การพัฒนาทักษะการสะกดคำภาษาอังกฤษตามหลัก phonics โดยใช้ชุดการสอน

การพัฒนาทักษะการอา นออกเสียง และการสะกดคำภาษาองั กฤษ
โดยใชโฟนกิ สก ารด และบอรด เกมของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 5/3

โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออ นอุทศิ ) อำเภอเมอื ง จังหวัดสงขลา

มารียะห หมี บู

รายงานการวิจัยในช้นั เรียนฉบับนเี้ ปน สวนหนง่ึ ของการฝกประสบการณวิชาชีพครู

ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2563
สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา

การพฒั นาทกั ษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาองั กฤษ
โดยใชโ ฟนิกสการด และบอรด เกมของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 5/3

โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออ นอทุ ศิ ) อำเภอเมอื ง จังหวัดสงขลา

โดย
มารียะห หีมบู
สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ รหสั นกั ศกึ ษา 59E102026

เสนอ
อาจารยจันทรจ ริ า วงษประไพโรจน

รายงานการวิจัยในช้นั เรียนฉบับน้ีเปนสว นหน่ึงของการฝก ประสบการณวิชาชพี ครู

ภาคเรียนที่ 2 ปการศกึ ษา 2563
สาขาวิชาภาษาองั กฤษ คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา

ชอ่ื เร่อื ง การพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกส

การด และบอรดเกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2

(ออ นอุทศิ ) อำเภอเมือง จงั หวัดสงขลา

ผวู จิ ัย มารยี ะห หีมบู

ปท ีท่ ำการวจิ ัย 2563

บทคดั ยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำ
ภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกสการด และบอรดเกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียน
เทศบาล 2 (ออนอุทิศ) และเพื่อเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) กอนและหลังการใชโฟนิกส
การด และบอรดเกม ประชากรทใี่ ชในการวจิ ัยคร้งั น้ี ไดแ ก นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5/3 โรงเรียน
เทศบาล 2 (ออนอุทิศ) ปการศึกษา 2563 จำนวน 6 คน ที่มีปญหาดานการออกเสียง และการสะกด
คำภาษาอังกฤษ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย 1) โฟนิกสการด 2) บอรดเกม
3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาตางประเทศ เรื่อง การออกเสียงพยัญชนะและ
สระ การวิเคราะหขอมูลทำไดโดยการวิเคราะห คารอยละ คาเฉลี่ย ( ) และสว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
( ) ผลการวิจยั สรปุ ไดดังนี้

1. ผลการพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกสการด
และบอรดเกม มีรอยละของการพฒั นาเทา กับ 56.7 โดยนักเรียนคนที่ 1 มีพฒั นาการมากทสี่ ดุ คิดเปน
รอยละของพัฒนาการเทากับ 65 รองลงมาคือคนที่ 3 เทากับ 60 คนที่ 5 เทากับ 60 คนที่ 4 เทากับ
55 คนที่ 2 เทา กบั 50 และคนที่ 6 เทากับ 50 ตามลำดบั

2. ผลการเปรียบเทียบทักษะอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและหลังการ
ใชโฟนิกสการด และบอรดเกมมีความตางของคะแนนกอนและหลังใชคิดเปนรอยละ 56.5 คะแนน
เฉลีย่ 11.3 โดยนกั เรียนท่ีมีความตา งของคะแนนกอนและหลงั ใชโ ฟนิกสการด และบอรดเกมมากท่ีสุด
คอื นักเรยี นคนท่ี 1 เทา กับ 13 คะแนน และนักเรียนคนท่ี 3 5 4 2 และ 6 ตามลำดบั มคี วามตางของ
คะแนนเทากับ 12 12 11 10 และ 10 ตามลำดับ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .05 โดยมีคาเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใชโฟนิกสการด และบอรดเกมสูงกวาคาเฉล่ีย
กอ นใชโ ฟนิกสการด และบอรด เกมอยา งมนี ัยสำคญั ที่ .05

กิตติกรรมประกาศ

รายงานวิจัยฉบับนี้สำเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาในการใหคำแนะนำและความอนุเคราะห
อยางดียิ่งจาก อาจารยจันทรจิรา วงษประไพโรจน อาจารยนิเทศประจำโรงเรียนที่ไดใหคำปรึกษา
ชี้แนะ และแกไ ขขอบกพรอ งตาง ๆ อยางดียิง่ ตลอดมา ผวู ิจัยขอขอบพระคุณเปนอยา งสงู

ขอขอบพระคณุ ผเู ชยี่ วชาญ นางสาวเฉลมิ ขวญั ประยรู เต็ม นางสาวจรรยวรรณ พุทธมณี และ
นายธวัชชัย ศรีแสงแกว ที่ไดตรวจสอบและใหคำแนะนำในการสรางเคร่ืองมือวจิ ัย ปรบั ปรงุ แกไขใหมี
ความถูกตองและเหมาะสม

ขอขอบพระคุณผูบริหาร คณะครู และนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) ที่ไดใหความ
รวมมือ และอำนวยความสะดวกแกผูวจิ ยั เปน วิจยั เปน อยา งดใี นการเก็บขอ มลู เพื่อการวจิ ยั ในครัง้ นี้

ขอบพระคุณบิดามารดาและบุคคลในครอบครัวของผูวิจัยที่ชวยเหลือและเปนกำลังใจให
ผวู ิจยั เสมอมา จนงานวจิ ัยสำเร็จลลุ วง

มารียะห หมี บู

สารบัญ

บทคดั ยอ........................................................................................................................................... ก
กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................ ข
สารบัญ............................................................................................................................................. ค
สารบญั ตาราง................................................................................................................................... จ
สารบัญรูปภาพ................................................................................................................................. ฉ
บทที่ 1 บทนำ .............................................................................................................................1

ความเปน มาและความสำคัญของปญหา........................................................................................ 1
วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ัย .............................................................................................................. 3
ขอบเขตการวจิ ยั ............................................................................................................................ 3
สมมตฐิ านการวจิ ยั ......................................................................................................................... 4
นยิ ามศัพทเ ฉพาะ .......................................................................................................................... 4
ขอ จำกัดของการวจิ ัย..................................................................................................................... 5
ประโยชนทค่ี าดวา จะไดรบั ............................................................................................................ 5
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วของ.......................................................................................... 6
ขอบขายหลกั สูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 ....................................................................... 6
การใชเ กม และส่ือเพ่ือพฒั นาทักษะการอาน ................................................................................. 9
บอรด เกม .................................................................................................................................... 14
งานวิจยั ทีเ่ ก่ียวของ...................................................................................................................... 16
บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย ............................................................................................................ 20
ประชากร .................................................................................................................................... 20
เครื่องมอื ที่ใชในการวจิ ัย.............................................................................................................. 20
การสรางเคร่ืองมือในการวิจยั ...................................................................................................... 20
การวิเคราะหขอมลู และสถิติที่ใช ................................................................................................. 26
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอ มูล....................................................................................................... 28
ตารางท่ี 1 ผลการพฒั นาทักษะการอานออกเสยี ง และการสะกดคำภาษาองั กฤษโดยใชโ ฟนิกส
การด และบอรดเกม …………………………………………………………………………………………………………28

สารบัญ (ตอ )

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและ
หลงั การใชโฟนกิ สก ารด และบอรดเกม …………………………………………………………………………………29

บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ .................................................................................. 30
สรุปผลการวิจัย ........................................................................................................................... 30
อภปิ รายผลการวจิ ัย .................................................................................................................... 31
ขอเสนอแนะ ............................................................................................................................... 32

บรรณานุกรม.................................................................................................................................. 34
ภาคผนวก....................................................................................................................................... 36

ภาคผนวก ก รายนามผูเชย่ี วชาญ ............................................................................................. 37
ภาคผนวก ข ผลการหาคา ดัชนีความสอดคลองของผเู ชย่ี วชาญ (IOC) ...................................... 39
ภาคผนวก ค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาภาษาตา งประเทศ ............................ 48
ภาคผนวก ง แบบประเมนิ ผลแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษ .............. 51
ภาคผนวก จ ตัวอยางนวตั กรรมท่ีใช............................................................................................ 54
ประวตั ิผูวจิ ยั ................................................................................................................................... 59

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา

1. ผลการพฒั นาทกั ษะการออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโ ฟนิกสก ารด

และบอรดเกม 28

2. ผลการเปรยี บเทยี บทกั ษะการออกเสยี ง และการสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและหลังการใช

โฟนิกสก ารด และบอรดเกม 29

สารบัญรปู ภาพ ฉ
4
1. กรอบแนวคิดในการวิจยั

1

บทท่ี 1
บทนำ

ความเปน มาและความสำคัญของปญ หา
พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 หมวด ๒ สิทธแิ ละหนาท่ที างการศึกษามาตรา

๓๐ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสงเสริมใหผูสอน
สามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับนักเรียนในแตละระดับการศึกษา หมวด ๙
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๖๗ รัฐตองสงเสริมใหม ีการวิจยั และพัฒนา การผลิตและการพัฒนา
เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพ่ือ
การศกึ ษา เพ่ือใหเ กิดการใชท ีค่ ุมคา และเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรขู องคนไทย

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ซ่งึ กำหนดใหน กั เรียนเรียนภาษาอังกฤษ
ตลอดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่แสดงใหเห็นถึงความสำคัญของรายวิชา
ภาษาตางประเทศ การเรียนรูภาษาตางประเทศมีความสำคัญและจำเปนอยางยิ่งในชีวิตประจำวัน
เนื่องจากเปนเครื่องมือสำคัญในการติดตอสื่อสาร การศึกษาการแสวงหาความรู การประกอบอาชีพ
การสรางความเขาใจเก่ียวกบั วัฒนธรรมและวิสยั ทัศนของชมุ ชนโลก และตระหนักถงึ ความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลกนำมาซึ่งมิตรไมตรีและความรวมมือกับประเทศตาง ๆ ชวย
พัฒนานักเรยี นใหมีความเขาใจตนเองและผูอนื่ ดีย่ิงข้นึ เรยี นรแู ละเขาใจความแตกตางของภาษา และ
วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีตอ
การใชภาษาตางประเทศ และใชภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารได รวมทั้งเขาถึงองคความรูตาง ๆ
ไดง า ยและกวางขึน้ และมวี สิ ัยทัศนใ นการดำเนินชีวิต

โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออ นอุทศิ ) มกี ารจัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ซง่ึ เปน โรงเรียนในสงั กัดองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย โดยมีวิสัยทัศน คือ มีการจัดการศึกษาที่มุงพัฒนานักเรียน
เปนสำคัญและมกี ารบริหารจดั การโดยใชโรงเรียนเปนฐาน จะเห็นไดวาโรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ)
ใหความสำคัญกับการพัฒนานักเรียนทางดานภาษาตางประเทศ ซึ่งถือเปนการเตรียมความพรอม
นักเรียนในการศึกษาในระดบั ทีส่ ูงข้ึน

สภาพปญหาการเรียนภาษาองั กฤษของโรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) สวนใหญคอื นกั เรยี น
ไมสามารถอานออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษได สังเกตไดจากการที่ครูผูสอนใหนักเรียนอาน
คำศัพทพื้นฐาน นักเรียนบางคนไมสามารถอานออกเสียงคำศัพทได และไมสามารถออกเสียง
พยัญชนะ และสระได ซึ่งเปนปญหาในหองเรียนท่คี วรจะไดร บั การแกไ ข

2

เนื่องจากการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษเปนทักษะพื้นฐานของการเรียน
ภาษาอังกฤษที่นักเรียนตองมี หากนักเรียนขาดทักษะในการอานออกเสียงและการสะกดคำ
ภาษาองั กฤษ และปญ หาดงั กลาวยังไมไดรบั การแกไขจะทำใหยากตอการตอยอดไปในระดับอ่ืน ๆ ได
ทำใหนักเรียนอานคำศัพทภาษาอังกฤษไมได เรียนไมเขาใจ เกิดเจตคติที่ไมดีตอวิชาภาษาอังกฤษ
และสงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ นักเรียนขาดความรู และทักษะพื้นฐานที่สำคญั ในการเรยี น
ทั้งทักษะการอานและการเขียน ซึง่ จะเปนปญ หาในการเรียนภาษาองั กฤษในระดับทสี่ ูงขึ้น

