ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ระบบกระดูกและข้อต่อ โดยประกอบด้วยกระดูก 2ชิ้นต่อกัน มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตประจำวัน ช่วยให้ร่างกายคงรูปร่างอยู่ได้ ช่วยในการเคลื่อนไหว และกระดูกเป็นตัวประคับประคองร่างกายและช่วยให้ร่างกายคงรูปอยู่ได้

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

พ 1.1 ป.4/3 อธิบายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้

1 บายความสำคัญและหน้าที่การทำงานของกระดูกและข้อต่อ

2 เห็นความสำคัญของหน้าที่การทำงานของกระดูกและข้อต่อ

3.1 ��͵��Ẻ�ҹ�Ѻ ( hinge joint )

          �������͹��ǨШӡѴ ����§��ȷҧ���� ���� ��͵�ͺ���dz����͡ ������ ������� ������� (¡��鹹������������ )

ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่
������Ҿ :http://stream1.gifsoup.com/view2/4754471/hinge-joint-o.gif

3.2 ��͵��Ẻ����� �͹�� �͡ष ( ball and socket joint )

          ��͵��Ẻ����Դ�ҡ��ǡ�д١���˹�� ���ѡɳ��� �ç��� �������� ��ҫ�����ѡɳзç��� �ͧ��д١�ա���˹�� ���������ö����͹��� ����������·�ȷҧ ���� ��͵��������� ��͵�ͺ���dz��д١⤹�� �Ѻ��д١�ԧ��ҹ

ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่
������Ҿ : http://stream1.gifsoup.com/view3/4754465/ball-and-socket-joint-o.gif

3.3 ��͵��Ẻ�ҹ��� ( saddle joint )

          �繢�͵�ͷ�����ѡɳФ����Ẻ�ҹ�Ѻ ������ö����͹����� 2 �� ���� ��͵��⤹���� ���������

ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่
������Ҿ : http://stream1.gifsoup.com/view1/4754497/saddle-joint-o.gif

3.4 ��͵��Ẻ���� ( pivot joint )

          �繢�͵�ͷ�������д١���˹�� ����͹��� ��ͺ�᡹�ͧ��д١�ա���˹�� ���� ��͵�ͷ��鹤� �Ѻ�ҹ�ͧ����š�����

ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่
������Ҿ : http://stream1.gifsoup.com/view1/4754475/atlantoaxial-pivot-joint-o.gif

3.5 ��͵��Ẻ�Ŵԧ ( gliding joint )

          �繢�͵�ͷ�����ѡɳ�ẹ�Һ ���� ��͵�� �ͧ������ ������

ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่
������Ҿ : http://stream1.gifsoup.com/ view8/ 4754501/ gliding-joint-o.gif
   

ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่
             �ç��д١������ ��Сͺ仴��� ��д١��� ��ҧ� ���ҧ��� ����������͡ѹ���� �ç���ҧ�ͧ��͵�� ��� ��������� ��д١��͹ ��������е�ҧ� ��д١ ������� ����˭� �ջ���ҳ 206 ��� ��ФԴ�繻���ҳ 20 % �ͧ���˹ѡ��ҧ��� ���ҧ�á�� �ӹǹ �ͧ��д١ �Ҩᵡ��ҧ�ѹ�����кؤ�� ��á�á�Դ ���ա�д١ �ӹǹ����ҳ 300 ��� ��觵���ҡ�д١�ҧ��� ��� ա�����������ѹ �����ҧ�����ԭ�Ժ� �� ��ǹ���ູ�˹� �����ǹ�鹡� �ͧ��д١�ѹ��ѧ �͡�ҡ���㹷�á�á�Դ �ѧ���ç���ҧ�ͧ��д١��͹ �����ҡ ��������ա�����ҧ�ç���ҧ �ͧ��д١ �����ҧ �����ԭ�Ժ� ��Ш��ա�þѲ�� ��繡�д١������ ���������ش��ǧ������

          ��д١�еԴ��͡Ѻ ��д١�ա��� ��� ��Сͺ��Ҵ��¡ѹ ���ç��д١ ������� ��С�������� ����ǹ�˭� ¡���㹡�д١⤹��� (Hyoid bone) ����繡�д١������Դ��͡Ѻ��д١������� �µç ����ִ���㹺���dz��ǹ���ͧ����´������ ��� ��������������§

         ��д١��鹷���˭����ش������� ��� ��д١�鹢� (Femur) 㹢�з���д١�����硷���ش ��͡�д١�Ź (Stapes) ����繡�д١�ͧ�٪�鹡�ҧ ���˹��

������Ҿ : http://www.myfirstbrain.com/ thaidata/ image.asp?ID=428814  

ระบบกระดูกและข้อต่อ หน้าที่

สุขภาพกระดูกและข้อ
                 กระดูกและข้อจัดเป็นอวัยวะที่สำคัญต่อร่างกายโดยมีหน้าที่หลักคือ การเป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ ป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายใน ช่วยในการเคลื่อนไหวและหายใจ เป็นต้น ดังนั้นการดูแลสุขภภาพกระดูกด้วยการเสริมพวกแคลเซียม การออกกำลังกาย และการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จึงเป็นสิ่งที่สำคัญ

สารอาหารเพื่อสุขภาพกระดูกและข้อ
1. แคลเซียม

กลไกการทำงาน
                 แคลเซียมจัดเป็นแร่ธาตุที่พบมากที่สุดในร่างกายมนุษย์ ซึ่งจำเป็นต่อพัฒนาการของกระดูกและฟันที่แข็งแรง แหล่งอาหารที่พบแคลเซียมได้แก่ ปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้งตัวเล็ก ผักใบเขียวทุกชนิด ยอดแค ยอดสะเดา นมและผลิตภัณฑ์จากนม ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง และพืชตระกูลถั่ว

รูปแบบของแคลเซียม
รูปแบบของแคลเซียมมีอยู่หลายรูปแบบด้วยกัน ที่พบบ่อยได้แก่ แคลเซียม คาร์บอเนต, แคลเซียม ซิเตรต, และแคลเซียม กลูโคเนต ซึ่งแคลเซียมในแต่ละรูปแบบมีข้อดีและวิธีการใช้ที่แตกต่างกันออกไปดังนี้

1. แคลเซียม คาร์บอเนต: ต้องอาศัยกรดในกระเพาะอาหารเป็นตัวช่วยในการแตกตัว เพราะฉะนั้นแนะนำให้รับประทานหลังทานอาหาร ข้อดีของรูปแบบนี้คือ ให้ปริมาณของแร่ธาตุแคลเซียมในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย

2. แคลเซียม ซิเตรต: รับประทานได้ทุกช่วงเวลา เพราะไม่ต้องอาศัยกรดในกระเพาะอาหารเป็นตัวช่วยในการแตกตัว แต่ข้อเสียคือ ให้ปริมาณแร่ธาตุแคลเซียมในปริมาณที่ต่ำ

3. แคลเซียม กลูโคเนต : เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในเครื่องดื่มชนิดชง เนื่องจากเป็นรูปแบบที่ละลายน้ำได้ค่อนข้างดี รวมถึงมีรสชาติที่ดีเหมาะสำหรับการทำเครื่องดื่ม

เพื่อกระดูกและฟันที่แข็งแรงมากขึ้นควรรับประทานแคลเซียมและสารอาหารชนิดอื่นร่วมกัน
แมกนีเซียม : ทำงานร่วมกับแคลเซียมเพื่อกระบวนการสร้างกระดูกและฟันที่แข็งแรง
วิตามินเค : จำเป็นต่อการดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่กระแสเลือด และสำคัญต่อกระบวนการผลิตโปรตีนบางชนิดที่จำเป็น ต่อความแข็งแรงของกระดูกและฟัน รวมทั้งลดการสลายตัวของแคลเซียม
ไลซีน : เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมแคลเซียม
วิตามินดี : เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมแคลเซียม
วิตามินซี : เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมแคลเซียม

2. น้ำมันปลา
              เมื่อพูดถึงเรื่องสุขภาพกระดูกและข้อแน่นอนว่า แคลเซียมจัดเป็นสารอาหารอันดับหนึ่งที่คิดถึง แต่อย่างไรก็ตามแคลเซียมเป็นสารอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและแข็งแรงของกระดูกและฟัน แต่หากพูดถึงเรื่องของอาการปวดข้ออักเสบแล้ว น้ำมันปลาจัดเป็นผลิตภัณฑ์อีกชนิดที่ช่วยบรรเทาอาการได้
กลไกการทำงาน
              สารอาหารที่สำคัญในน้ำมันปลาคือ กรดไขมันโอเมก้า-3 ซึ่งมีกรดไขมันหลักๆ อยู่สองตัว คือ EPA (Eicosapentaenoic Acid) และ DHA(Docosahexaenoic Acid) ซึ่งจากการศึกษาพบว่า EPA มีคุณสมบัติในการลดอาการอักเสบ ในผู้ป่วยที่มีอาการข้อเสื่อม และข้ออักเสบรูมาตอยด์ เนื่องจาก EPA สามารถลดสารที่ก่อให้เกิดอาการอักเสบ ปวด บวม นอกจากนั้นยังช่วยเพิ่มการสร้างสาร Prostaglandin E3(PGE3) ซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติทำให้อาการอักเสบต่างๆ ของข้อลดลงได้

