสน�ำ้ A และ B มีชอ่ื วา่ อะไร
แนวคำ�ตอบ กระแสนำ้� A ชื่อว่า กระแสน้ำ�อุ่นกัลฟตรีม กระแสน้ำ� B ชื่อว่า
กระแสน้ำ�เย็นเปรู

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

294 บทท่ี 8 |ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

11. วงกลมตวั อกั ษรหนา้ ค�ำ ตอบทถ่ี กู ตอ้ งจากตวั เลอื กก�ำ หนดให้

ขอ้ ขอ้ ความ ตวั เลอื ก

ข ณ ะ เ กิ ด ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ เ อ ล นี โ ญ
ก. ไหลไปทางตะวนั ตกมากขน้ึ

นำ�้ อุ่นท่ีไหลจากชายฝ่ังด้านตะวันออก
11.1 ข. ไมเ่ กดิ การเปลย่ี นแปลง

ไปยงั ชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ ร
ค. ไหลไปทางตะวนั ตกนอ้ ยลง

แปซฟิ กิ เกดิ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร

ข ณ ะ เ กิ ด ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ล า นี ญ า
ก. ไหลไปทางตะวนั ตกมากขน้ึ

นำ�้ อุ่นท่ีไหลจากชายฝ่ังด้านตะวันออก
11.2 ข. ไมเ่ กดิ การเปลย่ี นแปลง

ไปยงั ชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมทุ ร
ค. ไหลไปทางตะวนั ตกนอ้ ยลง

แปซฟิ กิ เกดิ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร

อุณหภูมินำ้�ผิวหน้ามหาสมุทรบริเวณ ก. สงู ขน้ึ
11.3 มหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางเป็น ข. ไมเ่ ปลย่ี นแปลง

อยา่ งไรเมอ่ื เกดิ ปรากฏการณเ์ อลนโี ญ ค. ลดลง

อุณหภูมินำ้�ผิวหน้ามหาสมุทรบริเวณ ก. สงู ขน้ึ
11.4 มหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางเป็น ข. ไมเ่ ปลย่ี นแปลง

อยา่ งไรเมอ่ื เกดิ ปรากฏการณล์ านญี า ค. ลดลง

ก. ฝนตกหนกั
ปรากฏการณ์เอลนีโญรุนแรงส่งผลให้
11.5 ข. ไมเ่ ปลย่ี นแปลง
เกดิ ความผดิ ปกตแิ บบใดในประเทศไทย

ค. ฝนแลง้

ก. ฝนตกหนกั
ปรากฏการณ์ลานีญารุนแรงส่งผลให้
11.6 ข. ไมเ่ ปลย่ี นแปลง
เกดิ ความผดิ ปกตแิ บบใดในประเทศไทย

ค. ฝนแลง้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ 295

9บทที่ | การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ

ipst.me/8859

(ก) (ข)

ทมี่ ารูป ก และ ข NASA/William O. Field

ตวั ช้วี ัด

อธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศของโลก พร้อมท้ังนำ�เสนอแนวปฏิบัติเพ่ือ
ลดกจิ กรรมของมนษุ ยท์ ส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

296 บทท่ี 9 | การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ คู่มอื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวัด

ตวั ช้ีวดั
อธิบายปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศของโลก พรอ้ มทั้งน�ำ เสนอแนวปฏิบัติเพื่อ

ลดกิจกรรมของมนษุ ย์ท่ีสง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายกระบวนการสมดลุ พลงั งานของโลก
2. วิเคราะห์และอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างการเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศกบั ปัจจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง
3. อธบิ ายผลจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศท่มี ีตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ ม
4. ออกแบบและน�ำ เสนอแนวปฏบิ ตั เิ พอ่ื ลดปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก และ

แนวทางการรบั มอื กบั ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ข้ึน

ทกั ษะกระบวนการทาง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จิตวิทยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์ 1. การสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม 1. ความใจกวา้ ง
1. ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็น 2. คณุ ธรรมและ

ลงข้อสรุป ทีมและภาวะผนู้ �ำ จริยธรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็น กบั วทิ ยาศาสตร์

ทมี และภาวะผนู้ �ำ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศ 297

ลำ�ดับแนวความคิดต่อเนอื่ ง

โลกมีกระบวนการทที่ �ำ ใหเ้ กิดความสมดลุ พลังงาน สง่ ผลให้โลกมีอุณหภูมิเฉล่ยี ของอากาศในแตล่ ะปี
ค่อนข้างคงท่ี ซึ่งมีปจั จยั ทีเ่ ก่ยี วข้องคอื บรรยากาศ เมฆ และพ้นื ผิวโลก

การเปลย่ี นแปลงปริมาณขององค์ประกอบในบรรยากาศ เช่น แกส๊ เรอื นกระจก
ละอองลอย รวมทัง้ การเปล่ียนแปลงพน้ื ผวิ โลก ลว้ นส่งผลตอ่ สมดุลพลงั งานของโลกและท�ำ ใหเ้ กิด

การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศ

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสง่ ผลกระทบต่อสงิ่ มชี วี ิตและสิง่ แวดล้อมในหลาย ๆ
ด้าน ดงั น้ันการลดปจั จยั ทสี่ ่งเสรมิ ให้เกิดการเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศและการวางแผนรับมอื ตอ่
ผลกระทบทเ่ี กดิ ข้ึน จึงเป็นหน้าทข่ี องทกุ คนและทกุ องคก์ รทงั้ ในระดับชาติและระดบั โลก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

298 บทท่ี 9 | การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ คู่มือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

สาระสำ�คญั

โลกมกี ระบวนการสมดุลพลงั งาน ทีค่ วบคมุ ให้พลังงานเฉลยี่ ท่โี ลกได้รบั เท่ากับพลังงานเฉลยี่ ทโ่ี ลก
ปล่อยกลับสู่อวกาศ ส่งผลให้อุณหภูมิเฉล่ียของพ้ืนผิวโลกในแต่ละปีค่อนข้างคงที่ มีปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง
คือ บรรยากาศ เมฆ และพน้ื ผวิ โลก หากปัจจัยดังกล่าวมีการเปล่ียนแปลงจะส่งผลต่อสมดุลพลงั งาน
ของโลกท�ำ ให้ภูมอิ ากาศมีการเปล่ียนแปลง ซง่ึ จะสง่ ผลกระทบตอ่ สิ่งมีชวี ิตและสง่ิ แวดลอ้ มในหลาย ๆ
ดา้ น ดงั นนั้ จงึ เปน็ หนา้ ทข่ี องทกุ คนทจ่ี ะรว่ มมอื กนั ลดปจั จยั ทส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ
และวางแผนรบั มือต่อผลกระทบท่จี ะเกิดขนึ้

เวลาท่ีใช้

บทเรียนน้คี วรใชเ้ วลาประมาณ 5 ชั่วโมง

9.1 สมดุลพลังงานของโลกกบั อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศ 1 ชั่วโมง
9.2 ปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ 2 ชั่วโมง
9.3 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศ 2 ชว่ั โมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 9 | การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ 299

9.1 สมดุลพลงั งานของโลกกับอุณหภูมิเฉลย่ี ของอากาศ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
อธิบายกระบวนสมดุลพลงั งานของโลก

ส่อื การเรียนรูแ้ ละแหล่งการเรียนรู้
1. หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org

แนวการจัดการเรยี นรู้
1. ครูนำ�เข้าสู่บทเรียน โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับ

การรับพลงั งานจากดวงอาทิตยแ์ ละอุณหภูมิของอากาศ โดยใช้คำ�ถามต่อไปน้ี

เพราะเหตใุ ดโลกของเราจึงมีส่งิ มชี ีวิตอาศยั อยู่ซึ่งตา่ งจากดาวเคราะห์ดวงอ่นื ๆ
แนวคำ�ตอบ โลกของเรามีมีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่เพราะมีอุณหภูมิเหมาะสมกับการดำ�รงชีวิต
เนอ่ื งจากโลกมบี รรยากาศทช่ี ว่ ยควบคมุ อณุ หภมู ขิ องอากาศในเวลากลางวนั ไมร่ อ้ นเกนิ ไปและ
กลางคนื ไม่หนาวจนเกนิ ไป และโลกยังมีน�ำ้ ท่ีใช้ในการด�ำ รงชีวิต

เมอ่ื ดวงอาทิตยแ์ ผ่รงั สมี าถึงช้ันบรรยากาศของโลก โลกจะรบั และเกบ็ พลังงานจากดวงอาทติ ย์
ไว้ทงั้ หมดหรือไม่ เพราะเหตใุ ด
แนวคำ�ตอบ ไม่ท้ังหมด เพราะโลกมีกระบวนการปลดปล่อยพลังงานท่ีโลกได้รับกลับสู่
บรรยากาศดว้ ย ถา้ โลกรบั และเกบ็ ไวท้ งั้ หมดอณุ หภมู ขิ องโลกของสงู ขนึ้ ตลอดเวลาจนสง่ิ มชี วี ติ
ไม่สามารถอาศัยอยู่ได้

2. ครูเตรียมรูป 9.1, 9.2 และ 9.3 ตามหนังสือเรียนหน้า 226, 227 และ 228 ตามลำ�ดับ โดย
ดาวน์โหลดจาก QR code ประจำ�บทในคู่มือครู แล้วให้นักเรียนศึกษากระบวนการรับและ
ปลอ่ ยพลงั งานออกสูอ่ วกาศโดยปจั จัยตา่ ง ๆ จากรปู ขา้ งตน้ แล้วตอบค�ำ ถามต่อไปนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

300 บทที่ 9 | การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศ คู่มือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

เม่ือดวงอาทิตย์แผ่รังสีมาสู่ช้ันบรรยากาศโลก รังสีดวงอาทิตย์ผ่านมายังพื้นผิวโลกทั้งหมด
หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
แนวคำ�ตอบ ไม่ท้ังหมด เพราะบรรยากาศ เมฆ และพ้ืนผิวโลกจะสะท้อนรังสีบางส่วนออกสู่
อวกาศ