สาเหตุหลายประการที่ทำใหนักเรียนขาดทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำ
ภาษาอังกฤษ ดานนักเรียน คือ นักเรียนไมตั้งใจเรียน และไมทบทวนบทเรียน ดานตัวครูผูสอน คือ
ขาดสื่อการสอนในการดึงดูดความสนใจของนักเรียน ขาดเทคนิคการสอนที่เหมาะสม และครูผูสอน
สอนไมทั่วถึง ดานครอบครัว ผูปกครองไมมีเวลาดูแลนักเรียน และไมสนใจ และอีกสาเหตุประการ
หนึ่งคือระยะเวลาในการสอนที่ไมเพียงพอตอการเรียนรูของนักเรียน เปนผลใหนักเรียนไมสามารถ
อานภาษาอังกฤษได สาเหตุที่สำคัญที่เลือกมาแกปญหาโดยการทำวิจัยคือ ครูผูสอนขาดสื่อการสอน
และเทคนิคการสอนที่เหมาะสมในเรื่องการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ ทำให
นกั เรียนขาดทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ เหตผุ ลท่เี ลอื กสาเหตุดังกลาวคือ
พื้นฐานของการเรียนภาษาอังกฤษ คือ รูจักการออกเสียงของพยัญชนะและสระ ทำใหงายตอการตอ
ยอดในเรอ่ื งการสะกดคำภาษาอังกฤษตอไป

การแกปญหานักเรียนขาดทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำ โดยเลือกแกที่สาเหตุ
การใชส่ือการสอนของครูผูส อนท่ีไมเ หมาะสม เนอื่ งจากการสอนที่มีการใชส ื่อประกอบการเรียนจะทำ
ใหนักเรียนเห็นความเปนรูปธรรมของส่ิงที่ครูผูสอนสอนและเพิม่ พูนความรูความเขาใจของนักเรียนให
เดนชัดและงายขึ้น ซึ่งมีผลการวิจัยสนับสนุน เชน ผลงานการวิจัยของนนทพร พิลาวุฒิ (2559) ได
ศึกษาเรื่อง การใชสื่อการสอนเพื่อพัฒนาและสงเสริมทักษะการอานคำศัพทภาษาอังกฤษสำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 ผลการวิจัยพบวา นักเรียนไดคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวากอน
เรยี นโดยใชสอ่ื การสอน

โฟนิกสการด และบอรดเกมมีความสำคัญคือเปนสื่อการสอนที่จะชวยทำใหผูเรียนสามารถ
เขาใจในการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษไดงายขึ้น เนื่องจากเปนสื่อที่เปนรูปธรรม
เปน การใหผูเ รยี นไดฝก การออกเสยี ง และการสะกดคำภาษาองั กฤษผา นการเลนเกมการอานออกเสียง
และสะกดคำแบบ Word Families คือการอานออกเสียงกลุมคำที่มีเสียงสระเดียวกัน และมีรูปแบบ
ตัวสะกดแบบเดียวกัน ซึ่งจะทำใหผูเรียนนั้นมีความสนใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น สงเสริมใหผูเรียนเกิด
ทักษะการเรียนรูในเรื่องของการอานออกเสียงและสะกดคำ และจะทำใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอ
ภาษาองั กฤษอีกดวย

3

จากความสำคัญที่กลาวมาขางตน จะเห็นวาการที่นักเรียนขาดทกั ษะการอานออกเสียง และ
การสะกดคำ เปน ปญ หาที่ควรไดรบั การแกไข โดยการใชโ ฟนกิ สก ารด และบอรดเกม โดยศกึ ษาวา การ
ใชโฟนิกสการดและบอรดเกมจะสามารถทำใหนักเรียนอานออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษได
หรือไม ซึ่งจะทำใหนักเรียนมีทักษะในการอานออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษซึ่งเปนทักษะ
พ้ืนฐานทน่ี ักเรียนตอ งมีและจะทำใหผ ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นดีขึ้น ไดพัฒนาศักยภาพของตนเอง สงผล
ใหนักเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอวิชาภาษาอังกฤษ และจะทำใหนักเรียนมีความพรอมในการเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษในระดับที่สูงข้ึนตอ ไป

วตั ถุประสงคของการวจิ ัย
1. เพื่อพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ โดยใชโฟนิกสการด

และบอรด เกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ)
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชนั้

ประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) กอนและหลังการใชโฟนิกสการดและบอรด
เกม

ขอบเขตการวจิ ัย
1. ขอบเขตดา นประชากร
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 ปการศึกษา 2563

โรงเรียนเทศบาล 2 (ออ นอทุ ิศ) อำเภอเมือง จงั หวดั สงขลา จำนวน 6 คน ทมี่ ปี ญหาดา นการอานออก

เสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ

2. ขอบเขตดานระยะเวลา
21 ธนั วามคม 2563 – 21 มกราคม 2564

3. ขอบเขตดานเนอ้ื หา
การสรางโฟนิกสการดและบอรดเกม เรื่องการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ
เนื้อหาที่นำมาใชในการประกอบการสรางครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชเนื้อหาในกลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตา งประเทศ เรอ่ื ง My English (Alphabets) ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 5 ไดแก
1.can 6.pen 11.hit 16.stop

2.pan 7.ten 12.twin 17.dog

3.dad 8.red 13.chin 18.spot

4.sad 9.sled 14.pig 19.rug

4

5.fat 10.sit 15.jig 20.shut

4. ขอบเขตดา นตัวแปร
4.1 ตวั แปรตน คอื โฟนกิ สการด และบอรดเกม
4.2 ตวั แปรตาม คือ ทักษะการอา นออกเสยี ง และการสะกดคำภาษาองั กฤษ

สมมติฐานการวิจัย

ทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาองั กฤษของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท่ี 5/3
โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอทุ ศิ ) โดยใชโ ฟนิกสการด และบอรดเกมหลงั เรยี นสูงกวา กอนเรยี น

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

การใชส ือ่ พัฒนาทักษะการอานออก ทักษะการอานออกเสียง และการ
เสียง และการสะกดคำภาษาองั กฤษ สะกดคำภาษาอังกฤษ
ประกอบดว ย

- โฟนิกสก ารด
- บอรดเกม

ภาพที่ 1

นิยามศพั ทเ ฉพาะ

โฟนิกสการด หมายถึง สื่อการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้น ในรูปของการดคำศัพทภาษาอังกฤษ
เพื่อเสริมสรา งทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษใหแกนักเรียนช้ันประถมศึกษา
ปท ี่ 5/3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2563

บอรดเกม หมายถึง สื่อการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้น ในรูปของเกมกระดานที่สามารถอานและ
สะกดคำศัพทตามหมวด Word Families เพื่อเสริมสรางทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำ
ภาษาองั กฤษใหแกน ักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2563

การออกเสียง (pronunciation) หมายถึง วิธีการออกเสียงคำศัพทภาษาอังกฤษ คำใดคำ
หนึ่ง หรือ เสียงใดเสียงหนึ่งที่ถูกเปลงออกมาเปนภาษาอังกฤษ ถูกตองตามหลักสัทศาสตรโดยแบง
ออกเปน 2 เสียงหลักคือ เสียงสระและเสยี งพยัญชนะ ซึ่งเสียงสระในภาษาองั กฤษมที ัง้ หมด 21 เสียง
แบง ออกเปน เสยี งเดีย่ ว (Monothongs) 12 เสียง และเสียงประสม (Diphthongs) 9 เสยี ง และ เสียง
พยญั ชนะในภาษาอังกฤษมีทง้ั หมด 24 เสียง

5

Word Families หมายถึง การอานออกเสียงกลุมคำที่มีเสียงสระเดียวกัน และมีรูปแบบ
ตัวสะกดแบบเดียวกนั เชน bat, rat, cat.

ขอจำกดั ของการวิจัย
1. ระยะเวลาท่ีใชในการทำวจิ ัยเปน เพยี งระยะเวลาส้ัน ๆ จงึ อาจทำใหผลการวจิ ัยเกิดความ

คลาดเคลือ่ นได
2. นักเรียนมีความสามารถในการเรียนรทู ี่ตา งกนั เน่อื งจากความแตกตา งระหวางบคุ คล

ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดรบั
1. ไดทราบผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) กอนและหลังเรียนโดยใชโฟนิกสการด และ
บอรดเกม เพื่อพจิ ารณาความกา วหนา ในดา นทกั ษะการอา นออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ

2. ไดทราบผลการเปรยี บเทียบ ทกั ษะการอานออกเสยี ง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ
โดยการใชโฟนิกสก ารด และบอรดเกม

3. เพื่อใหนักเรยี นไดพฒั นาทักษะการอา นออกเสียง และการสะกดคำภาษาองั กฤษได
4. เพื่อเปนแนวทางสำหรับครูผูสอนในการปรับปรุงหารูปแบบวิธีสอนใหม ๆ เพื่อเปน
แนวทางในการพฒั นาการจดั การเรยี นรภู าษาอังกฤษใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึ้น

6

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วของ

ในการวจิ ัยเรอ่ื งการพฒั นาทักษะทกั ษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาองั กฤษ
โดยใชโฟนิกสการด และบอรดเกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออน
อุทิศ) อำเภอเมือง จงั หวดั สงขลา ผวู จิ ยั ไดท ำการศึกษาคนควาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ี
เกยี่ วขอ ง โดยไดร วบรวมเอกสารและสรุป เพ่ือใชเ ปนแนวทางการวจิ ยั ในครงั้ นี้ รายละเอียดดงั ตอ ไปนี้

1. ขอบขา ยหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551
1.1 หลกั สูตรสาระการเรียนรภู าษาตา งประเทศ
1.2 มาตรฐานและตัวช้วี ดั

2. การใชเ กม และสอื่ เพ่ือพฒั นาทักษะการอาน
2.1 ความหมายของเกม
2.2 ความสำคญั ของการใชเ กม
2.3 ประเภทของเกมเพื่อพฒั นาทักษะการเขียนคำศัพทภาษาอังกฤษ
2.4 หลกั การใชเกมในการสอนภาษาองั กฤษ

3. บอรด เกม
3.1 ความหมายของบอรด เกม
3.2 ประเภทของบอรด เกม
3.3 วธิ ีการสรางบอรด เกม

4. งานวิจัยทเี่ กย่ี วของ

1. ขอบขา ยหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551
1.1 หลกั สตู รสาระการเรียนรภู าษาตา งประเทศ

วสิ ัยทัศน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มงุ พฒั นาผเู รียนทุกคน ซึ่งเปน กำลังของชาติใหเปน

มนุษยท ่ีมคี วามสมดุลท้ังดานรางกาย ความรู คุณธรรม มจี ิตสำนกึ ในความเปนพลเมืองไทยและเปน
พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มี
ความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเปนตอการศึกษาตอการประกอบอาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนา
ตนเองไดเ ตม็ ตามศกั ยภาพ

7

หลกั การ

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน มหี ลกั การทส่ี ำคญั ดังน้ี
1. เปน หลักสูตรการศกึ ษาเพอ่ื ความเปน เอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรู
เปนเปาหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของ
ความเปนไทยควบคูก ับความเปนสากล
2. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอ
ภาค และมคี ุณภาพ
3. เปน หลกั สูตรการศึกษาทีส่ นองการกระจายอำนาจ ใหสังคมมสี ว นรวมในการจัดการศึกษา
ใหสอดคลอ งกับสภาพและความตอ งการของทอ งถ่ิน
4. เปนหลักสูตรการศกึ ษาที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและการจัดการ
เรียนรู
5. เปน หลกั สูตรการศึกษาทเ่ี นนผูเรียนเปนสำคัญ
6. เปนหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลมุ ทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู และประสบการณ

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มี

ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับ
ผูเ รยี น เมอ่ื จบการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ดงั นี้

1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค เหน็ คุณคา ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ตั ิ
ตนตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมี
ทักษะชวี ิต

3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มสี ขุ นิสยั และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข
5. มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษวัฒนธรรมและภมู ิปญญาไทย การอนุรกั ษและพัฒนาสิง่ แวดลอม
มีจิตสาธารณะท่มี งุ ทำประโยชนและสรางสง่ิ ทด่ี ีงามในสังคม และอยรู ว มกนั ในสงั คมอยางมีความสุข

8

สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค
ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมี

คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค ดังน้ี

สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี น
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มุงใหผ เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป ญ หา
4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

คุณลักษณะอนั พึงประสงค
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค
เพอื่ ใหส ามารถอยรู ว มกับผอู ืน่ ในสงั คมไดอยา งมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย
2. ซือ่ สัตยส ุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝเรยี นรู
5. อยูอยา งพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน
7. รกั ความเปนไทย
8. มีจติ สาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคเพิ่มเติมใหสอดคลองตาม
บรบิ ทและจุดเนนของตนเอง

1.2 มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั
มาตรฐาน

สาระที่ 2 ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต 2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของ
เจา ของภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใชอยางถูกตองและเหมาะสม

9

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง
สาระท่ี 1 ภาษาเพ่อื การสอื่ สาร

มาตรฐาน ต 1.1 เขาใจและตึความเรื่องท่ีฟงและอานจากสื่อประเภทตาง ๆ และแสดงความคิดเห็น

อยา งมเี หตผุ ล

ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.5 2. อานออกเสียงประโยค ขอความ และ - ประโยค ขอความ และบทกลอน

