การจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน คือ

Authorพัชรมัย นิ่มละออ, ผู้แต่ง
Titleผลการใช้แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานที่มีต่อความเข้าใจมโนทัศน์ชีววิทยาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย / พัชรมัย นิ่มละออ = EFFECTS OF USING CONTEXT-BASED LEARNING APPROACH ON CONCEPTUAL UNDERSTANDING IN BIOLOGY OF UPPER SECONDARY SCHOOL STUDENTS
Imprint 2559
Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55712
Descript-

SUMMARY


การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีรูปแบบการวิจัยแบบศึกษาสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ความเข้าใจมโนทัศน์ชีววิทยาของนักเรียนภายหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน และ(2) เปรียบเทียบความเข้าใจมโนทัศน์ชีววิทยาของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่เรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานและกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบทั่วไป ประชากร คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 84 คน ประกอบด้วยนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน จำนวน 39 คน และกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการสอนแบบทั่วไป จำนวน 45 คน การวิจัยดำเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดความเข้าใจมโนทัศน์ชีววิทยา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละความเข้าใจมโนทัศน์ชีววิทยาหลังเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ 2. นักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนความเข้าใจมโนทัศน์ชีววิทยาไม่แตกต่างกัน
This research was posttest two-group quasi-experimental design, aimed to (1) analyze students’ conceptual understanding in biology after learning through context-based learning approach, and (2) compare students’ conceptual understanding in biology between group learning through context-based learning approach and group that learning through conventional method. The research population was upper secondary school students of large schools in Bangkok. The samples were 84 eleventh grade students. Thirty-nine students in one classroom were randomly assigned to the experimental group and given lessons based on context-based learning approach. Fourty-five students in another classroom were randomely chosen to the compared group and given lessons based on conventional teaching method. Research duration was in the second semester of the academic year 2016. The research instruments were conceptual understanding tests. The collected data was analyzed by means of arithmetic mean, mean of percentage, standard deviation, and t-test. The research findings were summarized as follows: 1) The experimental group’s percentage mean scores of students' conceptual understanding in biology was rated at pass level. 2) Students in both experimental and control group’s mean scores of students' conceptual understanding in biology showed no significant difference


  1. Thaksin University
  2. Faculty / Faculty Establishment Project
  3. Faculty Of Education
  4. Theses

Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.tsu.ac.th/xmlui/123456789/415

Title:  ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อการพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Other Titles:  Context-Based Learning on Rate of Chemical Reaction to the Development of Critical Thinking of Matthayomsuksa 5 Students
Authors: 
กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์
เสาวภาคย์ สังฆานาคินทร์
Keywords:  เคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Issue Date:  2018
Publisher:  มหาวิทยาลัยทักษิณ
Description:  ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม.(การสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์)) -- มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2561.
URI:  http://ir.tsu.ac.th/xmlui/123456789/415
Appears in Collections: Theses

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

Main Article Content

สิรินภา กิจเกื้อกูล

ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานที่พัฒนาทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และเพื่อศึกษาทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐาน เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  จำนวน 40 คน ของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในจังหวัดสุโขทัย ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน จำนวน 3 วงจร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย 4 ขั้น ได้แก่ 1) กำหนดสถานการณ์ 2) ลงมือปฏิบัติงาน 3) เรียนรู้แนวคิดสำคัญ และ 4) นำไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ มีประเด็นที่ควรเน้น ได้แก่ ครูควรใช้สถานการณ์ปัญหาที่นักเรียนคุ้นเคย และใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในกิจกรรมการเรียนรู้ก่อน  แล้วจึงให้นักเรียนได้ลงมือแก้ปัญหาโดยใช้การอภิปรายกลุ่ม รวมถึงการกระตุ้นให้นักเรียนทำกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ และทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ นักเรียนสามารถพัฒนาการเชื่อมโยงภายในคณิตศาสตร์โดยมีพัฒนาการของร้อยละในระดับ 3 จากวงจรปฏิบัติการที่ 1 ถึงวงจรปฏิบัติการที่ 3 ดีที่สุด รองลงมาคือการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น และการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับชีวิตประจำวัน ตามลำดับ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลานี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาก่อนเท่านั้น

References

Boonmaton, R. (2017). The development of grade 11 student’s mathematical literacy on probility using context-based learning. Academic Services Journal Prince of Songkla University, 29(2), 51-61. (in Thai)

Gudhom, P. (2019). The development of enrichment curriculum using metacognition and context base learning to enhance mathematical skills and processes of grade 11 students. Journal of Graduate School Pitchayatat, 14(1), 91-98. (in Thai)

Jukkaew, P. (2017). An action research on developing of grade XII students’ scientific enquiry process evaluating and designing competency in the topic of rate of reaction by using context-based learning approach. Journal of Education Prince of Songkla University, 28(2), 48-66. (in Thai)

Kijkuakul, S. (2014). Learning science directions for teachers in the 21st Century. Phetchabun: Juldiskarnpim. (in Thai)

Makanong, A. (2010). Mathematical skills and processes: Development for development. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)

Ministry of Education. (2017). Indicators and learning areas of mathematics (Revised edition 2017) according the basic education core curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008). Bangkok: Agricultural Cooperative Assembly of Thailand. (in Thai)

Pramchoo, J. (2010). The effect of using context-based learning activities on grade-11 student learning achievement in chemistry. Srinakharinwirot Research and Development (Journal of Humanities and Social Sciences), 2(1), 32-41. (in Thai)

Saiklai, S. (2019). A study of grade 11 students’ achievement on probability in mathematics using 4MAT teaching model. Sakon Nakhon Graduate Studies Journal, 16(72), 129-135. (in Thai)

Tangkawsakul, S. (2017). Development of mathematical activity package by using context based approach and mathematical modelling to enhance mathematical connection abilitesand attitude towards mathematics of ninth grade students. An Online Journal of Education, 12(3), 442-458. (in Thai)

Tibpaeng, R. (2019). The development of mathematical connection ability through context-based learning in ratio and percentage for tribesman students in grade 8. The 48th National Graduate Research Conference, June 13-14, 2019. Nakhon Pathom: Kasetsart Silpakorn University. (in Thai)

Wongkumpra, P., Vallakitkasemsakul, S., & Teenakul, S. (2012). The effects of using problem posing model supplemented with problem solving process and journal writing on mathematical problem solving and writing abilities of Mathayomsuksa 6 Students. The 13th National Graduate Research Conference, February 17, 2012. Khon Kaen: Khon Kaen University. (in Thai)