ถ้าพลังงานท่ีโลกได้รับท้ังหมดคิดเป็น 100 หน่วย ปริมาณพลังงานที่ออกสู่อวกาศประมาณ
กหี่ นว่ ย และคงเหลอื อยภู่ ายในโลกประมาณก่ีหน่วยและอยู่ทีใ่ ดบ้าง
แนวค�ำ ตอบ พลงั งานทอี่ อกสอู่ วกาศ 29 หนว่ ย และคงเหลอื อยภู่ ายในโลกประมาณ 71 หนว่ ย
โดยคงอยใู่ นบรรยากาศ เมฆ และพื้นผิวโลก

พ้นื ผิวโลกปลดปล่อยพลงั งานท่ดี ูดกลนื ไวผ้ ่านกระบวนการใดบ้าง
แนวคำ�ตอบ การแผ่รังสี การพาความรอ้ น การระเหยของนำ�้

พื้นผิวโลกแผ่รังสคี วามรอ้ นทีด่ ูดกลนื ไว้ออกสู่อวกาศทงั้ หมดหรอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคำ�ตอบ ไม่ท้ังหมด โดยพื้นผิวโลกแผ่รังสีความร้อนออกสู่อวกาศโดยตรง 12 หน่วย
ส่วนรังสีความร้อนที่เหลือจะถูกดูดกลืนโดยไว้โดยแก๊สเรือนกระจกและแผ่รังสีกลับมายัง
พื้นผวิ โลกอกี ครงั้

นอกจากพลังงานท่ีพ้ืนผิวโลกปลดปล่อยโดยตรงออกสู่อวกาศ โลกยังปลดปล่อยพลังงานออก
สอู่ วกาศด้วยปจั จัยอน่ื อกี หรือไม่ เปน็ ปัจจัยใดบ้างและปริมาณเท่าใด
แนวคำ�ตอบ ปล่อยสอู่ วกาศโดยบรรยากาศและเมฆ รวมเปน็ 59 หน่วย

เมื่อพิจารณาในภาพรวมท้ังกระบวนการสมดุลพลังงานแล้ว ปริมาณพลังงานเฉล่ียที่โลกได้รับ
และพลงั งานเฉลย่ี ทป่ี ลอ่ ยออกสูอ่ วกาศเท่ากนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคำ�ตอบ เทา่ กนั โดยโลกได้รับพลงั งานเฉล่ียรวม 100 หนว่ ย และปล่อยออกสู่อวกาศโดย
เฉลยี่ 100 หน่วย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ 301

3. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปเชอ่ื มโยงจากแผนภาพ 9.1 9.2 และ 9.3 โดยมแี นวทางการสรุปดงั นี้

แนวทางการสรุป
• ถา้ พลงั งานจากดวงอาทติ ยท์ เี่ ขา้ มาสชู่ นั้ บรรยากาศโลกในเวลา 1 ปี โดยเฉลย่ี คดิ เปน็ 100 หนว่ ย

โลกจะค่อย ๆ ปล่อยพลังงานกลับสู่อวกาศในปริมาณท่ีเท่ากันโดยผ่านกระบวนการสะท้อน
การแผ่รังสี การพาความร้อน การนำ�ความร้อน และการระเหยของน�ำ้ ท�ำ ให้เกดิ สมดลุ พลังงาน
บนโลก
• ก ระบวนการสมดุลพลังงานทำ�ให้อุณหภูมิเฉล่ียของอากาศในแต่ละปีค่อนข้างคงท่ีเป็นระยะ
เวลานาน
4. ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ กระบวนการสมดลุ พลงั งานนเี้ กดิ ขน้ึ ทกุ บรเิ วณบนโลกถงึ แมว้ า่ แตล่ ะบรเิ วณ
จะมีอุณหภูมิเฉล่ียแตกต่างกันเนื่องจากปัจจัยหลายประการดังท่ีได้ศึกษาในบทที่ 8 เม่ือพิจารณา
อุณหภูมิเฉล่ียของอากาศเหนือพื้นผิวโลกแล้วจะอยู่ที่ประมาณ 15 องศาเซลเซียส ซ่ึงได้จาก
การวัดอุณหภูมอิ ากาศเหนือพื้นผิวโลก 5 เมตร ของบริเวณตา่ ง ๆ ท่ัวโลก แล้วนำ�มาหาคา่ เฉลี่ยอยู่
ทีป่ ระมาณ 15 องศาเซลเซียส ซึง่ ถา้ เปน็ ดาวเคราะห์ดวงอ่ืน ๆ จะมีอณุ หภูมิเฉล่ยี แตกตา่ งจากนี้
5. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ (climate change) น้ัน พิจารณาจาก
การเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยของลมฟ้าอากาศ เช่น อุณหภูมิของอากาศ ความกดอากาศ ความชื้น
ปรมิ าณหยาดน้ำ�ฟา้ ในภมู ภิ าคหนงึ่ ๆ อยา่ งต่อเนอ่ื งเปน็ เวลานานหลายทศวรรษหรอื นานกว่านัน้
โดยตวั บง่ ชถ้ี งึ การเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศทส่ี ำ�คญั คอื อุณหภมู เิ ฉลยี่ ของอากาศ
6. ให้นักเรียนสังเกตข้อมูลอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศจากรูป 9.4 ในหนังสือเรียนหน้า 229 ที่แสดง
ให้เห็นว่าโดยปกติแล้วอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงน้อยจนเกือบคงท่ี แล้วร่วมกัน
อภปิ รายโดยใชค้ ำ�ถามตอ่ ไปนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

302 บทที่ 9 | การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

ในช่วงก่อนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศในแต่ละปีมีแนวโน้มอย่างไรและ
คงอย่เู ปน็ ระยะเวลาประมาณเท่าใด
แนวค�ำ ตอบ มีแนวโน้มการเปลย่ี นแปลงน้อยจนเกือบคงที่ ในช่วงระยะเวลาประมาณ 900 ปี

ในชว่ งหลงั ยคุ ปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม อณุ หภมู เิ ฉล่ยี ของอากาศในแต่ละปมี ีแนวโนม้ อย่างไร
แนวค�ำ ตอบ มีแนวโนม้ การเปลี่ยนแปลงที่เพม่ิ ขึน้

7. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าโดยปกติแล้ว อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศมีการเปล่ียนแปลงท้ังเพ่ิมขึ้นและ
ลดลงแต่แตกต่างกันน้อยมากโดยมีแนวโน้มค่อนข้างคงท่ีเป็นระยะเวลานาน ถ้าไม่มีปัจจัยใดมา
กระตนุ้ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง ซงึ่ สามารถอธบิ ายกระบวนการทโ่ี ลกใชใ้ นการควบคมุ อณุ หภมู เิ ฉลย่ี
ของอากาศได้ดังข้อ 2

8. ครูอาจนำ�กราฟ แสดงอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศโลกในช่วงเวลาธรณีกาลเม่ือเปรียบเทียบกับค่า
อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของอากาศ ในชว่ งปี 2503-2533 โดยดาวนโ์ หลดไดจ้ ากเวปไซต์ https://commons.
wikimedia.org/wiki/File:All_palaeotemps.png

โดยกราฟแสดงให้เห็นวา่ โลกของเรามกี ารเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศมาตัง้ แตใ่ นอดีต โดยในบาง
ชว่ งเวลาอณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของอากาศมที ง้ั ต�่ำ กวา่ และสงู กวา่ อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของอากาศในชว่ งปี 2503-2533
ซ่ึงนักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาอุณหภูมิอากาศของโลกในอดีตได้จากหลักฐานทางธรณีวิทยาและจำ�ลอง
ขอ้ มลู อุณหภมู ิอากาศไปถึงช่วงเวลาธรณกี าล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ 303

แนวทางการวดั และประเมนิ ผล แนวทางการวดั และประเมนิ ผล
KPA การสรุปกระบวนการสมดุลพลังงานจาก
การอภิปรายและการตอบค�ำ ถาม
K: ก ระบวนการสมดลุ พลงั งาน การวิเคราะห์รูป 9.1-9.3 และการตอบ
ค�ำ ถาม
P: การตคี วามหมายและ ลงขอ้ สรุป
การรว่ มอภปิ รายและการตอบค�ำ ถาม
A : ความใจกว้าง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

304 บทที่ 9 | การเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ คูม่ ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

9.2 ปจั จยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศกับปัจจัยท่เี ก่ยี วข้อง

ส่อื การเรยี นรแู้ ละแหลง่ การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6
2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org

แนวการจดั การเรียนรู้
1. ครูนำ�เข้าสู่บทเรียน โดยให้นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องสมดุลพลังงานเพื่อเชื่อมโยงสู่เร่ือง

การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ โดยใชค้ ำ�ถามดังตวั อย่างต่อไปน้ี

ถ้าช่วงเวลาหน่ึง พลังงานเฉล่ียที่โลกได้รับไม่สมดุลกับพลังงานเฉลี่ยท่ีโลกปล่อยกลับสู่อวกาศ

จะสง่ ผลต่ออณุ หภมู เิ ฉลย่ี ของโลกหรือไม่ อยา่ งไร
แนวค�ำ ตอบ สง่ ผล โดยถา้ พลงั งานเฉลย่ี โลกปลอ่ ยกลบั สอู่ วกาศนอ้ ยกวา่ ทโ่ี ลกไดร้ บั จะสง่ ผลตอ่
อุณหภูมิเฉล่ียของโลกสูงขึ้น ในทางกลับกันถ้าพลังงานเฉล่ียโลกปล่อยกลับสู่อวกาศมากกว่าท่ี
โลกไดร้ ับจะสง่ ผลตอ่ อุณหภูมเิ ฉลี่ยของโลกลดลง

ปัจจยั ใดบา้ งที่จะส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ (ตอบตามความคิดของตนเอง)
แนวคำ�ตอบ บรรยากาศ เมฆ และพน้ื ผิวโลก

2. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม 9.1 ตามหนังสือเรียนหน้า 230 เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อ
การเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศ และตอบคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ 305

กจิ กรรม 9.1 ปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก

จดุ ประสงคก์ ิจกรรม

1. วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดก์ บั อณุ หภมู ิ
เฉล่ียของอากาศในช่วงเวลาตา่ ง ๆ จากกราฟทีก่ �ำ หนดให้

2. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดภูเขาไฟระเบิดกับอุณหภูมิเฉล่ีย
ของอากาศในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ จากกราฟทก่ี �ำ หนดให้