บทกลอนส้ัน ๆ ถูกตองตามหลักการอา น - การใชพจนานุกรม

- หลักการอา นออกเสียง

งานวิจัยนี้ศึกษาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หลักสูตรสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 ป.5/2 อานออกเสียงประโยค
ขอความ และบทกลอนสน้ั ๆ ถูกตอ งตามหลกั การอาน

2. การใชเกม และสอ่ื เพื่อพัฒนาทักษะการอา น

2.1 ความหมายของเกม
ชลิยา ลิมปยากร (2536: 191) ใหความหมายของเกมไววา เปนกิจกรรมการเลนที่ผูเลน

พยายามเลนใหบรรลุเปาหมาย ภายใตกติกาของกฎเกณฑที่กำหนดให โดยมีจุดประสงคเฉพาะเพื่อ
พฒั นานักเรยี นไปสจู ุดประสงคนั้นๆ เชน พัฒนาทกั ษะทางกาย เพ่อื พฒั นาการคิด และเพ่ือพัฒนาทาง
อารมณ เปน ตน
วิมลรัตน คงภิรมยชื่น (2540 : 21) ใหความหมายของเกมไววา เกม หมายถึง กิจกรรมการเลนที่ให
ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ชวยฝกทักษะใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดในสิ่งที่เรียน อาจมีการ
แขง ขันหรอื ไมก็ได แตจะตองมีกติกาการเลน กำหนดไว และจะตองมีการประเมินผลความสำเร็จของผู
เลน ดว ย

ดอบสัน (Dobson. 1998: 9 – 17) ใหความหมายของเกมไววา เกม หมายถึง กิจกรรมที่
สนุกสนานมีกฎเกณฑ กติกา กิจกรรมที่เลน มีทั้ง เกมเงียบ (Passive Games) หรือเกมที่เลนไมตอง
เคลื่อนที่ และเกมที่ใชความวองไว (Active Games) หรือเกมที่ตองเคลื่อนไหว เกมเหลานี้ขึ้นอยูกับ
ความวองไว ความแข็งแรง การเลนเกมมีทั้งเลนคนเดียว สองคน หรือเลนเปนกลุม บางเกมก็กระตุน
การทำงานของรา งกายและสมอง บางเกมก็ฝกทักษะบางสวนของรางกายและจิตใจ

เรืองศกั ดิ์ อมั ไพพันธ (2545: 2-3) ใหค วามหมายของเกมไวว า เปนกจิ กรรมทางภาษาทจ่ี ดั ข้ึน
เพื่อทดสอบ (Test) และเสริมสมรรถภาพ (Enlarge) ในการเรียนภาษาของผูเรียนโดยเนนหนักไป

10

ในทางผอนคลาย (Relax) เพื่อใหเกิดความสนุกสนาน (Fun) และเกิดการเรียนรูทั้งในรายบุคคลและ
สมาชกิ กลุมภายใตเ ง่อื นไข (Condition) ท่ีกำหนด

กรมวิชาการ (2546: 34) ใหความหมายของเกมไววา เปนกิจกรรมที่มีคุณคาในการสราง
ความสนกุ สนาน เพ่อื ผอ นคลายอารมณใหแ กนักเรยี นไดเปนอยางดี เกมเปน กิจกรรมพิเศษท่สี ำคญั ซ่ึง
คุณครูสอนภาษาจะนำมาสอนในชั่วโมงเรียนหรือนอกชั่วโมงไดดี เชนเดียวกับเพลง คุณครูควรเลือก
หรือดัดแปลงใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน โดยคำนึงถึงความยากงายของคำศัพท
ไวยากรณท ีใ่ ชแ ละวิธีการเลน

จันทิมา จนั ตาบตุ ร (2557: 6) ไดใ หค วามหมายของคำวาเกมไววา เปนการนำเอาจุดประสงค
ใด ๆ ของการเรียนรูตามหลักสูตรมาประกอบขึ้นเปนการเลน ผูเลนจะเลนเกมไปตามกติกาที่กำหนด
ซึง่ จะตองใชค วามรใู นเนื้อหามามสี วนรว มในการเลนดวย กลา วโดยสรปุ ไดวา เกม หมายถึง กิจกรรมท่ี
สรา งความสนุกสนาน ผอนคลาย และสรางความรูใหแกผูเลนไดในเวลาเดียวกันซง่ึ เกมมีหลายประเภท
ยกตัวอยางเชน เกมเงียบ (Passive Games) หรือเกมที่เลนไมตองเคลื่อนที่ และเกมที่ใชความวองไว
(Active Games) หรือเกมที่ตองเคลื่อนไหว แตจะตองมีกติกากำหนดไว โดยมีจุดประสงคเพื่อพัฒนา
นักเรียนในดานใดดานหนึ่งซึ่งเกมนั้นสามารถดึงสมรรถภาพของผูเรียนใหเดนออกมาไดรวมท้ัง
สามารถทดสอบเด็กไดอ กี ดวย

2.2 ความสำคัญของการใชเ กม
ครูแชงค (Cruickshank. 1999: 28 – 32) กลาวถึงความสำคัญของการใชเกมประกอบการ

สอนดงั น้ี
1. ชวยพัฒนาทกั ษะทางการเรียนของเดก็ ๆ
2. เปนการทบทวนวชิ าทเ่ี รยี นไปแลว
3. เปน การเพมิ่ พูนทกั ษะท่ีดีแกผูเลน ทลี ะนอยดว ยตัวของเขาเอง
4. ชวยเสริมการสอนของครูใหนาสนใจยิ่งขึ้นและชวยแกไขปญหาการเรียนการสอนท่ี

นา เบื่อ
นิตยา ฤทธ์ิโยธี (2540: 6) กลา ววา ความสำคญั ของการใชเกมชว ยใหบรรยากาศในการเรียน

การสอนเปน ไปอยา งมีชีวติ ชีวา สรางความเปนกันเอง ระหวา งครแู ละนกั เรียนไดมากขน้ึ
สำเนา ศรีประมงค (2547: 14) ในการใชเกมประกอบการสอนใหมีประสิทธิภาพ ครูผูสอน

ตองรูจักเลือกเกมใหเหมาะสมกับจุดมุงหมายในการเรียนรู โดยอาศัยประสบการณความรู
ความสามารถ และทักษะในการเลือกเกม ในการนำเกมมาใช จะตองรูวาเกมน้นั ๆจะใชในขั้น ไหน ข้ัน
นำเขาสูบทเรียน ขั้นสอน และขั้นปฏิบัติ ที่สำคัญตองรูจักใชเกมใหเหมาะสมกับเวลา โอกาส ความ
ตองการ ความสนใจ และความสามารถของนักเรียน

11

กลาวสรุปไดว า เกมมีความสำคัญในการใชประกอบการจัดการเรียนรู โดยครูจะตองใชเกมท่ี
เหมาะสมกับเนื้อหา ความสนใจ ความเหมาะสมของเวลา รวมทั้งความสามารถของนักเรียน ซึ่งเกม
ชวยกระตุนความสนใจ และชวยใหบรรยากาศในการเรียนรูมีชีวิตชีวา ทำใหการเรียนการสอนเกิด
ประสิทธภิ าพมากข้นึ

2.3 ประเภทของเกมเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเขยี นคำศัพทภาษาอังกฤษ
บำรุง โตรัตน (2524: 148) ไดแบงประเภทเกมในการสอนภาษาออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ

ดังนี้
1. เกมเฉื่อย (Passive Game) หมายถึง เกมที่ผูเลนหรือนักเรียนไมตองเคลื่อนท่ี

หรือเคลอื่ นไหวสว นของรางกายมากนกั และเปนกจิ กรรมทีเ่ ลนแลวไมตองสง เสียดังมาก
2. เกมเคลื่อนไหว (Active Game) หมายถึง เกมที่ผูเลนหรือนักเรียนตองใชความ

เคลื่อนไหวของรางกายมากกวา นักเรียนอาจจะตองเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ หองเรียนหรือบางคร้ัง
นักเรยี นอาจตอ งออกเสยี งหรอื สงเสียงดัง

วรรณพร ศลิ าขาว (2540: 160) เกมทีใ่ ชป ระกอบการสอนมีลักษณะดงั นี้
1. ไมตอ งเสยี เวลาเตรยี มตวั ลว งหนา
2. เลนไดง ายแตเปน การสง เสรมิ ความเฉลยี วฉลาด
3. ส้นั และสามารถนำไปแทรกในบทเรียนได
4. ทำใหนักเรียนไดร บั ความสนกุ สนาน แตค รกู ็ยงั ควบคุมชนั้ ได
5. ถามีการเขยี นตอบในตอนหลังกไ็ มตอ งเสียเวลาตรวจแก

จันทิมา จันตาบุตร (2557: 6) ไดใหความหมายของคำวา เกมไวว า เปน การนำเอาจุดประสงค
ใด ๆ ของการเรียนรตู ามหลักสูตรมาประกอบขึ้นเปน การเลน ผเู ลนจะเลนเกมไปตามกติกาที่กำหนด
ซ่งึ จะตองใชความรูในเนอ้ื หามามีสว นรว มในการเลนดวย

วิไลพร ธนสุวรรณ (2531 หนา 1-5) ไดสรปุ ไวว า เนอ่ื งจากการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษใน
ปจจุบันไดมีการเรียนเปลีย่ นการสอนและวิธกี ารสอน ที่เห็นไดชัดเจนคือ จากที่เนนการเรียนการสอน
ที่เปนแบบการเรียนรูกฎเกณฑของภาษาเปลี่ยนมาเปนการเรียนรูเพื่อการสื่อสาร ดังนั้นเกมภาษาจึง
แยกออกไดเ ปน 2 ประเภท ดงั นี้

1. Communicative Games เกมประเภทนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูเรียนไดสื่อสาร
สนทนา แลกเปลยี่ น หรอื ปรุงแตงขอมูล โดยใชโครงสรา ง ภาษา หรอื คำศัพททก่ี ำหนดให

2. Non – communicative Games เปนเกมที่สรางขึ้นเพื่อใหผูเรียนไดรับความ
สนกุ สนานคลายเครยี ดจากบทเรียนประจาวัน สว นใหญจะเนน ในรูปของการแขงขนั มผี แู พ ผูชนะ

สังเวียน สฤษดกิ ุล (2541 : 315) ไดแ บงเกมที่ใชในการสอนเปน 7 ชนิด ดังนี้

12

1. เกมตัวเลข (Number Games) เปน เกมทเี่ กี่ยวกับการฝก นบั ตัวเลขและจำนวน
2. เกมสะกดคำ (Spelling Games) เปนเกมเกีย่ วกับการสะกดคำ สอนคำศัพทหรือ
เรยี งอกั ษรภาษาองั กฤษ
3. เกมคำศัพท (Vocabulary Games) เปน เกมคำศพั ทอ ังกฤษ
4. เกมฝกสรางประโยค (Structure Practice Games) เปนเกมฝกสรางประโยค
และการพูดทีถ่ กู ตอง
5. เกมออกเสียงคำ Pronunciation Games เปนเกมฝกการออกเสียงของคำตา งๆ
6. เกมจังหวะ (Rhyming Games) เปนเกมฝกการออกเสียงของคำตางๆ ลักษณะ
สัมผัสเสยี ง
7. เกมผสมผสาน (Miscellaneous Games) เปนเกมการฝกผสมผสานกันหลาย
แบบ ครูเลอื กฝก ตามทีเ่ หน็ วาเหมาะสมกบั วยั และระดับนักเรียน
คณะนักวิชาการบริษัทนานมีบุคส (2543: 15) ไดแบงชนิดของเกมฝกภาษาที่ใชในระดับ
ประถมศึกษาเปน 7 ชนิด ดังน้ี
1. Alphabet Game เปนเกมฝก ตวั อกั ษร
2. Pronunciation Game เปน เกมการฝก การออกเสยี ง
3. Listening and Speaking Games เปนเกมการฝก การฟง และการพดู
4. Vocabulary Game เปนเกมฝก คำศพั ท
5. Spelling Game เปน เกมฝกการสะกดคำ
6. Structure Practice Game เปนเกมฝกไวยากรณ
7. Reading Game เปน เกมฝกการอาน
กลาวโดยสรุปไดวา ประเภทของเกมในการสอนภาษานั้นแบงไดหลายประเภท ขึ้นอยูกับ
จุดมุงหมายและเนื้อหาของเกมที่จะนำไปใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูจัดทำใชเกม Bingo ในการสอน
เนื่องจากทางโรงเรียนจะมีการแขงขันเกม bingo ในกิจกรรมสัปดาหภาษาตางประเทศบอยครั้งและ
เปน เวลาทกุ ๆ ป ดงั นนั้ ผวู ิจัยจึงเลือกเกมนี้เนื่องจากนักเรยี นมีความคนุ ชินและเขาใจกติกาเปนอยาง
ดีงา ยตอการเรยี นรู