3. กระดูกอ่อนปลาฉลาม
กลไกการทำงาน
              กระดูกอ่อนปลาฉลามมีผลในการบรรเทาหรือรักษาโรคข้อเสื่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เนื่องจากองค์ประกอบหลักที่อยู่ในกระดูกอ่อนปลาฉลามคือ สารในกลุ่มไกลโคสอะมิโนไกลแคน (Glycosaminoglycans) ซึ่ง 80% เป็นสาร คอนดรอยติน (Chondroitin) ที่เป็นสารอาหารหลักสำหรับบรรเทาอาการของข้อเสื่อม

คอนดรอยติน(Chondroitin) บรรเทาอาการข้อเสื่อมโดยทำหน้าที่:
     – ยับยั้งเอนไซม์ Collagenase ที่เข้ามาทำลายคอลลาเจนบริเวณกระดูกอ่อน
     – ลดการสร้างสารบางชนิดที่เข้าทำลาย Cartilage Matrix
     – เพิ่มความสามารถในการดึงน้ำหล่อลื่นเข้าสู่ระหว่างข้อมากขึ้น
     – เพิ่มปริมาณการสังเคราะห์ Proteoglycans และกรดไฮยาลูโลนิกมากขึ้น
     – ลดการเสียดสีระหว่างข้อต่อ ส่งผลให้ลดการอักเสบ ปวดและบวมได้

4. โบรอน
              โบรอน เป็นแร่ธาตุธรรมชาติ ซึ่งการได้รับโบรอนในปริมาณที่เพียงพอหรือไม่นั้นจะต้องขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของดินและแหล่งน้ำบริเวณนั้น
กลไกการทำงาน
    – โบรอน มีผลต่อความหนาแน่น และความแข็งแรงของกระดูก
    – โบรอน ช่วยให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรง ซึ่งส่งผลต่อกระดูกที่แข็งแรง
    – โบรอน ช่วยลดปริมาณการสลายแคลเซียมและแมกนีเซียม
    – โบรอน รักษาสมดุลของฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อกระบวนการสร้างกระดูกที่แข็งแรง

เข้าสู่ระบบ

ระบบกระดูกและข้อต่อมีหน้าที่อะไร

กระดูกและข้อจัดเป็นอวัยวะที่สำคัญต่อร่างกายโดยมีหน้าที่หลักคือ การเป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ ป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายใน ช่วยในการเคลื่อนไหวและหายใจ เป็นต้น ดังนั้นการดูแลสุขภภาพกระดูกด้วยการเสริมพวกแคลเซียม การออกกำลังกาย และการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จึงเป็นสิ่งที่สำคัญ

ระบบกระดูกทำหน้าที่อะไรบ้าง

หน้าที่ของ ระบบโครงร่าง ค้ำจุนโครงสร้างของร่างกายและทำหน้าที่รองรับอวัยวะต่าง ๆ ให้คงอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ป้องกันอวัยวะภายในร่างกายที่สำคัญ เช่น สมอง หัวใจ และปอด รวมไปถึงหลอดเลือดและเส้นประสาทที่ทอดยาวอยู่ภายในแนวกระดูก จากอันตรายและการกระทบกระเทือนต่าง ๆ เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว

ข้อมีหน้าที่อะไร

ข้อ หรือ ข้อต่อ (อังกฤษ: Joints) ในทางกายวิภาคศาสตร์ หมายถึงบริเวณที่กระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมีการติดต่อกัน ทำให้กระดูกมีการทำงานร่วมกันเป็นระบบเพื่อการค้ำจุนปกป้องร่างกายและการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆที่เหมาะสม ข้อต่อในร่างกายมนุษย์มีหลายแบบ และสามารถจัดจำแนกได้ตามลักษณะโครงสร้าง และคุณสมบัติในการเคลื่อนไหว

Skeletal System มีอะไรบ้าง

โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ โครงกระดูกแกน และโครงกระดูกรยางค์ โครงกระดูกแกนประกอบด้วยกระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง กระดูกอก กะโหลกศีรษะ และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วยกระดูกโอบอก กระดูกเชิงกราน และกระดูกของรยางค์บน และรยางค์ล่าง