3. สรปุ ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ

เวลา 1 ชว่ั โมง

วสั ด-ุ อุปกรณ์

1. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนแปลงปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับ
ผลตา่ งจากคา่ ปกติของอณุ หภมู ิเฉลี่ยของอากาศ

2. กราฟแสดงผลตา่ งจากคา่ ปกตขิ องอณุ หภมู เิ ฉลย่ี ของอากาศ ในชว่ งทม่ี ภี เู ขาไฟระเบดิ

ข้อเสนอแนะส�ำ หรับครู

ครูสามารถดาวน์โหลดแบบบันทกึ กจิ กรรมได้จาก QR code ของบทในคู่มือครู เพือ่ ให้
นกั เรยี นไดบ้ นั ทึกผลการวิเคราะหแ์ ละตอบคำ�ถาม

วธิ กี ารท�ำ กิจกรรม

1. วิเคราะห์และสรุปแนวโน้มความสัมพันธ์การเปล่ียนแปลงปริมาณแก๊สคาร์บอน
ไดออกไซดก์ ับอุณหภูมเิ ฉล่ยี ของอากาศ ในชว่ งปี พ.ศ. 2507 - 2551 จากรปู 1

2. วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเกดิ ภเู ขาไฟระเบดิ แตล่ ะครง้ั กบั อณุ หภมู ิ
เฉลยี่ ของอากาศ ในชว่ งปี พ.ศ. 2423-2543 จากรปู 2

3. น�ำ เสนอผลการท�ำ กิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

306 บทท่ี 9 | การเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ คู่มือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

รปู 1 กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างปรมิ าณแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดก์ บั ผลต่างจากคา่
ปกตขิ องอุณหภูมเิ ฉลี่ยของอากาศ (ก�ำ หนดให้ 0 เปน็ คา่ ปกตเิ พ่ือใชใ้ นการเปรยี บเทียบ

ซง่ึ มาจากคา่ อณุ หภูมเิ ฉลี่ยของอากาศ ในปี พ.ศ. 2494-2523)

รูป 2 แสดงผลตา่ งจากค่าปกตขิ องอณุ หภูมเิ ฉล่ยี ของอากาศในชว่ งที่มภี ูเขาไฟระเบดิ
(กำ�หนดให้ 0 เปน็ คา่ ปกติ ซึง่ มาจากคา่ อณุ หภูมเิ ฉลย่ี ของอากาศ
ในช่วงปี พ.ศ. 2413-2442)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 9 | การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศ 307

สรุปผลการทำ�กจิ กรรม

อุณหภูมิเฉล่ียของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออก
ไซต์และการระเบิดของภูเขาไฟ โดยปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพ่ิมขึ้นสัมพันธ์กับ
อุณหภูมิเฉล่ยี ของอากาศท่ีเพมิ่ ขึ้น แตเ่ มื่อภูเขาไฟขนาดใหญร่ ะเบิดสง่ ผลให้อณุ หภูมเิ ฉลี่ย
ของอากาศลดลงในช่วงระยะเวลาหนงึ่

คำ�ถามทา้ ยกิจกรรม

1. ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศหรือไม่
อย่างไร
แนวค�ำ ตอบ มคี วามสมั พนั ธก์ นั โดยปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ พม่ิ ขน้ึ สมั พนั ธ์
กบั อุณหภูมิเฉลยี่ ของอากาศทเี่ พิ่มข้ึน

2. การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของอากาศเกดิ ขนึ้ ทนั ทที ภ่ี เู ขาไฟระเบดิ หรอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคำ�ตอบ ทำ�ให้อุณหภูมิเฉล่ียของอากาศลดลง และส่งผลทันที โดยอุณหภูมิจะ
ลดลงอยา่ งรวดเร็วหลังภูเขาไฟระเบิด

3. สิ่งที่ออกมาพร้อมภูเขาไฟระเบิดส่งผลต่ออุณหภูมิเฉล่ียของอากาศหรือไม่ อย่างไร
และสง่ ผลทนั ทหี รอื ไม่ อยา่ งไร
แนวคำ�ตอบ เถ้าภูเขาไฟ และแก๊สต่าง ๆ ท่ีออกมาพร้อมกับการปะทุของภูเขาไฟ
เกดิ เปน็ ละอองลอยสะทอ้ นรงั สจี ากดวงอาทติ ยอ์ อกสอู่ วกาศ สง่ ผลท�ำ ใหอ้ ณุ หภมู เิ ฉลย่ี
ของอากาศลดลงทันที

4. ปจั จยั ใดบ้างที่ส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก อยา่ งไร
แนวคำ�ตอบ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ในทิศทางที่เพิ่มขึ้น คือ ส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน
สว่ นการระเบดิ ของภเู ขาไฟสง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศในทศิ ทางทล่ี ดลง
คือ ส่งผลให้อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของอากาศมแี นวโนม้ ลดลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

308 บทท่ี 9 | การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

5. ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการทำ�กจิ กรรม และรว่ มกันอภิปรายผลการท�ำ กจิ กรรม
พร้อมตอบคำ�ถามท้ายกิจกรรม โดยมีแนวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบคำ�ถาม
ดงั แสดงดา้ นบน

6. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับปัจจัยท่ี
เกยี่ วข้องโดยเชื่อมโยงความรู้จากผลการทำ�กจิ กรรม โดยใชค้ ำ�ถามดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี

1) แกส๊ เรือนกระจก

แ กส๊ คาร์บอนไดออกไซด์มสี มบตั อิ ย่างไร และส่งผลตอ่ อุณหภูมิของอากาศอยา่ งไร
แนวค�ำ ตอบ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดม์ ีสมบัตเิ ป็นแก๊สเรอื นกระจก สามารถดูดกลืน

รังสีอินฟราเรดหรือรังสีความร้อนที่แผ่มาจากพ้ืนผิวโลกและแผ่รังสีความร้อนกลับ
สู่พื้นผิวโลก หากมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณที่เหมาะสมจะทำ�ให้อากาศมี
อณุ หภมู ิทเ่ี หมาะสม

น อกจากแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ยงั มแี กส๊ เรอื นกระจกอนื่ ๆ อกี หรอื ไมใ่ หย้ กตวั อยา่ ง
แนวค�ำ ตอบ มี เช่น มเี ทน ไนตรสั ออกไซด์ ไอนำ้� โอโซน

ใ นบรรยากาศมแี ก๊สเรอื นกระจกเป็นองคป์ ระกอบในสดั สว่ นเปน็ อยา่ งไร
แนวค�ำ ตอบ มีสดั สว่ นนอ้ ยมาก ไม่ถึงรอ้ ยละ 1

ถ า้ ในบรรยากาศมปี รมิ าณแกส๊ เรอื นกระจกเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง จะสง่ ผลตอ่ อณุ หภมู ิ
เฉลยี่ ของโลกหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด

แนวค�ำ ตอบ หากในบรรยากาศมปี รมิ าณแกส๊ เรอื นกระจกเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ งจะสง่
ผลให้โลกค่อย ๆ มีอุณหภูมิสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะแก๊สเรือนกระจกดูดกลืนรังสี
ความรอ้ นและแผ่รงั สกี ลบั มาสู่ผิวโลกมากขึน้ ท�ำ ให้โลกสะสมความรอ้ นมากขึน้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศ 309

ถ ้าพิจารณาค่าศักยภาพในการทำ�ให้เกิดภาวะโลกร้อนหรือ GWP ของแก๊ส ก มีค่า
มากกวา่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ จะหมายความวา่ อย่างไร

แนวคำ�ตอบ ในระยะเวลา 100 ปี ถ้าในบรรยากาศมีแก๊ส ก ในปริมาณเท่ากับ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ แกส๊ ดงั กลา่ วจะสามารถดดู กลนื พลงั งานความรอ้ นทแี่ ผจ่ าก
พ้นื ผิวโลกไดม้ ากกวา่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์

แกส๊ เรอื นกระจกมที ีม่ าจากแหลง่ ใดบ้าง
แนวคำ�ตอบ มีแหล่งท่ีมาจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น กระบวนการอุตสาหกรรม

การเกษตร การคมนาคมขนส่ง การผลิตกระแสไฟฟ้า ของเสียจากบ้านเรือน และมี
แหล่งที่มาจากธรรมชาติ เช่น การย่อยสลายอินทรีย์สาร ภูเขาไฟระเบิด การหายใจ
ของสิ่งมชี ีวิต การปลดปล่อยแก๊สจากมหาสมุทร

2) ละอองลอย

การเกิดภเู ขาไฟระเบดิ ขนาดใหญใ่ นแต่ละคร้ังจะปลดปลอ่ ยสงิ่ ใดออกมาบา้ ง
แนวคำ�ตอบ ลาวา เถา้ ภเู ขาไฟ แก๊สตา่ ง ๆ ไอน้ำ�

เมือ่ ภเู ขาไฟระเบดิ จะส่งผลตอ่ อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของอากาศอย่างไร
แนวค�ำ ตอบ อุณหภมู ิเฉล่ียของอากาศลดลง

ส ่ิงท่ีออกมาพร้อมกับการปะทุของภูเขาไฟและส่งผลต่ออุณหภูมิเฉล่ียของอากาศคือ
อะไร

แนวค�ำ ตอบ ละอองลอย แก๊สเรือนกระจก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

310 บทที่ 9 | การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

จากนนั้ ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั เถา้ ภเู ขาไฟวา่ เถา้ ภเู ขาไฟนนั้ มอี นภุ าคหลายขนาด
โดยเถ้าท่ีมีอนุภาคขนาดใหญ่จะตกลงมาสู่พ้ืนโลกอย่างรวดเร็ว ส่วนเถ้าท่ีมีอนุภาคขนาดเล็ก
บางส่วนค้างอยู่ในบรรยากาศ และเป็นแกนกลางในการควบแน่นของไอน้ำ�เกิดเป็นเมฆใน
ชนั้ โทรโพสเฟยี รแ์ ละตกลงมาพรอ้ มกบั ฝนภายในเวลาไมน่ าน นอกจากนก้ี ารระเบดิ ของภเู ขาไฟ
ยังปลดปล่อยแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์จำ�นวนมาก ซ่ึงสามารถลอยข้ึนไปถึงชั้นบรรยากาศ
สเตรโตสเฟียร์และเมื่อรวมตัวกับไอน้ำ�จะเกิดเป็นละอองลอยของกรดซัลฟิวริก ปกคลุม
ท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้างและคงอยู่ในช้ันบรรยากาศนั้นเป็นระยะเวลาหนึ่ง ซ่ึงละอองลอย
เหล่านี้สามารถสะท้อนและกระเจิงแสงทำ�ให้รังสีดวงอาทิตย์ผ่านลงมาสู่พ้ืนผิวโลกได้น้อยลง
สง่ ผลใหอ้ ณุ หภูมลิ ดลงประมาณ 1-3 ปี หลังจากเกดิ การระเบิดของภูเขาไฟ