2.4 หลักการใชเ กมในการสอนภาษาองั กฤษ
สุกจิ ศรณี ะพรหม (2544 : 75) กลาวถงึ หลักการใชเกมประกอบการสอน ดังนี้
1) ใหระลึกอยูเสมอวา เกมเปนเพียงสื่อชวยใหก ารเรียนการสอนบรรลุวัตถุประสงค

ในการสอนเทานั้น เกมเปนสวนชวยใหเกิดการฝกฝนในสิ่งที่เลือกสรรแลว และใชในการทบทวนสิ่งที่
นา สนใจและขาดหายไป

13

2) ในการสอนเกมใหมครูตองแนใจวานักเรียนเขาใจวัตถุประสงคของการเลน และ
เขาใจวิธกี ารเลนอยา งชัดเจน

3) ฝกนักเรียนใหเ ลน ตามกฎ ระเบยี บ กติกาและมรรยาทของเกมน้นั ๆ
4) ควรหลีกเลี่ยงการเลนเกมที่ใชเวลานาน เกมที่มีการเลนที่ซับซอนและเกมที่มี
กติกาไมแ นนอน
5) เลอื กเกมที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียน
6) การเลนเกมตองมีการกำหนดสัญญาณเริ่มและหยุดเลน ตองหยุดเลนเมื่อหมด
เวลา
7) ใหเ นนความมีน้ำใจเปนนักกฬี า รแู พ รูชนะ รอู ภัย
8) ผูสอนควรสงเสริมใหนักเรียนสรางเกมขึ้นเลนเอง โดยใหสรางเกมที่ชวยสงเสริม
ทางดานการเรยี น
9) ผูสอนควรมีการประเมินพฤติกรรมของนักเรยี นขณะทีม่ ีการเลนเกม
อัจฉรา ชวี พันธ (2533: 4-5) ไดกลา วถงึ หลักการใชเกมประกอบการสอน ดังน้ี
1) การใชเกมแตละครั้ง ครูตองมีจุดมุงหมายที่ชัดเจนวาตองการใหนักเรียนเกิด
ความรใู นดานใด
2) การใชเกมนั้นตองมีสวนชวยใหความมุงหมายของการสอนสัมฤทธิ์ผลชวยฝกฝน
ทบทวนบทเรียน
3) ครตู อ งวางแผนการสอนเปน อยางดี วา ควรใชเกมประกอบการสอนตอนใดเนนให
นักเรียนปฏิบัติตามกฎเกณฑหรือระเบียบที่วางไว และควรอธิบายใหเขาใจจุดมุงหมายของการเลน
รวมท้งั วิธกี ารเลน
4) เกมการเลนนั้น ๆ จะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรู เห็นคุณคาของการเรียนมใิ ช
เลนเพ่ือความสนุกสนานอยา งเดียว
5) ในการเลนเกมแตละครั้ง ครูควรชี้แจงใหนักเรียนเขาใจถึงความมีน้ำใจเปน
นักกฬี า การทำกจิ กรรมรวมกัน ความเอื้อเฟอ ความมีนำ้ ใจ ควรรว มมอื ระหวางกนั และกัน
6) กำหนดเวลาเลนไวแนนอน ไมควรใชเ วลานานเกนิ ไป
7) ในการเลนที่มีการแขงขันเปนกลุม ควรจัดกิจกรรมใหคละกันทั้งนักเรียนเกงและ
นักเรียนออน เพื่อใหนักเรียนออนไดมีโอกาสชนะบาง ซึ่งจะชวยใหนักเรียนรูจักชวยเหลือกันและเกิด
กำลังใจในการเลน
กลาวโดยสรุปคอื หลกั การใชเ กมในการสอนน้นั คณุ ครูจะตอ งเลือกเกมที่เหมาะสมกับเนื้อหา
และระดบั ชนั้ ของนกั เรยี น จะตองกำหนดกตกิ าทช่ี ัดเจนและกำหนดเวลาใหแนน อน เพื่อทีจ่ ะไดไมตอง
ใชเวลามากเกินไป และเกมท่ีใชจ ะตองมสี วนชว ยทำใหความมงุ หมายของการสอนสัมฤทธ์ิผล

14

3. บอรดเกม
3.1 ความหมายของบอรดเกม

บอรดเกม หรือเกมกระดานบนโตะมีการนำอุปกรณและชิ้นสวนตาง ๆ มาประกอบการเลน มี
จุดเริ่มตนมากจากกองทัพนักรบตาง ๆ ใชเพื่อวางแผนกลยุทธตำแหนงในการรบ จนเวลาผานไปจึง
กลายเปนเกมประเภทหนึ่งที่นิยมกันมาก และมีหลากหลายรูปแบบการเลน นอกจากปจจุบันบอรด
เกมจะถกู นำมาดัดแปบงเปนเกมเพื่อความสนุกสนามแลว ยงั ถูกนำมาใชเปนสื่อกลางในการสอน และ
การเรยี นรเู รอ่ื งตา ง ๆ เวลาที่ใชในการเรยี นรจู ะแตกตางกันออกไปตามความยากงา ยของผอู อกแบบ

3.2 ประเภทของบอรดเกม บอรด เกมสามารถแยกออกไดเปน 3 ประเภทกวาง ๆ ดังนี้

1. เกมครอบครวั (Family Game) จะเปนเกมท่มี ีกฎกติกาไมซับซอ น อธบิ ายให
คนทีไ่ มเคยเลนเขาใจไดภายใน 5-10 นาที บอรดเกมแนวครอบครัวมกั จะมสี ีสนั สวยงาม เนน ใหผูเลน
ตองพูดคุย ถกเถยี ง หรือหาโอกาสแกลงกนั คอนขางมากระหวา งเลน เนอื้ เร่ือง ไมเ ก่ยี วกับความรุนแรง
สามารถเลนจบไดภ ายใน 15-60 นาที

2. เกมวางแผน (Strategy Game) เกมทีต่ อ งใชทักษะในการวางแผนมากกวาเกม
ครอบครัว เหมาะสำหรับผูที่อยากเลนเกมที่ทาทายขึ้น เกมวางแผนอาจมี ‘ดวง’ เปนสวนประกอบ
บาง ใชเวลาเลน 60-120 นาที แตบางเกมอาจยาวถงึ 180 นาที หรอื เปนมหากาพย 5-6 ชัว่ โมงไดเ

3. ปารต้ีเกม (Party Game) ปารตีเ้ กมถกู ออกแบบมาสำหรับเลน เปน หมูคณะปกติ
หมายถึง 8-20 คนหรือมากกวา ปารตี้เกมที่สนุกคือเกมที่อธิบายใหทุกคนเขาใจไดภายใน 5-10 นาที
มีอปุ กรณไมม ากเกมประเภทน้ีอาจมีดวงเกี่ยวของดวยเล็กนอย แตสวนใหญต องใชมนุษยสัมพันธและ
ปฏิภาณไหวพริบ เชน หากเปนเกมที่ตองจับตัวสายลับที่แฝงตัวมา เราก็ตองคอยสังเกต น้ำเสียง สี
หนา แววตาทาทางของเพื่อนวาสอพิรุธไหม นาจะเปนสายลับที่แฝงตัวมาตามเนื้อเรื่องของเกมความ
สนกุ ของปารต เ้ี กมจงึ ละมายคลา ยกับความสนุกของงานปารตี้ คือไดสงั สรรคอยางหรรษากับคนอ่ืนอีก
หลายคน

3.3 วธิ กี ารสรางบอรด เกม

เกมกระดานทำเองเปน สง่ิ ท่ีจะทำใหทุกคนประทับใจในงานปารต เ้ี ลนเกมครั้งตอ ไปของคุณ
แตกอนท่ีคุณจะสรา งงานช้ินเอกออกมาได คุณจำเปนตอ งออกแบบพืน้ ฐานอยางพวกเปาหมายของ
เกมและกฎกติกาตางๆ

15

1. ออกแบบเกม
1.1 เขียนไอเดีย
1.2 เลือกแนวทางวาจะเนน ตรงธมี หรอื ตรงกลไก
1.3 คำนงึ ชว งอายุของผเู ลน
1.4 กำหนดขอจำกัดทางผูเลน เวลาและขนาดของเกม บางเกมจำกัดโดยขนาดของ
กระดาน จำนวนผูเ ลน หรอื จำนวนการด ขนาดกับจำนวนการดยังมผี ลวา ทำใหผูเลน
ตองใชเ วลาแคไหนกวา จะทำภารกิจสำเรจ็
1.5 เลอื กวาผเู ลน จะชนะเกมไดอยางไร
1.6 เขยี นกฎกตกิ าพ้ืนฐาน

2. ทำเกมตน แบบ
2.1 ใชเกมตนแบบในการพัฒนาเกม เกมตนแบบเปนขั้นตอนสำคัญในกระบวนการสราง
เกม
2.2 วาดแบบรา งของกระดาน เสน ทางเดนิ เกมเรียบงา ยจะมีทางเดินเสน เดียวสูจุดหมาย
เกมท่ซี บั ซอ นกวา อาจมที างแยกหรอื ทางวนยอ นกลับอยใู นเสนทางดว ย
2.3 ใชก ารดเพื่อเพม่ิ ความหลากหลาย การด ท่ีสับไวมวั่ ๆ จะชวยเพ่ิมผลกระทบท่ีคาดเดา
ไมไดตอผูเลนเกมกระดาน บนการดจะบอกเหตุที่ผูเลนคนที่จั่วการดจะโดนเชน
เปลยี่ นแตม เปล่ียนตำแหนง

3. ทดสอบเกมตนแบบ
3.1 ทดสอบเกมตนแบบดวยตัวเอง พอรวบรวมชิ้นสวนตางๆ ของเกมตนแบบไดแลว
เริ่มทดสอบดูวาเลนอยางไร กอนจะลองเปนกลุมก็ใหลองดวยตัวเอง ใหเลนเหมือน
เราเปนผูเลน แตล ะคนแลว บันทกึ จุดดจี ดุ ดอยที่สังเกตไดจากการเลน
3.2 เปลย่ี นผูท ำการทดสอบเพ่อื มุมมองตอ เกมที่ดีขึ้น

4. สรางเกมขั้นตอนสุดทาย คือ รวบรวมวัสดุอุปกรณ จากนั้นเริ่มวาดภาพประกอบบน
กระดานเกม ทำตวั หมาก นำลกู เตาหรอื วงลอ เกา มาใชห รือทำขึ้นเอง และตกแตงการด

16

4. งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วของ
กฤติกา ปานสีทอง (2539) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดฝกทักษะการออกเสียงสระและ

พยัญชนะในคำภาษาอังกฤษ สำหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เพื่อพัฒนาชดุ ฝกทกั ษะการออก
เสียงสระ และพยัญชนะในคำภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 ท่ีมีปญหาการออก
เสียงสระ และพยัญชนะภาษาอังกฤษ ซึ่งไมมีในระบบเสียงภาษาไทย ผลการวิจัยไดแสดงใหเห็นวา
ชุดฝกแตละชุดชวยใหนักเรยี นแกไขปญหาการออกเสียงได คะแนนโดยเฉลี่ยของนักเรียนจากแบบวดั
ผลสัมฤทธ์ิการออกเสียงของชุดฝกแตละชดุ หลังการใชชุดฝกสูงกวา กอนใชช ุดฝกอยางมีนัยสำคัญทาง
สถิติทร่ี ะดับ .05

น้ำผึ้ง ยาฉ่ำ (2550) ไดวิจัยเรื่อง ผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการเรียนรูการสะกดคำศัพท
ภาษาอังกฤษโดยใชเ กมในการจัดการเรียนรูของนักเรียนชวงชัน้ ที่ 1 ผลการวิจัย พบวา หลังเรียนโดย
ใชเกมในการจดั การเรยี นรนู ักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิในการเรยี นรูสูงกวา กอนเรียนอยา งมนี ยั สำคัญทางสถิติ
ท่ี ระดับ.01 และนักเรียนมีคะแนนความคงทนในการเรียนรู การสะกดคำศัพทภ าษาองั กฤษในระดบั ดี

ทัศนีย เทศตอม (2552) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอานและการเขียนสะกดคำ
พื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5
โรงเรียนชมุ ชนบา นหวั ขวั โดยใชแบบฝก ทกั ษะ ผลการวิจยั พบวา 1) แบบฝกทกั ษะการอานและการ
เขียนสะกดคำพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นประถมศึกษาปท่ี
5 มีประสิทธิภาพเทากับ 88.60/86.83 2) นักเรียนที่เรียนโดยใชแบบฝกทักษะการอานและการ
เขียนสะกดคำพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นประถมศึกษาปที่
5 มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรยี นสูงกวากอนเรียนอยางมนี ยั สำคัญทางสถิตทิ างสถิตทิ ี่ระดบั .01