3) ค่าอัตราสว่ นรังสีสะท้อนของพ้นื ผวิ โลก

คา่ อตั ราสว่ นรังสีสะท้อนของพ้นื ผวิ โลกในแต่ละบรเิ วณแตกตา่ งกนั ได้ เนอื่ งจากอะไร
แนวคำ�ตอบ ลักษณะพื้นผิวโลกที่รังสีดวงอาทิตย์ตกกระทบ เช่น ธารน้ำ�แข็ง พื้นน้ำ�

พน้ื ดนิ ป่าไม้ เมือง ทะเลทราย

สาเหตใุ ดบา้ งที่ท�ำ ให้คา่ อัตราส่วนรงั สีสะทอ้ นของพน้ื ผิวโลกเปลีย่ นแปลง
แนวคำ�ตอบ การเปลี่ยนแปลงลักษณะของพ้ืนผิวโลก เช่น การเปลี่ยนแปลงพื้นที่

สีเขียว การขยายตวั ของเขตเมือง การลดลงของพดื น�ำ้ แขง็

การเปล่ียนแปลงค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพื้นผิวโลก ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง
ภูมอิ ากาศไปในทศิ ทางเดยี วกนั หรือไม่ อย่างไร

แนวคำ�ตอบ ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยถ้าค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของ
พน้ื ผวิ โลกลดลง แสดงวา่ พน้ื ผวิ โลกบรเิ วณนนั้ สะทอ้ นรงั สดี วงอาทติ ยก์ ลบั สอู่ วกาศได้
นอ้ ยลง ท�ำ ใหภ้ มู อิ ากาศเปลย่ี นแปลงในทศิ ทางทท่ี �ำ ใหโ้ ลกมพี ลงั งานหมนุ เวยี นเพมิ่ ขน้ึ
ในทางกลับกันถ้าค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพื้นผิวโลกเพิ่มข้ึน แสดงว่าพ้ืนผิวโลก
บรเิ วณนน้ั สะทอ้ นรงั สดี วงอาทติ ยก์ ลบั สอู่ วกาศไดม้ ากขน้ึ ท�ำ ใหภ้ มู อิ ากาศเปลยี่ นแปลง
ในทศิ ทางทที่ �ำ ให้โลกมีพลงั งานหมนุ เวียนลดลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 9 | การเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศ 311

7. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง
ภูมอิ ากาศ โดยมแี นวทางการสรุปดังนี้

แนวค�ำ ตอบ การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศนน้ั เกดิ จากการเปลยี่ นแปลงของปจั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
กับกระบวนการสมดุลพลังงานของโลก ทั้งแก๊สเรือนกระจก ละอองลอย ค่าอัตราส่วน
รังสีสะท้อนของพ้ืนผิวโลก ซึ่งแต่ละปัจจัยส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในทิศทาง
แตกต่างกัน เช่น สง่ ผลให้อุณหภูมิเฉลยี่ ของอากาศสูงขน้ึ หรอื ลดลง

8. ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงลกั ษณะการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ยซ์ ง่ึ
เปน็ ปจั จยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาตทิ ส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ ซงึ่ นกั เรยี นสามารถ
ศกึ ษาความรเู้ พมิ่ เตมิ ไดจ้ ากเอกสารความรเู้ รอ่ื งวฏั จกั รมลิ านโควชิ โดยดาวนโ์ หลดจาก QR
code ของบทในหนังสอื เรียน และสรุปได้ดงั แนวทางการอธบิ ายต่อไปนี้

แนวคำ�ตอบ การเปล่ียนแปลงลักษณะการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ได้แก่
การเปล่ียนแปลงความรีของวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์ การเปล่ียนแปลงมุมเอียงของ
แกนหมุนโลก การหมุนควงของแกนหมุนโลก ทำ�ให้ความเข้มแสงจากดวงอาทิตย์ที่
พน้ื ผวิ โลกไดร้ บั ในแตล่ ะชว่ งเวลามที งั้ เพมิ่ ขนึ้ และลดลงสลบั กนั เปน็ วฏั จกั ร แตใ่ ชเ้ วลานาน
ต้งั แต่หลายหมื่นปจี นถึงแสนปี เรยี กว่า วฏั จกั รมิลานโควชิ

แนวทางการวดั และประเมนิ ผล

KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล

K: ปจั จยั ที่ส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ 1. ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 9.1 และการตอบ
ค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม

2. การสรปุ องค์ความร้จู ากการอภิปราย
3. แบบฝกึ หดั ท้ายบท

P: การตีความหมายและ ลงขอ้ สรุป การวิเคราะห์กราฟในกิจกรรม 9.1 และ
การตอบค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม

A : ความใจกว้าง การรบั ฟังความเหน็ ของผ้อู นื่ ในการร่วม
อภิปราย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

312 บทท่ี 9 | การเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศ คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

9.3 ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู ิอากาศและแนวทางการรบั มือ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. รวบรวมขอ้ มูลและอธิบายผลจากการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศที่มีตอ่ สิ่งมชี วี ติ และส่งิ แวดล้อม
2. ออกแบบและนำ�เสนอแนวปฏิบัติเพ่ือลดปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และ

แนวทางการรบั มอื กับผลกระทบท่อี าจเกดิ ขึ้น

สื่อการเรยี นรแู้ ละแหลง่ การเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6
2. สสวท. Learning space https://www.scimath.org

แนวการจดั การเรียนรู้
1. ค รนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรียน โดยให้นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั ข่าว บทความ หรือประสบการณ์

ทเ่ี คยรบั รูเ้ ก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศโลก
2. จากนั้นแบ่งกลุ่มนักเรียน แล้วให้ปฏิบัติกิจกรรม 9.2 ตามหนังสือเรียนหน้า 238 เพื่อศึกษา

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศและการรบั มอื

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศ 313

กจิ กรรม 9.2 ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศและการรบั มือ

จุดประสงคก์ ิจกรรม

1. รวบรวมขอ้ มูล และอธบิ ายผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศท่มี ตี อ่ ส่งิ มชี ีวติ
และส่งิ แวดล้อม

2. ออกแบบและน�ำ เสนอแนวปฏบิ ตั ิเพือ่ ลดปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ
และแนวทางการรับมอื ต่อผลกระทบท่อี าจเกดิ ขนึ้

ส่ือและแหล่งเรียนรู้

เอกสารวชิ าการ เช่น
1. สำ � นั ก น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก ร ะ ท ร ว ง

ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม. (2561). ความรพู้ ้นื ฐานด้านการเปลยี่ นแปลง
สภาพภมู อิ ากาศและการปรบั ตวั ของชมุ ชนตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ.
(พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพเ์ ดอื นตุลาคม.
2. สำ � นั ก น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ก ร ะ ท ร ว ง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม. (2558). แผนแม่บทรองรับการเปล่ียนแปลง
สภาพภมู อิ ากาศ พ.ศ. 2558-2593.
3. วิกานดา วรรณวิเศษ. (2553). การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับผลกระทบต่อ
ประเทศไทย. ห้องสมุดอิเลก็ ทรอนิกส์วุฒสิ ภา, ปีที่ 5 (ฉบบั ท่ี 17), หนา้ 1-17.
4. กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2559).
การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ผลกระทบต่อสุขภาพ และการเตรียมการด้าน
สาธารณสุข สำ�หรับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข. (พิมพ์คร้ังที่ 1). กรุงเทพฯ: โครงการ
ผลติ สื่อ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ ).
5. พรพรรณ สอนเชอ้ื . (2560). การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศกบั โรคตดิ เชอ้ื . ธรรมศาสตร์
เวชสาร, ปที ่ี 17 (ฉบับท่ี 3), หน้า 440 - 445.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

314 บทท่ี 9 | การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

เวลา 1 ชว่ั โมง

การเตรยี มตวั ลว่ งหนา้

1. เตรียมส�ำ เนาเอกสารข้อ 1 – 3 จ�ำ นวน 7 ชดุ เพอื่ แจกใหก้ ับทกุ กลุ่ม
2. เตรียมสำ�เนาเอกสารข้อ 1 – 3 จำ�นวน 7 ชุด เพ่ือแจกให้เฉพาะกับทุกกลุ่มที่ได้หัวข้อ

ผลกระทบตอ่ สุขภาพ
3. เตรยี มกระดาษแผน่ ใหญแ่ ละปากกาสีต่าง ๆ จ�ำ นวนเท่ากบั กลุ่ม
4. เตรยี มกระดาษกาวส�ำ หรบั ตดิ ผลงานเพือ่ น�ำ เสนอ

ข้อเสนอแนะส�ำ หรับครู

ใช้วธิ ี expert group ในการทำ�กจิ กรรม เพอ่ื บริหารจดั การเวลาและฝึกใหน้ ักเรียนมที กั ษะ
ในการรวบรวมข้อมลู และสรปุ โดยปฏบิ ตั ิดังน้ี
1. แบ่งกลุ่มและจำ�นวนนักเรียนให้เท่ากับจำ�นวนหัวข้อผลกระทบ เช่น จากตัวอย่างในข้อ

1 ใหแ้ บ่งออกเปน็ 6 กลุ่ม กลุม่ ละ 6 คน
2. จ ากน้ันแบ่งหน้าท่ีให้กับสมาชิกทุกคนตามหัวข้อผลกระทบ ดังน้ันสมาชิกแต่ละคน

มีหน้าท่ีศึกษา 1 หวั ขอ้
3. ให้สมาชิกของแต่ละกลุ่มในข้อ 1 กระจายเข้ากลุ่มใหม่ตามหัวข้อผลกระทบที่กำ�หนด