สาคร เจรญิ แสน (2553) ไดศ กึ ษาเรอ่ื ง การพัฒนาทักษะการออกเสียงพยญั ชนะภาษาอังกฤษ
โดยใชแบบฝกการออกเสียง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย จังหวัด
กรุงเทพมหานคร ผลการวิจยั พบวา การพฒั นาทักษะการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษโดยใชแบบ
ฝก นกั เรียน โดยเฉล่ยี ออกเสียงพยัญชนะภาษาองั กฤษในตำแหนงตนคำ กลางคำ และทา ยคำในกลุม
เสียงเสียดแทรก (Fricatives) ไดถูกตองเพิ่มขึ้นรอยละ 40.53 โดยรวมนักเรียนสามารถออกเสียง
พยัญชนะตนคํา กลางคํา และทายคําไดถูกตองโดยเฉลี่ย รอยละ 88.00 ในกลุมเสียงกึ่งเสียดแทรก
(Affricates) ไดถูกตอ งเพิ่มขน้ึ รอยละ 41.66 หลงั จากการใชแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธห์ิ ลังการใชแ บบ
ฝกกลุมเสียงกึ่งเสียดแทรก (Affricates) โดยรวมนักเรียนออกเสียงถูกตองเฉลี่ย 89.33 หลังการใช
แบบฝกเพอ่ื พัฒนาทักษะการออกเสียงพยัญชนะภาษาองั กฤษกลุม เสยี งเสียดแทรก (Fricatives) และ

17

เสยี งกง่ึ เสยี ดแทรก (Affricates) นกั เรียนสามารถออกเสยี งพยญั ชนะภาษาอังกฤษดขี ึ้น โดยมีคะแนน
การทดสอบหลังเรียนสงู กวากอ นเรยี นอยางมีนยั สำคัญทางสถติ ิทีระดับ .05

ธาริณี อุณาพรหม และอรพิน พจนานนท (2554) ไดวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบทักษะการ
อานออกเสยี งและเขียนสะกดคำภาษาอังกฤษของนักเรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 โดยใชห ลักการสอน
แบบโฟนิคสผสมผสาน การสอนภาษาแบบองครวม กับการสอนตามคูมือครู ผลการวิจัย พบวา
นักเรียนที่ไดรับการสอน แบบโฟนิคสผสมผสานการสอนภาษาแบบองครวมมีทักษะ การอานออก
เสียงและเขียนสะกดคำ ภาษาอังกฤษสูงกวา นักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครู อยางมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว สอดคลองกับผลการวิจัยของ จารุ
วรรณ สายสิงห (2546) พบวา การผสมผสานการเรียนการสอนแบบโฟนิคสและ การสอนภาษาแบบ
องครวมสงเสริมความสามารถในการอานออกเสียง ความเขาใจในการอาน การเขียนสะกดคำ ของ
นกั เรียนใหสงู ขึ้น

สุชาดา อินมี (2556) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนาการออกเสียงคำศัพทภาษาอังกฤษดวยสื่อโฟ
นิกสโปสเตอร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ผลการวิจัยพบวา 1) สื่อโฟนิกสโปสเตอร สำหรับ
ฝกทักษะการอานออกเสียงคำศัพทภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีประสิทธิภาพ
78.17/76.75 2) ความสามารถในการอานออกเสียงคำศัพทภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 3 กอนและหลังไดรับการฝกทักษะการอานออกเสียงดวยสื่อโฟนิกสโปสเตอร
แตกตางกันอยางมนี ัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดับ .01 โดยหลังไดรับการฝกทกั ษะดวยสื่อโฟนกิ สโ ปสเตอร
นักเรียนมีความสามารถในการอานออกเสียงสูงกวา กอนไดรบั การฝก 3) นักเรียนมีความพึงพอใจตอ
การฝกอานออกเสียงคำศัพทภาษาอังกฤษดวยส่ือโฟนิกสโปสเตอร อยูในระดับมากโดยเฉพาะในดาน
ภาพประกอบมีสสี นั สวยงามนา สนใจ และมจี ำนวนคำศัพทแ ตล ะชดุ เหมาะสม

เจะสูฮานา หวังพิทยา และนุรซัลวา อัลอิดรีสี (2557) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนาแบบฝกทักษะ
การอานออกเสียงภาษาอังกฤษ Phonics Read Fast สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4
โรงเรียนบานบูด สำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปตตานี เขต 1 พบวา 1) ประสิทธิภาพของ
แบบฝก ทักษะการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ Phonics Read Fast 1 มีประสิทธิภาพ 80.06/80.93
และ 81.05/82.13 สำหรับแบบฝก ทักษะการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ Phonics Read Fast 2 ซึ่ง
ท้งั ประสิทธภิ าพของกระบวนการและประสิทธภิ าพของผลลัพธ (E1/E2) มีประสทิ ธภิ าพสูงกวาเกณฑ
ที่ผูวิจัยกำหนดไว คือ 80/80 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสาระ
การเรียนรูภ าษาตา งประเทศ รายวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ดาน

18

สมรรถภาพการอาน กอนและหลัง การใชแบบฝกทักษะการอานออกเสียงภาษาอังกฤษ Phonics
Read Fast 1 & 2 มีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียน แตกตางกันอยา งมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา นักเรียนมีความคิดเห็นตอ
แบบฝก ทักษะการอา นออกเสียงภาษาอังกฤษ Phonics Read Fast ทั้งสองเลม โดยภาพรวมคาระดับ
ความคิดเห็นของแตล ะขอ อยูในระดบั สงู

นนทพร พิลาวุฒิ (2559) ไดวิจัยเรื่อง การเสริมทักษะการอานคำศัพทภาษาอังกฤษสำหรับ
นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 5/3 โดยมจี ุดมงุ หมายในการแกปญหาในการออกเสียงคำศัพทใหถูกตอง
นักเรียนเกิดความเช่ือมั่นในการอานคำศัพท และสามารถสะกดคำศัพทไดดวยตนเองของนักเรียนชน้ั
ประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนบานนาหวา ประจำปการศึกษา 2559 จำนวน 35 คน ใชเวลาในการ
ทดลองทั้งสิ้น 20 สัปดาห สัปดาหละ 3 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใชในงานวิจยั ประกอบดวย แบบทดสอบ
กอ นเรยี นและหลังเรียน แบบฝก หดั เนนทักษะการสะกดคำศัพท และสื่อการเรียนรทู ่ชี วยในการสะกด
คำศัพท ผลการศึกษาครั้งนี้พบวา นักเรียนไดคะแนนทดสอบความสามารถในการอานคำศัพทหลัง
เรยี นโดยใชสือ่ การสอนสงู กวากอ นเรยี น

ภัทราวดี วงศสุเมธ (2559) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบเกมเสริม
ทักษะภาษาอังกฤษสำหรับนกั เรียน ระดบั ประถมศึกษา: กรณีศึกษาตนแบบเกมระดับประถมศึกษาป
ที่ 1 – 3 ผลการวิจัย พบวา ผลการประเมินตนแบบเกมแสดงใหเห็นวา ผูสอน แสดงความคิดเห็นใน
เชิงบวกตอตนแบบเกมทั้งในแง ประสิทธิภาพประสิทธิผลในการทำงาน ความสวยงาม และความ
สอดคลองของตนแบบเกมกับแนวทางการสอนใน ชั้นเรียนปกติ ผลการประเมินความพึงพอใจของ
ผูเรียนที่มีตอตนแบบเกม โดยภาพรวมมีคาอยูในระดับ ความพึงพอใจมากที่สุด นอกจากนี้ผูสอนยัง
แสดงความคิดเห็น เพิ่มเติมวาตนแบบเกมเหมาะ ที่จะนำมาใชเปนเครือ่ งมือเสรมิ ใหแกกระบวนการ
เรียนการสอนภาษาอังกฤษในชั้นเรียนปกติ เนื่องจากตนแบบเกมมีสวนในการสรางแรงจูงใจให
นักเรียน ตองการเขารวมกระบวนการเรียนรูภาษาอังกฤษ ผูเรียนมีความกระตือรือรน รูสึกเปนอิสระ
ในระหวางกระบวนการเรยี นรูและสนกุ สนานไปกบั การเรยี นรภู าษาอังกฤษผานทางตนแบบเกม

บุญสม ทบั สาย และศภุ ญา บุญตัน (2561) ไดว ิจัยเรื่อง การจัดการเรียนการสอนโฟนิกสแ บบ
สรางคําและแบบเทียบเคียงเพื่อพัฒนาความสามารถในการอานคําภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปที่ 3 พบวา ความสามารถในการอานคำภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่
3 หลังการจัดการเรียนการสอนโฟนิกสแบบสรางคำและแบบเทียบเคียงสูงกวากอนเรียน อยางมี
นัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากนี้ ยังพบวา การเรียนการสอนโฟนิกสแบบเทียบเคียงควร
ดำเนินการหลังจากการจัดการเรียน การสอนโฟนิกสแบบสรางคำ และการจัดการเรียนการสอน

19

โฟนิกสแบบเทียบเคียงโดยใชชดุ คำศัพทที่เปนคูเทียบเสียงและคำที่มีหนว ยเสียงขึ้นตนและลงทายใน
กลุมเดียวกันชว ยใหนกั เรียนอานคำไดอยา งคลอ งแคลว

จากการศึกษางานวจิ ัย สรุปไดวา การใชเกมในการเรยี นการสอนเร่ืองการออกเสยี ง และการ
สะกดคำภาษาอังกฤษ มีประโยชนแ ละมีประสิทธภิ าพ และเปนการสงเสริมใหผูเรียนศึกษาดวยตนเอง
ตามศักยภาพ เนื่องจากชวยกระตุนใหผูเรียนมีความกระตือรือรน รูสึกเปนอิสระในระหวาง
กระบวนการเรยี นรแู ละสนุกสนานไปกับการเรียนรูภ าษาองั กฤษ

20

บทท่ี 3
วธิ ีดำเนินการวจิ ัย

การวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกส
การด และบอรดเกม มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำ
ภาษาอังกฤษ และเพื่อเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและ
หลังการใชโฟนิกสการด และบอรดเกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2
(ออนอทุ ิศ) อำเภอเมอื ง จงั หวัดสงขลา โดยผูว ิจัยไดดำเนนิ การวจิ ัยดังรายละเอยี ดตอ ไปน้ี
ประชากร

ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งน้ี เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 ปการศึกษา 2563
โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออนอทุ ิศ) อำเภอเมอื ง จังหวดั สงขลา จำนวน 6 คน ทม่ี ีปญหาดานการอานออก
เสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ

เครือ่ งมอื ที่ใชใ นการวจิ ยั
เครือ่ งมือทใ่ี ชใ นงานวิจยั ในคร้งั นี้ ไดแ ก
1. นวัตกรรมทใี่ ช จำนวน 2 ชุด คือ
1.1 โฟนกิ สก ารด
1.2 บอรดเกม
2. เคร่อื งมือท่ใี ชเก็บรวบรวมขอมูล คอื แบบทดสอบ

การสรางเคร่ืองมือในการวิจยั
1. นวัตกรรม
1.1 โฟนิกสก ารด
1.1.1 การสรางโฟนกิ สก ารด ผูว ิจยั ไดดำเนนิ การตามขนั้ ตอนดงั นี้
1) ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนำมาสรางเปนโฟนิกส
การด
2) ศึกษาหลักสูตรกลุมสาระภาษาตางประเทศ ป 2551 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
เอกสารหลกั สูตรการจดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ
คูมือการสอนหนังสือเรียน แบบฝกหัด หลักสูตรสถานศึกษา ผลการเรียนรูท่ี
คาดหวงั กลุม สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 ของโรงเรียน
เทศบาล 2 (ออนอทุ ิศ)

21

3) การสรางโฟนกิ สก ารด
ลักษณะของโฟนกิ สการด คือ เปนการด จำนวน 89 ใบ โดยแบง มคี ำศพั ทตาง ๆ

เปนหมวด Word Families ซง่ึ แบง ไดออกเปน 15 หมวด คอื
1. -an มจี ำนวน 6 ใบ คอื can, fan, pan, man, tan, van.
2. -at มจี ำนวน 6 ใบ คอื bat, cat, fat, hat, mat, rat.
3. -ad มจี ำนวน 6 ใบ คอื bad, mad, sad, glad, dad.
4. -en มีจำนวน 6 ใบ คือ hen, pen, ten, men, when, yen.
5. -et มีจำนวน 6 ใบ คือ net, vet, pet, wet, jet, get.
6. -ed มจี ำนวน 6 ใบ คอื bed, red, sled, shed, fed, wed.
7. -ig มีจำนวน 6 ใบ คือ big, dig, pig, wig, jig, twig.
8. -in มีจำนวน 6 ใบ คือ bin, chin, pin, tin, twin, win.
9. -it มีจำนวน 6 ใบ คอื bit, hit, fit, sit, split, pit.
10. -og มจี ำนวน 6 ใบ คอื dog, fog, frog, jog, smog, log.
11. -op มีจำนวน 6 ใบ คือ cop, drop, hop, mop, stop, shop.
12. -ot มจี ำนวน 6 ใบ คอื hot, got, plot, dot, spot, not.
13. -un มีจำนวน 5 ใบ คือ fun, run, sun, gun, bun.
14. -ut มีจำนวน 6 ใบ คอื but, cut, nut, shut, hut, gut.
15. -ug มีจำนวน 6 ใบ คอื bug, hug, rug, mug, jug, tug.