ดงั น้นั สมาชกิ ทกุ คนในกลุ่มใหมจ่ ะศกึ ษาในหวั ขอ้ ย่อยเดียวกนั
4. ใ ห้สมาชิกในกลุ่มใหม่ร่วมกันศึกษาและสรุปความรู้เก่ียวกับผลกระทบจากการ

เปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศและการรบั มือในหวั ข้อทีไ่ ด้รับมอบหมาย ภายในเวลาท่กี ำ�หนด
5. จากนน้ั สมาชกิ ในกลมุ่ ใหม่กลบั เขา้ กลุ่มท่แี บ่งไว้เดิมในข้อ 1 เพ่อื น�ำ ข้อมลู ที่ได้ไปศกึ ษา

มาแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละรว่ มกนั สรปุ องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลง
ภูมิอากาศและการรับมอื
6. ออกแบบการนำ�เสนอผลงาน และนำ�ผลงานของกลมุ่ ตนเองไปตดิ ไวท้ ่ีผนังหอ้ ง
7. ให้แต่ละกลุ่มเวียนชมผลงานของเพื่อน ๆ ทีกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 3 นาที โดยรอฟัง
สัญญาณจากครู และหากมขี อ้ เสนอแนะใด ๆ ใหเ้ ขยี นใสก่ ระดาษตดิ ทผ่ี ลงานของกลมุ่
นน้ั ๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 9 | การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ 315

วธิ ีการทำ�กิจกรรม

1. ศ ึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในด้านต่าง ๆ ดังตัวอย่างด้านล่าง
จากเอกสารทกี่ �ำ หนด หรอื แหลง่ เรยี นรอู้ ืน่ ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง

- ผลกระทบต่อการเกษตร
- ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนเิ วศ
- ผลกระทบต่อทรพั ยากรน�้ำ และพนื้ ท่ชี ายฝ่งั
- ผลกระทบตอ่ สุขภาพ
- ผลกระทบตอ่ ดา้ นพลังงาน
- ผลกระทบต่อระบบคมนาคม
2. อภิปรายและอธิบายผลกระทบดา้ นตา่ ง ๆ ท่สี บื เนอื่ งจากการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศ
3. ศึกษาแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ.2558 – 2593

เรอื่ งการปรบั ตวั ตอ่ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศและการลดแกส๊ เรอื นกระจก
จากนั้นออกแบบแนวทางปฏิบัติของนักเรียนเพ่ือลดปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ภมู ิอากาศ และแนวทางการรับมอื ต่อผลกระทบท่อี าจเกิดข้นึ
4. น�ำ เสนอผลการท�ำ กจิ กรรม เพือ่ ร่วมอภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ในชนั้ เรียน

ผลการทำ�กจิ กรรม

ผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศ
1. ผลกระทบตอ่ การเกษตร เช่น
1.1 ภูมิภาคในเขตร้อนมีผลผลิตทางการเกษตรลดตำ่�ลง เนื่องจากอุณหภูมิของอากาศท่ี

สูงสง่ ผลต่อการเจรญิ เติบโตของพชื บางชนิด ส่งเสริมการระบาดของแมลงหรือวชั พชื
การเกดิ ไฟป่า สภาพดินเสอ่ื มโทรม ปรมิ าณน้ำ�ไม่เพียงพอเนอื่ งจากความแหง้ แลง้
1.2 ผลกระทบต่อการเล้ียงปศุสัตว์ ทำ�ให้สัตว์เจ็บป่วยและตาย ปริมาณนำ้�นมลดลง
เนอื่ งจากแหลง่ อาหารลดลง การแพรก่ ระจายของเชอื้ โรค คล่ืนความร้อน

2. ผ ลกระทบตอ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพและระบบนเิ วศ เชน่ แหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ของสตั ว์
ต่าง ๆ รวมถึงวงจรชีวิต มีรูปแบบท่ีเปล่ียนไป เนื่องจากอากาศร้อน ฤดูกาลท่ีเปลี่ยนไป
ระดบั น�้ำ ทะเลเพิม่ สงู ขน้ึ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

316 บทท่ี 9 | การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศ คู่มือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

3. ผลกระทบต่อทรัพยากรนำ้�และพ้นื ที่ชายฝ่งั
3.1. นำ้�ท่วมชายฝ่งั เนือ่ งจากระดับน�้ำ ทะเลทเ่ี พิ่มสงู
3.2. ส่ิงมีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ มบรเิ วณชายฝั่งถกู ทำ�ลายเนื่องจากพายุซัดฝ่ัง
3.3. สตั วท์ ะเลอพยพยา้ ยถนิ่ เนือ่ งจากน�ำ้ ทะเลมีอุณหภมู สิ ูงขน้ึ

4. ผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น เจ็บป่วยเนื่องจากคล่ืนความร้อน ภัยพิบัติที่รุนแรง การแพร่
กระจายของเช้ือโรค

5. ผลกระทบตอ่ ด้านพลังงาน
5.1 ความตอ้ งการใชไ้ ฟฟ้าและพลงั งานเพิ่มขน้ึ เนอื่ งจากอุณหภมู ิสูง
5.2 โ รงไฟฟา้ ทตี่ ง้ั อยบู่ รเิ วณชายฝงั่ อาจไดร้ บั ความเสยี หาย เนอื่ งจากน�ำ้ ทะเลทว่ มถงึ เกดิ พายุ

น�ำ้ ทใ่ี ชใ้ นการผลิตไฟฟ้าไม่เพียงพอ

6. ผ ลกระทบตอ่ ระบบคมนาคม เชน่ ถนนช�ำ รดุ การเดนิ ทางรถไฟหยดุ ชะงกั เทยี่ วบนิ ไมแ่ นน่ อน
เน่ืองจากอุณหภูมิสูงทำ�ให้ผิวถนนหรือรางรถไฟเกิดการขยายตัว ฝนตกหนักทำ�ให้น้ำ�ท่วม
ดนิ ทรุด ดนิ ถล่ม

แนวทางการลดปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศ
ช่วยกันลดการปลอ่ ยแกส๊ เรือนกระจกโดยปรับเปลย่ี นพฤติกรรมในชีวิตประจ�ำ วนั เช่น
1. เปล่ียนจากการใช้รถยนต์ส่วนตวั มาใชร้ ถขนสง่ สาธารณะ
2. ลดการใชไ้ ฟฟา้ ภายในบ้าน
3. เปล่ยี นมาใช้พลังงานชีวภาพ
4. ใชน้ ำ้�ประปาอยา่ งประหยดั
5. ลดปรมิ าณขยะภายในครัวเรือน
6. ปลกู ตน้ ไม้
7. ลดการเผาปา่ หญา้ และต้นไม้ เพอื่ ก�ำ จัดวัชพชื
8. ใช้ป๋ยุ หมกั จากธรรมชาติแทนป๋ยุ เคมี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 9 | การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ 317

แนวทางการรับมือต่อผลกระทบทีอ่ าจเกิดข้นึ ท่นี กั เรียนสามารถมสี ว่ นรว่ มได้
1. การปรับตัวต่อสถานการณ์น้ำ� อุทกภัย และภัยแล้ง เช่น เร่งฟ้ืนฟูป่าต้นน้ำ� พัฒนา

แหล่งชะลอน�้ำ และปรบั ปรงุ สภาพล�ำ น�้ำ เพื่อเตรียมตัวรบั มอื กับอุทกภัย
2. การปรับตัวต่อสถานการณ์การเกษตรและความมั่นคงทางอาหาร เช่น ฟ้ืนฟูและ

ปรับปรุงคุณภาพดิน พัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ จำ � ห น่ า ย สิ น ค้ า ใ น ชุ ม ช น เ พ่ื อ ส ร้ า ง อำ � น า จ ต่ อ ร อ ง
ท�ำ การประมงทคี่ �ำ นึงถงึ ความสมดุลของทรัพยากรและระบบนิเวศ
3. การปรับตัวด้านสาธารณสุข ศึกษาข่าวสารและข้อมูลทางด้านสาธารณสุข หาแนวทาง
ป้องกนั การเกดิ และแพร่กระจายของพาหะน�ำ โรค ตรวจสขุ ภาพอยา่ งสมำ่�เสมอ
4. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ฟ้ืนฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศที่
เสื่อมโทรม ปลกู ปา่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ นิเวศน์ เฝ้าระวงั ไฟป่า เพิ่มพืน้ ทป่ี า่ ชายเลน ฟน้ื ฟูพืน้ ที่
ชายฝง่ั ทถี่ กู กดั เซาะ

สรุปผลการท�ำ กิจกรรม

การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศทำ�ให้สภาพลมฟ้าอากาศเกิด ความแปรปรวนหรือมีความ
รนุ แรงมากขึน้ เช่น อณุ หภมู ิท่ีรอ้ นหรอื หนาวผดิ ปกติ ความแปรปรวนของฤดกู าล ซึง่ ส่งผล
กระทบต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อมในหลาย ๆ ด้าน เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ระบบนิเวศ สุขภาพของมนุษย์ ทรัพยากรนำ้� พ้ืนที่ชายฝ่ัง โดยมนุษย์สามารถมีส่วนช่วยลด
การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศได้โดยการลดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกเข้าสู่บรรยากาศที่เกิด
จากการด�ำ รงชวี ติ ในดา้ นตา่ ง ๆ และควรวางแผนรบั มอื หรอื ปรบั ตวั เพอ่ื ใหส้ ามารถด�ำ รงชวี ติ อยู่
ไดอ้ ยา่ งปลอดภัยจากผลกระทบทเี่ กดิ จากการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศ

ค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม

นั ก เ รี ย น จ ะ ป รั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ต น เ อ ง ใ น เ รื่ อ ง ใ ด บ้ า ง เ พื่ อ ช่ ว ย ล ด ปั จ จั ย ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และมสี ่วนช่วยได้อยา่ งไร

แนวคำ�ตอบ ตอบตามความคิดของนักเรียนเอง โดยมีแนวคำ�ตอบดังตัวอย่าง
ผลการท�ำ กิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

318 บทที่ 9 | การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ ค่มู ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

3. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอผลการท�ำ กจิ กรรม และรว่ มกนั อภปิ รายผลการท�ำ กจิ กรรม
พรอ้ มตอบค�ำ ถามทา้ ยกจิ กรรม โดยมแี นวทางการอภปิ รายและแนวทางการตอบค�ำ ถาม
ดังแสดงด้านบน

4. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง
ภูมิอากาศและแนวทางการรับมือหรือปรับตัว โดยมีแนวทางการสรุปตามการสรุปผล
การทำ�กิจกรรม

5. ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเรื่องนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของประเทศไทย
โดยสรุปดังน้ี

แนวทางการสรปุ

คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovern-
mental Panel on Climate Change: IPCC) มขี ้อตกลงร่วมกัน เรียกว่า ขอ้ ตกลงปารสี (Paris
agreement) ไดก้ �ำ หนดกฏกตกิ าระหวา่ งประเทศใหม้ กี ารจ�ำ กดั การเพมิ่ อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ของโลกไม่
ใหเ้ กิน 2 องศาเซลเซยี สจากยคุ ปฏวิ ัติอุตสาหกรรม
โดยประเทศไทยเป็นหน่ึงในสมาชิก และได้จัดทำ�แผนเพ่ือรองรับข้อตกลงดังกล่าว
เรียกว่า แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 โดยกำ�หนด
เป้าหมายท่ีจะลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกให้ได้ร้อยละ 20–25 ภายใน พ.ศ. 2573 และมี
แนวทางและมาตรการรองรบั 8 ด้าน ได้แก่ การผลิตไฟฟา้ การคมนาคมขนส่ง การใช้พลงั งาน
ภายในอาคาร ภาคอุตสาหกรรม ภาคของเสีย ภาคการเกษตร ภาคป่าไม้ การจัดการเมือง
นอกจากนป้ี ระเทศไทยยงั ไดจ้ ดั ท�ำ แผนการปรบั ตวั ตอ่ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ
ซึ่งได้สรปุ ไว้ดงั นี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ 319

6. ค รอู าจมอบหมายงานทีส่ ามารถบูรณาการร่วมกับวชิ าอน่ื ๆ โดยใหน้ กั เรยี นร่วมกนั วางแผน
ออกแบบ และน�ำ เสนอแนวปฏบิ ตั ทิ เี่ หมาะสมในการดแู ลรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม และจดั ท�ำ โครงการ
เพอ่ื รณรงคส์ รา้ งความตระหนกั ถงึ การกระท�ำ ของมนษุ ยท์ ม่ี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

320 บทท่ี 9 | การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คูม่ ือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

แนวทางการวดั และประเมนิ ผล แนวทางการวดั และประเมนิ ผล
KPA

K: ผ ลกระทบจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ 1. ผ ลงานของการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 9.2 และ
และแนวทางการรับมือหรือการปรับตัวจาก การตอบค�ำ ถามท้ายกิจกรรม
ผลกระทบทเ่ี กิดขน้ึ
2. การสรุปองค์ความรูจ้ ากการอภิปราย
3. แบบฝึกหดั ท้ายบท

P: 1. การสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม 1. ก า ร อ อ ก แ บ บ แ น ว ท า ง ก า ร ร ณ ร ง ค์
2. การจดั กระทำ�และส่อื ความหมายข้อมลู เพ่ือลดกิจกรรมของมนุษย์ที่มีผลต่อ
3. ค วามรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะ การเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก
ผู้นำ�
2. ก ารแบ่งหน้าท่ีและความรับผิดชอบใน
การทำ�งานกลุ่ม

A : 1. ความใจกว้าง 1. การรว่ มอภปิ รายและการตอบค�ำ ถาม
2. คุณธรรมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับ 2. ก า ร นำ � เ ส น อ แ น ว ท า ง เ พ่ื อ ล ด ก า ร
วทิ ยาศาสตร์
เปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 9 | การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศ 321

แบบฝกึ หัดทา้ ยบท

1. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาขอ้ ความตอ่ ไปนแี้ ลว้ ท�ำ เครอ่ื งหมาย ( ) หนา้ ขอ้ ความทถี่ กู ตอ้ ง และ
ใส่เคร่อื งหมาย ( ) หนา้ ขอ้ ความทผ่ี ดิ

เครอ่ื งหมาย ขอ้ ความ

1. เม่อื ดวงอาทิตยแ์ ผร่ งั สมี าส่โู ลก จะมเี พยี งชั้นบรรยากาศที่สะท้อน
รงั สกี ลบั ออกสอู่ วกาศ

2. ใ นเวลากลางวนั บรรยากาศ เมฆ และพื้นผวิ โลกจะสะท้อนรงั สี
ดวงอาทิตยบ์ างสว่ นกลบั สอู่ วกาศ

3. ป ริมาณพลังงานความร้อนท่ีพ้ืนผิวโลกดูดกลืนไว้จะถูกปล่อยเข้าสู่
บรรยากาศทงั้ หมด

4. พ ลงั งานความร้อนส่วนหนึ่งทีพ่ น้ื ผิวโลกดดู กลืนไวท้ �ำ ใหน้ �้ำ ระเหย
กลายเปน็ ไอไปอยู่ในบรรยากาศและท�ำ ใหอ้ ากาศเกิดการยกตวั

5. การทบ่ี รรยากาศแผร่ งั สีส่วนหนงึ่ ทดี่ ูดกลืนไวก้ ลับมายังผิวโลกท�ำ ให้
อณุ หภมู ิเฉลย่ี ของอากาศในเวลากลางคืนไมล่ ดตำ่�ลงมากเกินไป

6. พ ลังงานทบี่ รรยากาศ เมฆ และพ้นื ผวิ โลกดดู กลนื ไว้ ทา้ ยทีส่ ุดจะ
ถูกปลดปลอ่ ยออกสอู่ วกาศในปรมิ าณที่เท่ากนั

7. พลังงานเฉล่ียที่โลกไดร้ ับจากดวงอาทติ ยเ์ ทา่ กับพลังงานเฉลยี่ ท่โี ลก
ปลอ่ ยกลับส่อู วกาศ

8. พลงั งานเฉลย่ี ที่โลกไดร้ ับจากดวงอาทิตยเ์ ทา่ กบั พลังงานเฉลยี่ ทโ่ี ลก
ปลอ่ ยกลบั สู่อวกาศ

9. กระบวนการท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการปลดปลอ่ ยพลังงานของโลก ได้แก่
การสะท้อน การแผ่รงั สี การพาความรอ้ น และการเปลย่ี นสถานะ
ของน้ำ�

10. การทีโ่ ลกปลดปล่อยพลังงานกลับสูอ่ วกาศเทา่ กบั พลังงานทีโ่ ลก
ได้รบั จากดวงอาทติ ย์ ทำ�ให้อุณหภมู ิเฉลี่ยของโลกค่อนขา้ งคงที่
เปน็ ระยะเวลานาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

322 บทท่ี 9 | การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

2. ทำ�เคร่อื งหมาย ( ) เพ่อื ระบุผลท่มี ีต่ออุณหภูมิเฉล่ยี ของอากาศให้อดคล้องกับปัจจัยท่ี
ก�ำ หนด และระบเุ หตผุ ลประกอบ

ปัจจยั ผลตอ่ อุณหภมู ิ เหตผุ ล
เฉลีย่ ของอากาศ

เพิ่มขึ้น ลดลง

การเพ่ิมขึน้ ของปรมิ าณแก๊ส สามารถดูดกลนื พลังงานและ
เรือนกระจก แผร่ งั สอี นิ ฟราเรดกลับมายงั
อัตราสว่ นการสะท้อนสงู ขึ้น พ้นื ผวิ โลกได้มากขึน้

การเพม่ิ ขึน้ ของละอองลอย สามารถสะท้อนรงั สีดวง
อาทติ ยไ์ ด้มากขน้ึ

เกิดการกระเจงิ ดดู กลืน และ
สะท้อนรงั สดี วงอาทิตย์ได้
มากขึ้น

3. ยกตวั อยา่ งกจิ กรรมมนษุ ยแ์ ละเหตกุ ารณธ์ รรมชาตทิ ท่ี �ำ ใหป้ จั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลง
ภมู อิ ากาศโลกเกดิ การเปลย่ี นแปลงไป

ปัจจยั ท่เี ปล่ียนแปลง กจิ กรรมมนุษย์ เหตุการณธ์ รรมชาติ

กระบวนการอุตสาหกรรม การย่อยสลายอินทรีย์สาร

แกส๊ เรือนกระจก การเกษตร การคมนาคม ภเู ขาไฟระเบดิ การหายใจของ

ขนสง่ การผลติ กระแสไฟฟ้า ส่ิงมีชีวิตการปลดปล่อยแก๊ส

ของเสยี จากบ้านเรือน จากมหาสมทุ ร

อัตราส่วนการสะทอ้ นของพื้น การสรา้ งชมุ ชนเมือง การหลอมเหลวของน�้ำ แขง็
ผวิ โลก การตดั ไมท้ �ำ ลายป่า ขัว้ โลก ไฟปา่

ละอองลอย กระบวนการอตุ สาหกรรม ภเู ขาไฟระเบดิ
การเกษตร

การคมนาคมขนสง่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 9 | การเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศ 323

4. เมอ่ื 225 ลา้ นปกี อ่ น โลกมแี ผน่ ทวปี ขนาดใหญเ่ พยี งแผน่ เดยี วเรยี กวา่ พนั เจยี ตอ่ มาทวปี
เหลา่ นเ้ี คลอ่ื นตวั ออกจากกนั จนมลี กั ษณะเชน่ ในปจั จบุ นั นกั เรยี นคดิ วา่ ภมู อิ ากาศของแตล่ ะ
ทวปี เปลย่ี นแปลงไปหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

แนวคำ�ตอบ ภูมิอากาศของแต่ละทวีปในปัจจุบันเปล่ียนแปลงไปจากอดีต เน่ืองจาก
เมอ่ื 225 ล้านปีก่อน ทีพ่ ืน้ ทวปี อยตู่ ิดกนั เป็นแผ่นดนิ เดยี ว เรียกว่า พนั เจยี เป็นมหาทวีป
คลุมพ้ืนท่ีจากซีกโลกเหนือถึงซีกโลกใต้ และมีมหาสมุทรพันทาลัสซาล้อมรอบ ต่อมา
แผ่นทวีปได้เคล่ือนตัวออกจากกันจนมีลักษณะดังเช่นปัจจุบัน ทำ�ให้ทวีปไม่ได้อยู่ใน
ตำ�แหน่งละติจูดเดิม แต่ละทวีปจึงได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน จึงส่งผลให้อยู่
ในเขตภูมิอากาศที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน นอกจากน้ีตำ�แหน่งท่ีเปลี่ยนไปยังส่งผลให้มี
ส่ิงปกคลุมพื้นท่ีแตกต่างกัน จากภาพพบว่าในแต่ละละติจูดมีสัดส่วนของพ้ืนทวีปและ
พ้ืนน้ำ�แตกต่างจากปัจจุบัน ซ่ึงพื้นทวีปซ่ึงประกอบด้วยป่าไม้ ดิน และทะเลทราย
จงึ สะทอ้ นรงั สไี ดด้ กี วา่ พน้ื น�้ำ สง่ ผลตอ่ คา่ อตั ราสว่ นรงั สสี ะทอ้ นของพนื้ ผวิ ท�ำ ใหภ้ มู อิ ากาศ
ในอดีตแตกตา่ งจากปจั จุบัน

(คำ�อธบิ ายเพ่มิ เตมิ ) ในอดตี แผ่นดนิ ท้งั หมดอยตู่ ดิ กนั และมมี หาสมุทรเพยี งมหาสมุทร
เดยี วล้อมรอบอยู่ ท�ำ ให้การหมนุ เวยี นของกระแสน�้ำ ในมหาสมุทรแตกตา่ งจากปจั จบุ นั
ส่งผลต่อสภาพอากาศในชว่ งเวลานนั้ เช่น เกดิ พายรุ นุ แรงส่งผลกระทบต่อพน้ื ทีช่ ายฝั่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

324 บทที่ 9 | การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศ คู่มือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

5. เลอื กตวั อยา่ งผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศ
ใสล่ งในตารางใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู ทแ่ี สดงถงึ การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศทช่ี ดั เจนมากทส่ี ดุ

ผลกระทบ

1) โรคระบาด
2) ขาดน�ำ้ อปุ โภคบรโิ ภค
3) พชื และสตั วใ์ นพน้ื ทน่ี น้ั อาจสญู พนั ธ์ุ
4) ชายฝง่ั ถกู น�ำ้ ทว่ มและกดั เซาะ

ข้อมลู ทแี่ สดงถงึ ผลกระทบต่อสิ่งมชี ีวิต แนวทางการรบั มอื

การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ และสง่ิ แวดล้อม

อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของอากาศและ โรคระบาด - ท�ำ ลายแหลง่ เพาะพันธุข์ อง
ความชืน้ สงู ขน้ึ พาหนะน�ำ โรค

- ตรวจสอบสขุ ภาพอย่าง
สมำ่�เสมอ

- ออกก�ำ ลงั กายและรบั ประทาน
อาหารท่ีมปี ระโยชน์

การเปล่ียนแปลง พืชและสัตวใ์ นพ้ืนที่น้นั ปรบั ปรุงพนั ธุ์พชื และพนั ธุส์ ตั วใ์ ห้
เขตภมู ิอากาศโลก
อาจสูญพันธุ์ เหมาะสมกบั ภมู อิ ากาศที่เกิดขนึ้

การเพม่ิ ระดบั นำ้�ทะเล ชายฝง่ั ถกู น�้ำ ท่วมและ - ฟ ้ืนฟูพ้นื ท่ชี ายฝั่งท่ีถกู กัดเซาะ
กัดเซาะ - ส รา้ งที่อยอู่ าศยั ใหไ้ กลจากพน้ื ที่

เสีย่ ง

การลดลงของปรมิ าณน้�ำ ฝน ขาดน้�ำ อปุ โภคบริโภค - ใช้น้ำ�อยา่ งประหยัด
- ปลกู ปา่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 10 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวิทยากบั การใช้ประโยชน์ 325

บทที่ | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยากับการใช้ประโยชน์

ipst.me/886010

ตัวชว้ี ดั

แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสำ�คัญจากแผนท่ีอากาศ และนำ�ข้อมูลสารสนเทศ
ตา่ ง ๆ มาวางแผนการดำ�เนินชีวติ ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพลมฟา้ อากาศ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

326 บทที่ 10 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอตุ ุนิยมวทิ ยากับการใช้ประโยชน์ คูม่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

การวเิ คราะห์ตัวช้วี ัด

ตัวชว้ี ดั
แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศที่สำ�คัญจากแผนที่อากาศ และนำ�ข้อมูลสารสนเทศ

ตา่ ง ๆ มาวางแผนการดำ�เนนิ ชวี ิตให้สอดคล้องกบั สภาพลมฟ้าอากาศศ
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. วิเคราะห์และแปลความหมายสัญลักษณ์แสดงสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณกว้างบนแผนท่ีอากาศ

ผวิ พน้ื และระบสุ ภาพลมฟ้าอากาศ
2. อธบิ ายแปลความหมายจากภาพถา่ ยดาวเทยี ม
3. วเิ คราะห์และอธบิ ายแปลความหมายจากขอ้ มูลเรดารต์ รวจอากาศ
4. น�ำ ขอ้ มลู สารสนเทศตา่ ง ๆ และพยากรณอ์ ากาศมาวางแผนการด�ำ เนนิ ชวี ติ และประกอบอาชพี ให้

สอดคลอ้ งกบั สภาพลมฟ้าอากาศ

ทักษะกระบวนการทาง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จิตวทิ ยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ การยอมรบั ความเหน็ ต่าง
1. การตีความหมายข้อมูล 1. การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็น
และลงข้อสรปุ
ทีมและภาวะผูน้ �ำ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 10 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวทิ ยากบั การใชป้ ระโยชน์ 327

ลำ�ดับแนวความคิดตอ่ เนื่อง

ขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศทน่ี �ำ ไปใชใ้ นการพยากรณอ์ ากาศมาจากสถานตี รวจอากาศผวิ พน้ื
ซึง่ กระจายอยตู่ ามจุดต่าง ๆ ทวั่ โลก

เมอื่ น�ำ ขอ้ มูลจากสถานีตรวจอากาศผิวพน้ื แต่ละแหง่ มาวเิ คราะห์รว่ มกัน
จะท�ำ ให้ทราบลกั ษณะลมฟา้ อากาศในบริเวณกว้าง

การใชแ้ ผนที่อากาศผิวพ้นื รว่ มกบั สารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวทิ ยาอน่ื ๆ ช่วยให้ทราบ
สภาพลมฟา้ อากาศในบริเวณกว้างไดด้ ีขึ้นและสามารถพยากรณอ์ ากาศไดแ้ ม่นย�ำ ขน้ึ

ภาพถา่ ยดาวเทียมอตุ ุนิยมวทิ ยาเป็นสารสนเทศทางอุตนุ ิยมวทิ ยาทีน่ ำ�มาใช้ประโยชนใ์ น
การตดิ ตามการเคลอ่ื นตวั ของพายหุ มุนเขตรอ้ น ระบชุ นิดและปริมาณเมฆปกคลุมในพน้ื ตา่ ง ๆ

ขอ้ มูลเรดารต์ รวจอากาศเปน็ สารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวิทยา
ทช่ี ่วยใหท้ ราบความแรงและทศิ ทางการเคล่ือนตวั ของกล่มุ ฝน

การใช้สารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยาหลายชนดิ ประกอบกนั จะช่วยใหค้ าดการณ์
สภาพลมฟ้าอากาศซง่ึ สามารถน�ำ มาเปน็ ข้อมูลประกอบการวางแผนการด�ำ เนนิ งาน

การประกอบอาชีพ การเตรยี มรับมือและลดผลกระทบต่าง ๆ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

328 บทท่ี 10 | ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวทิ ยากับการใช้ประโยชน์ คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

สาระสำ�คัญ

แผนที่อากาศผิวพ้ืนเป็นสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยาที่แสดงข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ
ณ บริเวณหน่ึงในรูปของสัญลักษณ์ เช่น บริเวณความกดอากาศสูง หย่อมความกดอากาศตำ่�
พายหุ มุนเขตรอ้ น รอ่ งความกดอากาศต�ำ่

การแปลความหมายสัญลักษณ์ท่ีปรากฏบนแผนที่อากาศผิวพ้ืนร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยา และข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ จะช่วยให้สามารถคาดการณ์สภาพลมฟ้าอากาศใน
ช่วงเวลาต่าง ๆ ได้แม่นยำ�ขึ้น และใช้วางแผนการดำ�เนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลมฟ้าอากาศ
เช่น การเลือกช่วงเวลาในการเพาะปลูกให้สอดคล้องกับฤดูกาล การเตรียมพร้อมรับมือสภาพอากาศ
แปรปรวน

เวลาที่ใช้

บทเรยี นน้ีควรใช้เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง

1. ข้อมูลและสารสนเทศทางอุตุนิยมวทิ ยา 4 ชว่ั โมง
2. การใช้ประโยชน์จากขอ้ มูลสารสนเทศ 2 ชัว่ โมง

ความรู้ก่อนเรยี น

องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ การหมนุ เวยี นอากาศบนโลก การเกดิ เมฆ คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า

ความเข้าใจที่คลาดเคลอ่ื นท่อี าจเกดิ ขึน้

ความเข้าใจคลาดเคลื่อน ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง

สญั ลักษณ์บนแผนท่อี ากาศผวิ พ้ืน สญั ลักษณ์บนแผนทอ่ี ากาศผิวพน้ื
H หมายถึง อากาศรอ้ น (Hot) และ H หมายถึง บรเิ วณความกดอากาศสงู และ
L หมายถงึ อากาศเยน็ (Cool) L หมายถึง หยอ่ มความกดอากาศตำ่�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 10 | ขอ้ มูลสารสนเทศทางอุตนุ ยิ มวิทยากบั การใช้ประโยชน์ 329

10.1 ขอ้ มูลและสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวทิ ยา

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายสญั ลกั ษณแ์ สดงสภาพลมฟา้ อากาศบรเิ วณกวา้ ง บนแผนทอ่ี ากาศ
ผวิ พื้นและระบุสภาพลมฟา้ อากาศ
2. อธิบายการแปลความหมายจากภาพถา่ ยดาวเทยี ม
3. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากข้อมลู เรดารต์ รวจอากาศ