4) นำโฟนิกสการด เสนอผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาอังกฤษ จำนวน 2 ทาน และ
ผูเชี่ยวชาญดานการวัดและประเมินผล 1 ทาน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงดาน
เนื้อหา หาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ซึ่งการใหความเห็นของผูเชี่ยวชาญได
กำหนดเกณฑ ดงั นี้
+1 เมื่อแนใจวา โฟนิกสการดนั้นมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและ
วตั ถปุ ระสงค
0 เมื่อไมแนใจวา โฟนิกสการดนั้นมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและ
วตั ถุประสงค
-1 เม่ือแนใจวา โฟนกิ สการด นนั้ ไมเหมาะสมกับเนื้อหาและวัตถุประสงค

5) นำผลการประเมินมาวิเคราะหหาคา เฉล่ยี พบวามีคา IOC เทา กบั 1 ซึ่งแปลผลไดวา
มีความสอดคลองกับวตั ถปุ ระสงค

22

6) ปรับปรุงแกไขนวัตกรรมตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ แลวคัดเลือกคำศัพท
ในโฟนิกสก ารด ท่ีมคี า IOC ตั้งแต 0.50 ข้นึ ไป ไดจำนวนคำศัพททีผ่ านเกณฑจำนวน
89 คำ วิจัยครั้งนี้ผูวิจัยคัดเลือกคำศัพท เพื่อสรางเปนสื่อโฟนิกสการดประเมิน
ความสามารถในการอานออกเสียงคำศัพท จำนวน 89 คำ รายละเอียดดังตาราง
ปรากฏในภาคผนวก แลว นำมาจัดทำเปนเสื่อโฟนิกสการด เพื่อนำไปใชในการเรียน
การสอน และนำไปใชในกิจกรรมบอรดเกมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3
จำนวน 6 คน

7) จัดทำนวัตกรรมที่เสร็จสมบูรณ

1.1.2 วธิ กี ารใชโฟนิกสการด
1) ครูสอนการอานออกเสียง และสะกดคำตามหมวด Families Word โดยแตละ

หมวดมีคำศัพทใหนักเรียนฝกอานออกเสียง และสะกดคำจำนวน 6 คำ ทั้งหมดมี
15 หมวด 89 คำ
2) ครแู จกโฟนกิ สก ารด ใหน ักเรียน 6 คน แตล ะคนจะไดรับหมวดละ 1 ใบ รวมทั้งหมด
15 ใบ
3) เลือกนักเรียน 1 คน ใหเปนผูเริ่มฝกการอานออกเสียง และสะกดคำศัพท
ภาษาอังกฤษ โดยใหนักเรยี นวนไปดา นซาย หรอื ขวา ดานใดดานหนง่ึ
4) นกั เรยี นคนแรกจะเริ่มเปดโฟนิกสการดของตนเอง 1 ใบ โดยในการต้งั โฟนิกสการด
ตรงกลาง และจะตอ งอานออกเสียงคำศัพทใหถูกตอง
5) นักเรียนคนถัดไปลงโฟนิกสการดตามหมวดที่เหมือนกัน และอานออกเสียงคำศัพท
ใหถกู ตอ ง
6) หากมีนักเรียนหนึ่งคนลงหมวด Word families หรืออานออกเสียงคำศัพทผิด
จะตองเกบ็ โฟนกิ สการดไวกบั ตวั เอง
7) ทำเชน นไี้ ปเรือ่ ย ๆ จนครบหมวด Word Families
8) นักเรียนคนที่มีโฟนิกสการดที่ตัวเองมากที่สุด จะโดนทำโทษโดยใหอานออกเสียง
และสะกดคำศัพทใ นหมวดท่ผี ิดทง้ั หมด

1.2 บอรด เกม
1.2.1 ข้นั ตอนการสรา งบอรด เกม ผูว ิจัยไดดำเนินตามข้ันตอนดังน้ี
1) ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนำมาสรางเปนบอรด
เกม

23

2) ศึกษาหลักสูตรกลุมสาระภาษาตางประเทศ ป 2551 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
เอกสารหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ
คูมือการสอนหนังสือเรียน แบบฝกหัด หลักสูตรสถานศึกษา ผลการเรียนรูท่ี
คาดหวังกลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ของโรงเรียน
เทศบาล 2 (ออนอทุ ศิ )

3) การสรา งบอรด เกม
ลักษณะของบอรดเกม คือ เปนเกมในรูปของเกมกระดานที่สามารถอานออก

เสียง และสะกดคำศัพทตามหมวด Word Families อุปกรณจะประกอบไปดว ยกระดาน
ของบอรดเกม โฟนิกสการด ลูกเตา ตัวเดิน และใบเขียนคะแนน ซึ่งกระดานของบอรด
เกมมที ง้ั หมด 20 ชอ ง ซงึ่ ประกอบไปดวย Word families 15 ชอ ง คือ -an, -at, -ad, -
en, -et, -ed, -ig, -in, -it, -og, -op, -ot, -un, -ut, -ug. และชองพิเศษ 5 ชอ ง
4) นำบอรดเกม เสนอผูเชี่ยวชาญดานการสอนภาษาอังกฤษ จำนวน 2 ทาน และ

ผูเชี่ยวชาญดานการวัดและประเมินผล 1 ทาน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงดาน
เนื้อหา หาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ซึ่งการใหความเห็นของผูเชี่ยวชาญได
กำหนดเกณฑ ดงั น้ี

+1 เมอื่ แนใ จวา บอรด เกมนั้นมีความเหมาะสมกบั เนื้อหาและวัตถปุ ระสงค
0 เม่ือไมแนใจวา บอรด เกมนัน้ มคี วามเหมาะสมกับเนือ้ หาและวัตถปุ ระสงค
-1 เมือ่ แนใ จวา บอรดเกมนน้ั ไมเหมาะสมกับเนอ้ื หาและวัตถุประสงค
5) นำผลการประเมินมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย พบวา มคี า IOC เทากบั 1 ซง่ึ แปลผลไดว า
มคี วามสอดคลอ งกบั วัตถปุ ระสงค
6) ปรับปรุงแกไขนวัตกรรมตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ แลวคัดเลือกคำศัพทใน
บอรดเกมที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ขึ้นไป ไดจำนวนคำศัพทที่ผานเกณฑจำนวน 89
คำ วิจัยครั้งนี้ผูวิจัยคัดเลือกคำศัพท เพื่อสรางเปนบอรดเกมประเมินความสามารถ
ในการอานออกเสียงคำศัพท จำนวน 89 คำ รายละเอียดดังตารางปรากฏใน
ภาคผนวก แลวนำมาจัดทำเปนบอรดเกม เพื่อนำไปใชในการเรียนการสอน และ
นำไปใชใ นกิจกรรมบอรด เกมกับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 5/3 จำนวน 6 คน
7) จัดทำนวตั กรรมทีเ่ สรจ็ สมบรู ณ

1.2.2 วิธกี ารใชบ อรด เกม
1) จัดวางอุปกรณใหพรอ ม โดยวางตวั เดนิ ณ จุดเรม่ิ เกม วางโฟนิกสการด ในแตละชอง

ใหถ กู ตอง และแจกใบเขยี นคะแนน

24

2) นักเรียนเลือกตัวเดิน จากนั้นทอยลูกเตาเพื่อเลือกผูเลนคนแรก นักเรียนที่ทอย
ลูกเตาไดจำนวนมากที่สดุ จะเปนผเู ลน คนแรก

3) ผูเลนคนแรกทอยลูกเตา พรอมเดินตามบอรดเกม หากไดไปในชองหมวด Word
families ใด ใหหยิบโฟนิกสการดของหมวดนั้น อานออกเสียง และสะกดคำให
ถูกตอง หากถูกตองใหเขียนคะแนนในชองคำศัพทนั้น พรอมเก็บโฟนิกสการดไวท่ี
ตัวเอง

4) หากผูเลน เดนิ ไปในชอ งพเิ ศษจะไดรบั คะแนนพิเศษ หรอื การดพเิ ศษ
5) เลนแบบน้ไี ปเรอ่ื ย ๆ จนกวาโฟนิกสก ารด จะหมดจากกองกลาง
6) จากนัน้ ใหนกั เรยี นรวมคะแนน

2. เครอื่ งมอื ที่ใชเก็บรวบรวมขอ มูล คือ แบบทดสอบ
2.1 ขนั้ ตอนการสรา งสรา งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นกลมุ สาระเรียนรู

ภาษาตางประเทศ เรื่อง My English (Alphabets) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยได
ดำเนินการตามข้ันตอนดงั นี้

1) ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) กลุมสาระการ
เรียนรภู าษาตา งประเทศ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 5

2) ศึกษาตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรูแกนกลางเร่อื ง My English (Alphabets)
ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 5 ของโรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอทุ ศิ )

3) การศึกษาสาระการเรียนรูรายป กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ
ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 5 ของโรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ)

4) สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศ เรอ่ื ง My English (Alphabets) ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 ซึง่ ใชส ำหรับ
ทดสอบนักเรียนกอนและหลังการใชโฟนิกสการด และบอรดเกม เปนแบบทดสอบการอานออกเสียง
จำนวน 20 ขอ จำนวน 1 ฉบบั คอื

1.can 6.pen 11.hit 16.stop

2.pan 7.ten 12.twin 17.dog
3.dad 8.red 13.chin 18.spot

4.sad 9.sled 14.pig 19.rug
5.fat 10.sit 15.jig 20.shut

25

5) นำแบบทดสอบใหผูเชี่ยวชาญดานการวัดผลการศึกษาภาษาอังกฤษ
จำนวน 3 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยหาคาดัชนีความสอดคลอง IOC ระหวาง
เนื้อหากับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และกำหนดคาดัชนีความสอดคลองไมต่ำกวา 0.5 ผลจากการ
ประเมนิ ความสอดคลองของผูเช่ยี วชาญทงั้ 3 ทาน ผลปรากฏวา จำนวนขอสอบท่สี รางขึ้นทงั้ หมด มีคา
IOC อยูร ะหวาง 0.80 -1.00 เมื่อเทียบระดับเกณฑคุณภาพอยูในระดับใชไดทุกขอถือวาเปนขอสอบที่
มีความเหมาะสม

6) จัดทำแบบฉบับท่ีสมบูรณ พรอมคูมอื การใช

การดำเนนิ การแกป ญ หา

1. ใหนักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-Test) 20 ขอ โดยจัดเก็บรวบรวมขอมูล ที่ได
จากแบบทดสอบกอนเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) ปการศึกษา 2563 ใชคะแนน
ประเมินผลจากแบบทดสอบกอนเรียนเรื่องการอานออกเสียงคำศัพท และการสะกดคำภาษาอังกฤษ
จำนวน 20 ขอ ขอ ละ 1 คะแนน รวม 20 คะแนน โดยคะแนนผา นเกณฑคือรอ ยละ 70

2. นำนกั เรยี นท่ีไดค ะแนนไมผ านเกณฑคือรอ ยละ 70 มาใชโ ฟนิกสก ารด และบอรดเกม
3. สอนนักเรียนโดยใชโ ฟนกิ สการด และบอรดเกมโดยมขี ้นั ตอนในการสอนดงั น้ี

3.1 นำเสนอพยัญชนะ และสระภาษาอังกฤษทั้ง 26 ตัว โดยคณะผูวิจัยจะอานออก
เสียง และใหน กั เรยี นออกเสยี งตามจนครบทกุ ตัว

3.2 สุมถามนักเรียนโดยการเขียนพยัญชนะ หรือสระลงบนกระดาน จากนั้นให
นักเรยี นทคี่ ณะผูวจิ ัยสุม ออกเสยี งพยัญชนะ หรือสระนั้น ๆ

3.3 เริ่มใหนักเรียนฝกอานออกเสียง ผสมคำ และสะกดคำ โดยใชสื่อโฟนิกสการด
จำนวน 15 หมวด 89 คำศัพท

3.4 ฝกใหนักเรยี นอานออกเสียง และสะกดคำศัพทดว ยตนเองผานการใชสื่อโฟนิกส
การด ซ่งึ เปนคำศพั ททม่ี พี ยญั ชนะ และสระดังท่คี ณะผูว จิ ยั ไดสอนไป

3.5 เมือ่ นักเรยี นสามารถอานออกเสียง และสะกดคำไดแลว ใหนกั เรียนเลนบอรดเกม
เพือ่ ทบทวนการอา นออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษซ่ึงมี 15 หมวด 89 คำศัพท

4. ใหนักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ซึ่งเปนแบบเดียวกับแบบทดสอบกอน
เรยี น 20 ขอ โดยจดั เกบ็ รวบรวมขอมูล ที่ไดจ ากจากแบบทดสอบกอนเรียนวชิ าภาษาอังกฤษ เร่ืองการ
อานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2
(ออ นอทุ ิศ) ปก ารศึกษา 2563 ใชคะแนนประเมนิ ผลจากแบบทดสอบกอนเรยี นเรือ่ งการอา นออกเสียง

26

และการสะกดคำภาษาอังกฤษจำนวน 20 ขอ ขอละ 1 คะแนน รวม 20 คะแนน โดยคะแนนผาน
เกณฑค ือรอยละ 70 ขนึ้ ไป

การวเิ คราะหข อมลู และสถิติท่ใี ช

1. การวเิ คราะหข อมลู
1.1 เปรียบเทียบคะแนนหลังการใชโฟนิกสการด และบอรดเกมกับเกณฑที่ตั้งไวคือ

รอยละ 70 ข้นึ ไป
1.2 เปรยี บเทยี บคะแนนกอ นและหลังการใชใชโ ฟนกิ สก ารด และบอรด เกมกบั เกณฑ

โดยพิจารณาจากคาความแตกตา ง
1.3 เปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษของ

นักเรียนกอนและหลังใชโฟนกิ สการด และบอรดเกม

2. สถิติทใ่ี ชในการวจิ ัย

2.1 สถติ ใิ นการหาคุณภาพเครอ่ื งมือ

2.1.1 คาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของโฟนิกสการด และบอรด เกมกบั

เกณฑโ ดยใชด ชั นคี วามสอดคลองของผูเชยี่ วชาญ (Item Objective Congruence

Index: IOC) ΣR
Ν
สูตร IOC =

เม่อื IOC แทน ดชั นีความสอดคลองระหวา งขอ คำถาม

กบั คำตอบท่ีมีคาอยูร ะหวา ง -1 ถึง +1

ΣR แทน ผลรวมคะแนนความคดิ เหน็ ของ

ผูเชี่ยวชาญ

N แทน จำนวนผเู ชีย่ วชาญ

2.2 สถิตใิ นการวิเคราะหขอมูล

2.2.1 คา รอ ยละ (Percentage)

สูตร p= f x 100
N

เมือ่ p แทน คารอยละ

f แทน ความถี่ทต่ี องการแปลงใหเปนคารอยละ

N แทน จำนวนความถี่ท้ังหมด

27

2.2.2 คาเฉลยี่ ของประชากร (μ)

สูตร = Σ
Ν

เมือ่ μ แทน คาเฉลย่ี ของประชากร

ΣX แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
N แทน จำนวนนักเรียนท้งั หมด

2.2.3 สว นเบ่ียงเบนมาตรฐานของประชากร ( )

สูตร σ = �Σ( − )2

เมอ่ื σ แทน สว นเบย่ี งเบนมาตรฐานของประชากร
X แทน คะแนนสอบ

แทน คะแนนเฉลีย่
N แทน จำนวนนักเรยี นทง้ั หมด

28

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข อมูล

ผลการวเิ คราะหข อมูล

การวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกส
การด และบอรดเกม มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาทักษะฒนาทักษะการอานออกเสียง และสะกดคำ
ภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกสการด และบอรดเกม และเพื่อเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และ
การสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและหลังการใชโฟนิกสการด และบอรดเกม ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ประชากรคือ
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน
6 คน โดยผวู ิจัยไดเสนอผลการวิเคราะหขอ มลู เพื่อตอบวตั ถุประสงคของการวจิ ยั รายละเอียดดงั น้ี

สัญลักษณทีใ่ ชใ นการวิเคราะหขอ มลู
ในการวิเคราะหข อ มูล ผูว ิจยั ใชส ัญลกั ษณใ นการวเิ คราะหข อ มลู ดังน้ี
μ แทน คาเฉลยี่ ของคะแนน (Mean)
σ แทน สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ตารางที่ 1 ผลการพัฒนาทกั ษะการอา นออกเสยี ง และการสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโ ฟนิกส

การด และบอรดเกม

คนท่ี คะแนนกอ นใชชุดฝก คะแนนหลงั ใชชดุ ฝก รอ ยละของการพัฒนา

(20 คะแนน) (20 คะแนน)

14 17 65

28 18 50

33 15 60

45 16 55

54 16 60

67 17 50

μ 5.2 16.5 56.7

29

จากตารางที่ 1 คะแนนสอบของนักเรียนกอนใช และหลังใชโฟนิกสการด และบอรดเกม มี
รอยละของการพัฒนาเทากับ 56.7 โดยนักเรียนคนที่ 1 มีพัฒนาการมากที่สุดคิดเปนรอยละของ

พัฒนาการเทากับ 65 รองลงมาคือคนที่ 3 เทากับ 60 คนที่ 5 เทากับ 60 คนที่ 4 เทากับ 55 คนที่ 2

เทา กับ 50 และคนท่ี 6 เทา กบั 50 ตามลำดบั

ตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบทกั ษะการอา นออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษกอ นและ

หลงั การใชโ ฟนิกสการด และบอรด เกม

คนที่ คะแนนกอนใชชดุ ฝก คะแนนหลังใชชดุ ฝก ผลตา งคะแนน

(20 คะแนน) (20 คะแนน) (หลังใชช ุดฝก – กอ นใชช ุดฝก)

14 17 +13

28 18 +10

33 15 +12

45 16 +11

54 16 +12

67 17 +10

μ 5.2 16.5 11.3

1.77 0.95 1.1

รอ ยละ 26 82.5 56.5

จากตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ
กอนและหลังการใชโฟนิกสการด และบอรดเกม มีความตางของคะแนนกอนและหลังใชคิดเปนรอย
ละ 56.5 คะแนนเฉลี่ย 11.3 โดยนักเรียนที่มีความตางของคะแนนกอนและหลังใชโฟนิกสการด และ
บอรดเกมมากที่สุด คือ นักเรียนคนที่ 1 เทากับ 13 คะแนน และนักเรียนคนที่ 3 5 4 2 และ 6
ตามลำดบั มีความตา งของคะแนนเทากับ 12 12 11 10 และ 10 ตามลำดบั

30

บทท่ี 5
สรุป อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ

การวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกส
การด และบอรดเกม มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาทักษะฒนาทักษะการอานออกเสียง และสะกดคำ
ภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกสการด และบอรดเกม และเพื่อเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และ
การสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและหลังการใชโฟนิกสการด และบอรดเกมของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปท ี่ 5/3 โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออ นอทุ ิศ) อำเภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา

ประชากรคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) อำเภอเมือง
จงั หวัดสงขลา ปก ารศกึ ษา 2563 จำนวน 6 คน

เคร่ืองมือทใี่ ชใ นการวิจยั คร้ังนี้ ประกอบดวย 1) นวตั กรรมทเี่ ลอื กใชจ ำนวน 2 ชดุ คอื โฟนิดส
การด และบอรดเกม 2) เครื่องมือเก็บรวบรวมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระเรียนรู
ภาษาตางประเทศ เรือ่ ง My English (Alphabets) ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที่ 5 ซึ่งใชสำหรับ
ทดสอบนักเรยี นกอ นและหลงั การใชโฟนิกสก ารด และบอรด เกม

การวิเคราะหขอมูล ทำไดโดยการวิเคราะหหาคารอยละของผลการพัฒนา และผลการ
เปรียบเทียบความแตกตางของทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและหลัง
การใชโฟนิกสการด และบอรดเกม

สรุปผลการวจิ ัย
การพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชใชโฟนิกสการด

และบอรดเกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) สรุป
ผลการวจิ ัยดังน้ี

1. ผลการพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชใชโฟนิกส
การด และบอรด เกม มีรอยละของการพฒั นาเทา กับ 56.7 โดยนกั เรยี นคนท่ี 1 มพี ฒั นาการมากท่ีสุด
คิดเปนรอยละของพัฒนาการเทากับ 65 รองลงมาคือคนที่ 3 เทากับ 60 คนที่ 5 เทากับ 60 คนที่ 4
เทา กับ 55 คนท่ี 2 เทากับ 50 และคนที่ 6 เทา กบั 50 ตามลำดับ

2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษกอนและหลัง
การใชโฟนิกสก ารด และบอรด เกมมีความตา งของคะแนนกอ นและหลงั ใชค ิดเปนรอยละ 56.5 คะแนน
เฉลี่ย 11.3 โดยนักเรียนที่มีความตางของคะแนนกอนและหลังใชสื่อมากที่สุด คือ นักเรียนคนที่ 1
เทากับ 13 คะแนน และนักเรียนคนที่ 3 5 4 2 และ 6 ตามลำดับ มีความตางของคะแนนเทากับ 12
12 11 10 และ 10 ตามลำดบั มคี วามแตกตางกนั อยา งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 โดยมคี าเฉล่ีย

31

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใชโฟนิกสการด และบอรดเกม สูงกวาคาเฉลี่ยกอนใชโฟนิกสการด และ
บอรด เกม อยา งมีนัยสำคัญท่ี .05

อภปิ รายผลการวิจัย
การพัฒนาทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษโดยใชโฟนิกสการด และ

บอรดเกม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ) ผลการวิเคราะห
ขอมลู อภปิ รายผลไดดงั นี้

1. ทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษของนักเรียนทั้ง 6 คนโดยใช
โฟนิกสการด และบอรดเกม มีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวา กอนเรยี น ซึ่งสอดคลองกับผลการวจิ ยั
ของ นนทพร พิลาวุฒิ (2559) ไดศึกษาเรื่อง การใชสือ่ การสอนเพือ่ พัฒนาและสงเสรมิ ทกั ษะการอา น
คำศัพทภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5/3 ผลการวิจัยพบวา นักเรียนไดคะแนน
ทดสอบหลังเรียนสูงกวา กอนเรยี นโดยใชส อื่ การสอน

2. ทักษะการอานออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษของนักเรียนทั้ง 6 คนโดยใช
โฟนิกสการด และบอรดเกม อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ
สุปรีดา สิงหเรือง (2550:บทคัดยอ) ที่ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาทักษะการอาน การเขียนพยัญชนะ
และคำศัพทวิชาภาษาอังกฤษ ดวยชุดฝกการอาน การเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4/2 โรงเรียน
เทศบาล 1 (บานโพธิ์กลาง) เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอาน การเขียนพยัญชนะ และคำศัพทวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปท่ี 4/2 โรงเรียนเทศบาล 1 (บา นโพธิ์กลาง) ผลการวจิ ัยพบวา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
หลงั เรยี นสูงกวา กอ นเรยี น ซึ่งมีความสอดคลองกับผลงานวิจัยของ ทัศนีย เทศตอ ม (2552:บทคัดยอ)
ที่ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาทักษะการอานและการเขียนสะกดคำพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 5 โรงเรียนชุมชนบา นหัวขวั โดยใชแบบฝก
ทกั ษะ ผลการศกึ ษาพบวา แบบฝก ทักษะการอา นและการเขยี นสะกดคำพ้ืนฐาน กลมุ สาระการเรยี นรู
ภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 5 มปี ระสิทธิภาพเทากับ 88.60/86.83 และ
นักเรียนที่เรียนโดยใชแบบฝกทักษะการอานและการเขียนสะกดคำพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตา งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวา
กอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติทางสถิติที่ระดับ .01 และยังมีความสอดคลองกับผลงานวิจัยของ
กฤติกา ปานสีทอง (2539:บทคัดยอ) ที่ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดฝกทักษะการออกเสียงสระและ
พยญั ชนะในคำภาษาอังกฤษ สำหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ผลการศึกษา พบวา ชุดฝกแตละ
ชุดชวยใหนักเรียนแกไขปญหาการออกเสียงได คะแนนโดยเฉลี่ยของนักเรียนจากแบบวัดผลสัมฤทธิ์
การออกเสียงของชุดฝกแตละชุดหลังการใชชุดฝก สงู กวากอนใชชดุ ฝก อยา งมนี ัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ
.05

32

ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากโฟนิกสการด และบอรดเกมเปนสื่อการสอนที่ประสิทธิภาพ
สามารถพัฒนาทักษะการอานของนักเรียนเพิ่มขึน้ อยางเห็นไดชัดจากคะแนนหลังการใชโฟนิกสการด
และบอรดเกมของนักเรียนทั้ง 6 คน สูงกวาคะแนนกอนการใชโฟนิกสการด และบอรดเกม ในสวน
ของนักเรียนที่มีพื้นฐานความรูเดิมและความตั้งใจที่จะเรียนรู ทบทวนความรูอยางสม่ำเสมอ และ
ความสนใจในการเรียนรูที่ใชโฟนิกสการด และบอรดเกมเปนสื่อที่ชวยใหการเรียนการสอนที่ความ
นาสนใจมากขึ้น และครูที่ใชโฟนิกสการด และบอรดเกมและวิธีการสอนที่ทำใหนักเรียนเรียนรูอยาง
สนุกสนานและสามารถเขา ใจเนือ้ หาไดด ยี ่งิ ขนึ้

ขอ เสนอแนะ

ขอเสนอแนะจากการวิจัยในคร้ังนี้

1. การใชโฟนิกสการด และบอรดเกมในครั้งนี้เปนการใชรูปธรรมในการฝกชวยเราความ
สนใจใหนักเรียนมีทักษะในการออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น ครูจึงควรนำโฟนิกส
การด และบอรดเกมไปใชในการพัฒนาทักษะของผูเรียนในดานอื่น ๆ หรือประยุกตใชกับกลุมสาระ
การเรียนรอู นื่ ๆ ตอไป

2.การนำโฟนิกสการด และบอรดเกมไปใชนักเรียนตองมีพื้นฐานทางเกี่ยวกับพยัญชนะ
ภาษาอังกฤษมากอน ดังนั้นครูผูสอนควรศึกษาความรูพื้นฐาน และความสามารถของผูเรียนเพ่ือที่จะ
ไดท ราบ และสามารถปรบั เปลีย่ นสอ่ื การเรยี นรูใ หเหมาะสมกับผูเ รยี นมากยงิ่ ขึ้น

3. การสอนโดยใชโฟนกิ สการด และบอรด เกม สามารถชว ยสงเสรมิ ใหผ ลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนรูของผูเรียนสูงขึ้น การพัฒนาโฟนิกสการด และบอรดเกมที่สอดคลองและมีความสำคัญกับ
จุดประสงค เนื้อหาทำใหเกิดการเรียนรูในเนื้อหาวิชาไดอยางตอเนื่อง ตลอดจนครูควรใชเทคนิคการ
สอน และใชสื่อ การสอนหลายๆ ประเภทเพ่ือกระตุนผูเรียน อนั จะสงผลตอการพัฒนาการเรียนรูของ
ผูเรยี น และยังเปนการสรา งแรงจูงใจใหม เี จตคตทิ ่ดี ตี อ วิชาภาษาองั กฤษ และกอนใชโฟนกิ สการด และ
บอรดเกมครูควรเตรียมความพรอมเปนอยางดี ตรวจสอบความสมบูรณ และศึกษาขั้นตอนวิธีใช
เรียงลำดับกอน – หลังใหแมนยำ และควรบอกวิธีการใชโฟนิกสการด และบอรดเกม กับนักเรียนให
ชดั เจน

33

ขอ เสนอแนะเพอื่ การวจิ ัยคร้ังตอไป
1. หลังการใชโฟนิกสการด และบอรดเกมควรมีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียน

ควรมีการนำโฟนิกสการด และบอรดเกมไปใชกบั กลมุ ตัวอยา งอน่ื ในระดบั เดยี วกัน

2. พัฒนาระดับความยากงายของโฟนิกสการด และบอรดเกมใหเหมาะกับนักเรียนใน
ระดบั ทส่ี งู ขน้ึ

3. ควรศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสอนโดยใชรูปแบบอื่นรวมกับการสอนโดยใชโฟนิกส
การด และบอรด เกม โดยกำหนดตวั แปรอ่ืน เชน การพฒั นาทักษะการเขียน ทักษะการพูด หรือนำไป
ปรบั ใชใ นระดับชน้ั อืน่ ๆ

34

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). หลักสตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรง
พิมพ ชมุ นุม สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย.

กฤติกา ปานสที อง. (2539). การพฒั นาชดุ ฝก ทกั ษะการออกเสยี งสระและพยัญชนะในคำ
ภาษาองั กฤษ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท ่ี 6. (วทิ ยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต).
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, คณะครุศาสตร, ภาควิชาประถมศกึ ษา.

เจะสูฮานา หวงั พิทยาม, และนุรซลั วา อลั อดิ รสี . (2557). การพัฒนาแบบฝกทักษะการอานออก
เสียงภาษาองั กฤษ Phonics Read Fast สำหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียน
บานบูดี สำนักเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาปต ตานี เขต 1. (รายงานการวจิ ยั ).
มหาวทิ ยาลัยฟาฏอนี.

ธารินี อุณาพรหม. (2553). การเปรยี บเทยี บทกั ษะการอา นออกเสยี งและเขียนสะกดคำ
ภาษาอังกฤษของนกั เรียนช้นั ปท่ี 4 โดยฝชห ลักการสอนแบบโฟนคิ สผ สมผสานการสอน
แบบองคร วมกับการสอนตามคูมือคร.ู (วิทยานิพนธป รญิ ญามหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลัยราช
ภฏั ขอนแกน , คณะศึกษาศาสตร, สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน.

ทัศนีย เทศตอม. (2552). การพฒั นาทกั ษะการอานและการเขียนสะกดคำพ้นื ฐาน กลุมสาระการ
เรียนรภู าษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5 โรงเรียน
ชุมชนบานหัวขัว โดยใชแบบฝก ทกั ษะ. (รายงานการวิจัย). โรงเรยี นชุมชนบานหัวขัว.

นนทพร พลิ าวฒุ .ิ (2559). การใชส อ่ื การสอนเพื่อพัฒนาและสง เสรมิ ทักษะการอานคำศพั ท
ภาษาองั กฤษ. (รายงานการวิจยั ). สืบคน จาก : https://www.slideshare.net/
NontapornPilawut/ss66602651?fbclid=IwAR1DLBrzAW22ECCo17UmKqL_9TUdF
C4-ViIOtx_gxL2tieUUKaEipza5hoA.

นำ้ ผึง้ ยาฉ่ำ. (2550). ผลสัมฤทธแิ์ ละความคงทนในการเรยี นรสู ะกดคำศัพทภ าษาอังกฤษโดยใช
เกมในการจดั การเรียนรูของนักเรียนชว งชนั้ ท่ี 1. (รายงานการวจิ ัย). มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
พระนคร.

35

บรรณานกุ รม (ตอ )

ภทั ราวดี วงศส เุ มธ. (2559). การพัฒนาส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบเกมเสริมทกั ษะ
ภาษาอังกฤษสาํ หรับนักเรียน ระดับประถมศกึ ษา: กรณศี ึกษาตน แบบเกมระดับ
ประถมศกึ ษาปท่ี 1 – 3. วารสารวจิ ยั สหวทิ ยาการไทย, 11 (3), 16-23. เขา ถึงไดจ าก :
https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/jtir/article/download/54188/52413

สาคร เจริญแสน. (2554). การพัฒนาทกั ษะการออกเสยี งพยญั ชนะภาษาอังกฤษ โดยใชแบบฝก
ออกเสียงของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 โรงเรียนพระโขนงพทิ ยาลัย จังหวดั
กรงุ เทพมหานคร. (วิทยานพิ นธป รญิ ญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย, คณะ
มนุษยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร, สาขาภาษาอังกฤษ.

สฤณี อาชวานันทกุล. (2559). ความเจง ของประเภทบอรด เกม. [ออนไลน] . สบื คน จาก :
https://minimore.com/b/boardgame/3. (วนั ที่คน ขอมลู : 25/12/2563).

Play on BoardGame. (2559). What is Board Game? บอรดเกมคืออะไร. [ออนไลน] .
สบื คน จาก : https://playonboardgame.wordpress.com/2016/04/19/what-is-
boardgame. (วนั ท่คี น ขอมูล : 25/12/2563).

WikiHow. (2562). วธิ กี ารทำเกมกระดานเอง. [ออนไลน]. สบื คนจาก :
https://th.wikihow.com/%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%81%
E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B2%
E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87. (วันท่คี น ขอ มูล :
25/12/2563).

36

ภาคผนวก

37

ภาคผนวก ก
รายนามผูเชย่ี วชาญ

38

รายนามผูเชีย่ วชาญ

1. นางสาวเฉลิมขวัญ ประยูรเต็ม ตำแหนง ครูอนั ดับ คศ. ๑
หวั หนาหมวดกลุมสาระภาษาตา งประเทศ
โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออนอทุ ิศ)

2. นางสาวจรรยวรรณ พุทธมณี ตำแหนง ครูอนั ดบั คศ. ๓
กลมุ สาระภาษาตางประเทศ
โรงเรียนเทศบาล 2 (ออนอุทิศ)

3. นายธวัชชัย ศรแี สงแกว ตำแหนง ครอู ันดับ คศ. ๓
กลมุ สาระคณิตศาสตร
โรงเรยี นเทศบาล 2 (ออนอทุ ิศ)

39

ภาคผนวก ข
ผลการหาคาดัชนีความสอดคลองของผเู ชยี่ วชาญ (IOC)

40

ผลการหาคา ดัชนคี วามสอดคลองของผเู ช่ียวชาญ (IOC)

สถิติที่ใชหาคาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ภาษาตางประเทศ เรื่อง การเทียบอานออกเสียง และสะกดคำภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5/2 โดยใชสูตรดัชนีความสอดคลอง (IOC) จากคะแนนของผูเชี่ยวชาญ โดยใชสูตร
คำนวณ ดงั น้ี (สมนกึ ภัททิยธานี. 2546 : 221)

∑R
IOC = N
เมือ่

IOC แทน ดชั นคี วามสอดคลองระหวางวตั ถุประสงคกบั เนอ้ื หาหรอื ระหวา งขอสอบ
กบั จดุ ประสงค

∑ R แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผเู ชี่ยวชาญท้งั หมด
N แทน จำนวนผเู ช่ยี วชาญท้งั หมด

ตารางท่ี 1 แสดงผลการประเมนิ ความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคเ ชิงพฤติกรรมของ
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรอ่ื งการอา นออกเสียง และการสะกดคำภาษาอังกฤษ จาก
ผูเชยี่ วชาญ 3 ทาน และคา ดัชนีความสอดคลอง

คะแนนจาก

จดุ ประสงคเ ชงิ ขอสอบ ผเู ชย่ี วชาญ รวม IOC แปลผล คัดเลอื ก
พฤตกิ รรม คนที่ คนท่ี คนท่ี

123

1. อา นออกเสยี งคำทีม่ ี 1.can

สระ –a ได 2.pan

3.dad

4.sad

5.fat

2. อานออกเสียงคำทมี่ ี 6.pen

สระ –e ได 7.ten

8.red

9.sled

41

คะแนนจาก

จุดประสงคเ ชิง ขอสอบ ผูเชีย่ วชาญ รวม IOC แปลผล คดั เลอื ก
พฤตกิ รรม คนที่ คนท่ี คนท่ี

123

3. อานออกเสียงคำทม่ี ี 10. sit

สระ –i ได 11.hit

12.twin

13.chin

14.pig

15.jig

4. อานออกเสียงคำที่มี 16.stop

สระ –o ได 17.dog

18.spot

5. อา นออกเสยี งคำที่มี 19.rug

สระ –u ได 20.shut

42

คาดัชนีความสอดคลองระหวา งขอสอบกบั จุดประสงคเชิงพฤตกิ รรม
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศ

รหัสวชิ า อ 15101 รายวิชาภาษาตางประเทศ

คำชแ้ี จง ใหท า นพจิ ารณาวา ขอ สอบท่ีสรา งข้นึ สอดคลอ งกับตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรทู ่กี ำหนดหรือไม
โดยการพิจารณาใหน ้ำหนักดงั น้ี

+1 คอื แนใ จ วา ขอ สอบน้ันสอดคลอ งกบั จุดประสงคเชงิ พฤติกรรมท่ีกำหนด
0 คือ ไมแนใจ วา ขอ สอบนั้นสอดคลองกับจดุ ประสงคเชิงพฤติกรรมท่ีกำหนดหรอื ไม
-1 คอื แนใจ วาขอสอบน้ันไมส อดคลอ งกบั จดุ ประสงคเชิงพฤติกรรมที่กำหนด

ตัวชี้วดั ต 1.1 ป.5/2 อานออกเสยี งประโยค ขอ ความ และบทกลอนสัน้ ๆ ถูกตองตามหลกั การอาน

คะแนนจาก

จดุ ประสงคเชิง ขอสอบ ผเู ชีย่ วชาญ รวม IOC แปลผล คดั เลือก
พฤตกิ รรม คนท่ี คนที่ คนท่ี

123

1. อา นออกเสยี งคำที่มี 1.can

สระ –a ได 2.pan

3.dad

4.sad

5.fat

2. อานออกเสียงคำทมี่ ี 6.pen

สระ –e ได 7.ten

8.red

9.sled

3. อา นออกเสยี งคำทม่ี ี 10. sit

สระ –i ได 11.hit

12.twin

13.chin

14.pig

15.jig