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรโลกและอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6
2. กรมอตุ ุนยิ มวิทยา http://www.tmd.go.th

แนวการจดั การเรยี นรู้
1. ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนร่วมอภิปรายกับนักเรียนเก่ียวกับสภาพลมฟ้าอากาศท่ีมีผลต่อมนุษย์และ
สง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ พายุหมุนเขตรอ้ นทส่ี ่งผลกระทบต่อพื้นที่ชายฝั่ง พายฝุ นฟ้าคะนองทม่ี ักเกิด
ขน้ึ บอ่ ยคร้งั ในพน้ื ทีภ่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยใช้รูปเหตกุ ารณท์ เ่ี กิดขน้ึ จรงิ ประกอบ
2. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตรปู น�ำ บทในหนงั สอื เรยี นหนา้ 247 จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดย
ใช้คำ�ถาม ดังตอ่ ไปนี้

จากรปู แสดงปรากฏการณ์ใด
แนวค�ำ ตอบ พายุฝนฟา้ คะนอง ฝนตกหนัก ลมพดั แรง

สภาพลมฟา้ อากาศดงั กลา่ วส่งผลกระทบตอ่ สิ่งมชี วี ติ และส่งิ แวดล้อมอยา่ ง
แนวค�ำ ตอบ อาจเกดิ อนั ตรายจากฟา้ ผา่ และเศษวสั ดหุ รอื สง่ิ ของปลวิ ลมกระโชกแรงอาจท�ำ ให้
บา้ นเรอื นเสียหาย หากมีฝนตกหนักอาจเกดิ นำ้�ท่วม ถนนถูกตัดขาด
หมายเหตุ ค�ำ ตอบข้อน้ีอาจมไี ดห้ ลากหลายข้นึ อยกู่ บั ความร้แู ละประสบการณ์ของนกั เรียน

นักเรียนสามารถทราบสภาพลมฟา้ อากาศดงั กล่าวลว่ งหนา้ ไดห้ รือไม่ ทราบไดอ้ ยา่ งไร
แนวค�ำ ตอบ สามารถทราบลว่ งหน้าได้ โดยการติดตามพยากรณอ์ ากาศ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

330 บทที่ 10 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ นุ ิยมวทิ ยากบั การใชป้ ระโยชน์ คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

3. ครูให้นักเรียนสังเกตรูป 10.1 และสืบค้นข้อมูลการพยากรณ์อากาศและการตรวจวัดองค์ประกอบ
ลมฟ้าอากาศจากหนงั สอื เรยี นหนา้ 248 จากนัน้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใช้ตัวอยา่ งค�ำ ถามดงั นี้

ปัจจุบนั การพยากรณ์อากาศใชข้ อ้ มลู การตรวจวัดองคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศจากแหลง่ ใดบา้ ง
แนวค�ำ ตอบ สถานตี รวจอากาศผวิ พ้นื สถานตี รวจอากาศชน้ั บน สถานตี รวจอากาศบนเรือ ทนุ่ ลอย
ในมหาสมุทร สถานเี รดารต์ รวจอากาศ อุปกรณต์ รวจวัดบนเครือ่ งบิน ดาวเทยี ม

จากรปู 10.1 ระบแุ หล่งตรวจวดั องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศได้อย่างไรบ้าง
แนวคำ�ตอบ สามารถระบแุ หล่งตรวจวดั องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศได้ดังรูป

จ�ำ นวนขอ้ มลู องคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศมผี ลตอ่ ความแมน่ ย�ำ ในการพยากรณอ์ ากาศหรอื ไม่ อยา่ งไร
แนวค�ำ ตอบ จ�ำ นวนขอ้ มลู ลมฟา้ อากาศมผี ลตอ่ ความแมน่ ย�ำ ในการพยากรณอ์ ากาศ ดดยขอ้ มลู องค์

ประกอบลมฟ้าอากาศที่มีจำ�นวนมากทำ�ให้การพยากรณ์อากาศมีความแม่นยำ�มากข้ึนเพราะเหตุใด
จึงต้องตรวจวดั ข้อมูลองค์ประกอบลมฟา้ อากาศด้วยวิธที หี่ ลากหลาย
แนวค�ำ ตอบ เพ่อื ใหค้ รอบคลุมข้อมูลทั่วทุกบรเิ วณบนโลก

ข้อมูลองค์ประกอบลมฟา้ อากาศที่ตรวจวัดได้ สามารถนำ�ไปใชป้ ระโยชน์อะไรได้บ้าง
แนวคำ�ตอบ นำ�ไปใช้คาดการณส์ ภาพลมฟ้าอากาศท่จี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ดาวเทียม ดาวเทยี ม ค่มู อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
อปุ บกนรเณครต ือ่ รงวบจนิ วัด
ดาวเทยี ม

อุปบกนรเณครต ่ือรงวบจินวดั

(บอลลนู ตรวจอากาศ) อปุ บกนรเณครตือ่ รงวบจินวดั (บอลลูนตรวจอากาศ) บทท่ี 10 | ขอ้ มลู สารสนเทศทางอตุ ุนิยมวิทยากบั การใชป้ ระโยชน์ 331
สถาน(สตี ถราวนจีออตั าโกนามศัตผิ)ิวพ้ืน อปุ บกนรเณครตอ่ื รงวบจินวดั
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สถานีรบั สัญญาณดาวเทียม)

สถานตี รวจอากาศบนเรอื ทุนลอยในมหาสมุทร สถานเี รดารต รวจอากาศ

สถานีตรวจอากาศช้นั บน

ทุนลอยในมหาสมทุ ร อปุ บกนรเณครต อ่ื รงวบจนิ วัด

สถานีตรวจอากาศผวิ พ้นื

332 บทท่ี 10 | ข้อมูลสารสนเทศทางอตุ ุนยิ มวิทยากบั การใช้ประโยชน์ คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

4. ครูสรุปและให้ความรู้เพ่ิมเติมว่า “นักอุตุนิยมวิทยาจะนำ�ข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศที่ได้
จากการตรวจวัดจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มาแสดงผลอยู่ในรูปของสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา เช่น
แผนทีอ่ ากาศชนิดตา่ ง ๆ ข้อมลู ดาวเทียมอตุ ุนยิ มวทิ ยา ขอ้ มูลเรดาร์ตรวจอากาศ”

5. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแผนท่ีอากาศผิวพื้นจากหนังสือเรียนหน้า 249 - 250
จากนนั้ รว่ มกนั อภิปรายโดยมแี นวทางดงั ตวั อย่าง
แนวทางการอภิปราย แผนท่ีอากาศผิวพื้นแสดงข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากสถานี
ตรวจอากาศผิวพื้น ข้อมูลบนแผนที่อากาศผิวพื้นจะแสดงด้วยสัญลักษณ์ท่ีบอกองค์ประกอบลมฟ้า
อากาศตา่ ง ๆ (ดงั รปู 10.2 ในหนังสอื เรียนหน้า 249) เช่น อุณหภมู อิ ากาศ อุณหภูมจิ ดุ น�ำ้ ค้าง ทิศทาง
และอัตราเร็วลม สัดส่วนเมฆในท้องฟ้า ความกดอากาศ โดยข้อมูลต่าง ๆ จะปรากฏ ณ ตำ�แหน่ง
เดิมเสมอ ยกเว้นสัญลักษณ์แสดงทิศทางลมท่ีจะเปลี่ยนตำ�แหน่งตามทิศทางลมในขณะตรวจวัด ใน
สัญลักษณ์แสดงข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศอาจแสดงข้อมูลไม่ครบถ้วน ทั้งนี้ ข้ึนอยู่กับสภาพ
ลมฟ้าอากาศท่ตี รวจวดั ได ้ จากนั้นจะนำ�ข้อมูลจากสถานีตรวจอากาศผิวพ้ืน ณ ตำ�แหน่งต่าง ๆ มา
วิเคราะห์เป็นสภาพลมฟ้าอากาศบริเวณกว้างและถูกแสดงด้วยสัญลักษณ์อีกรูปแบบหนึ่งบนแผนที่
อากาศผวิ พืน้

6. ครใู ห้ความรเู้ พิม่ เติมเกีย่ วกบั การตรวจวดั และรายงานคา่ ความกดอากาศ ดังนี้
สถานีตรวจอากาศผิวพื้นแต่ละแห่งต้ังอยู่บนพื้นที่ที่มีระดับความสูงแตกต่างกัน ซ่ึงเป็นปัจจัย
หนง่ึ ทส่ี ง่ ผลใหค้ วามกดอากาศทตี่ รวจวดั ไดจ้ ากแตล่ ะสถานมี คี า่ แตกตา่ งกนั ดงั นน้ั นกั อตุ นุ ยิ มวทิ ยาจงึ
ใชร้ ะดบั น�ำ้ ทะเลเปน็ จดุ อา้ งองิ ความสงู และค�ำ นวณความกดอากาศทตี่ รวจวดั ไดจ้ ากทกุ สถานเี ปน็ ความ
กดอากาศทร่ี ะดบั น�้ำ ทะเล เมอื่ น�ำ คา่ ความกดอากาศดงั กลา่ วมาสรา้ งเปน็ เสน้ ความกดอากาศเทา่ กจ็ ะ
ชว่ ยใหท้ ราบการเคลอื่ นทข่ี องอากาศเปน็ บรเิ วณกวา้ ง ซง่ึ มปี ระโยชนอ์ ยา่ งมากในการพยากรณอ์ ากาศ

7. ครูนำ�ตัวอย่างแผนที่อากาศผิวพ้ืนให้นักเรียนสังเกตและใช้ตัวอย่างคำ�ถามดังน้ี “สัญลักษณ์
ตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏบนแผนทอี่ ากาศผวิ พนื้ มคี วามหมายอยา่ งไรและระบลุ มฟา้ อากาศอยา่ งไร” จากนน้ั ครู
ให้นักเรียนหาคำ�ตอบจากกจิ กรรม 10.1 สัญลกั ษณแ์ สดงสภาพลมฟา้ อากาศบรเิ วณกว้าง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี