ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

˹����ѡ  ����͡Ẻ  �����¹Ẻ  ����ͧ�����¹Ẻ  ��鹷����㹡����¹Ẻ  �����¹�Ҿ㹧ҹ��¹Ẻ  �ѭ�ѡɳ�����㹡����¹Ẻ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

��鹷����㹧ҹ��¹Ẻ

�ҵðҹ���㹧ҹ��¹Ẻ

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

                                               �ٻ�ʴ��������¢ͧ��鹷�������㹧ҹ��ԧ
                                          ����� :
http://kruning.cocons.co.th/index.php/vocation/drawing/

��������С����ҹ�ͧ���

              �ҡ�ٻ �繡����¹�Ҿ����Ե� ����Ҿ�ͧ�Ե� ��觨������� ��觷��ᵡ��ҧ㹡����¹Ẻ��������Ѵਹ ��� ����˹� �ҧ �ͧ���   ��鹹�鹨Ъ����������ҹẺ���� ��ЪѴਹ  

����ᵡ��ҧ ����觻���������˹ҵ���ѡɳС����ҹ㹡����¹Ẻ

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

����� : http://kruning.cocons.co.th/index.php/vocation/drawing/
 

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน
 
��Ѻ�˹�ҡ����¹Ẻ

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

2.มาตราฐานในการเขียนแบบ

2.1  กระดาษเขียนแบบ

2.2  เส้นต่าง ๆ ที่ใช้ในงานเขียนแบบ

2.3  การเขียนตัวอักษร

2.  มาตรฐานในการเขียนแบบ

การเขียนแบบจัดเป็นกลุ่มของผู้เชี่ยวชาญช่างเทคนิคเป็นอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานด้านทฤษฎีและปฏิบัติ  ช่างเทคนิคที่เขียนแบบจะถ่ายทอดความคิด  และการสเกตซ์ของวิศวกรสถาปนิกมาเป็นรายละเอียดในงานเขียนแบบ  และการระบุรายการในงานเขียนแบบเพื่อให้เข้าใจตรงกันระหว่างผู้สั่งงานกับผู้ปฏิบัติงาน  จึงมีการกำหนดมาตรฐานในงานเขียนแบบขึ้น

ความหมายของมาตรฐาน

มาตรฐาน  หมายถึง  ข้อกำหนดหรือข้อตกลงกันระหว่างผู้ผลิต  และผู้ใช้เพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกันเกี่ยวกับขนาดรูปร่าง น้ำหนัก  และส่วนผสมของวัสดุอย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำการผลิตขึ้นจากแหล่งผลิตต่าง ๆ ให้มีคุณสมบัติและคุณภาพเหมือนกันสามารถนำมาใช้สับเปลี่ยนทดแทนกันได้

2.1    กระดาษเขียนแบบ

กระดาษเขียนแบบมีหลายขนาด  ผู้เขียนสามารถเลือกใช้ขนาดของกระดาษเขียนแบบให้เหมาะสมกับขนาดของแบบที่ต้องการ  ขนาดของกระดาษเขียนแบบในระบบ  SI unit  หรือระบบเมตริก  ขนาดของกระดาษ  A0  จะมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า  โดยมีพื้นที่  1  ตารางเมตร  มีความกว้าง  : ความยาว  คือ 
(1
: 1.141)  ดังแสดงในภาพที่  2.1

 

 

ภาพที่  2.1  แสดงวิธีการคำนวณหาขนาดของกระดาษ  A0

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

กระดาษเขียนแบบ  A0  ถ้านำไปแบ่งครึ่งออกไปเรื่อย ๆ กระดาษจะเล็กลงครึ่งหนึ่ง  จากกระดาษมาตรฐาน  A0  จะเปลี่ยนเป็นขนาด  A1, A2, A3 และ  A4  ตามลำดับ  โปรดสังเกตกระดาษ  A1  จะมีพื้นที่น้อยกว่ากระดาษ  A0  จำนวน 1  เท่า  และกระดาษ  A2  จะมีพื้นที่น้อยกว่ากระดาษ  A1  จำนวน  1  เท่า  เป็นสัดส่วนลงไปเรื่อย ๆ ดังแสดงในภาพที่  2.2

ภาพที่  2.2  แสดงสัดส่วนของกระดาษเขียนแบบตามมาตรฐาน

ระบบเมตริกซึ่งมีอัตราส่วนความกว้าง : ความยาว  คือ 

เปรียบเทียบขนาดของกระดาษเขียนแบบระบบเมตริกและระบบอังกฤษ

 2.2  การติดกระดาษ

ในการติดกระดาษจะต้องติดกระดาษลงบนกระดาษเขียนแบบให้สนิท โดยใช้เทปกาว  ควรวางตำแหน่งของกระดาษเขียนแบบให้ใกล้กับขอบซ้ายมือของกระดานเขียนแบบ  เพื่อให้เกิดระยะผิดพลาดจากการเขียนแบบน้อยที่สุด

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

ภาพที่  2.3  การติดกระดาษเขียนแบบ

2.3  ตารางรายการ

เป็นตารางบอกรายละเอียดต่าง ๆ ของแบบ  เช่น ชื่อของแบบงาน  ชื่อผู้เขียนแบบ  มาตราส่วนชื่อบริษัทหรือสถานศึกษา  วัน/เดือน/ปี ที่เขียนแบบและหมายเลขแบบ  เป็นต้น  ตารางรายการนี้ถ้าใช้กระดาษเขียนแบบขนาด A4  สามารถแสดงไว้ด้านล่างตลอดความยาวของกระดาษ  แต่ถ้าใช้กระดาษ  A3  ซึ่งมีความยาวมาก  อาจเขียนไว้บริเวณมุมขวามือของกระดาษได้  ดังแสดงในภาพที่  2.4

 

 ภาพที่  2.4  แสดงลักษณะและขนาดของตารางรายการของแบบ

 

ภาพที่  2.5  แสดงลักษณะและขนาดของตารางรายการของแบบของกระดาษขนาด  A3

3.  เส้น

เส้นร่างแบบใช้เพื่อร่างแบบงานโดยเขียนอย่างเบาเพื่อที่จะได้ไม่ต้องเขียนอีกหรือเป็นการเข้าใจผิดกันเส้นอื่น ๆ  ในการเขียนแบบ

โดยทั่ว ๆ ไปชนิดของเส้นในงานวิศวกรรมมีอยู่หลายชนิด  ดังตารางแสดงชนิดของเส้น  ชื่อของเส้นและลักษณะการใช้งาน

 

ภาพที่ 2.6  ลักษณะของเส้นในการใช้งานเขียนแบบ

3.1.1          แสดงชนิดของเส้นการใช้งานและตัวอย่างการใช้งาน

4.   การเขียนตัวอักษรและตัวเลข

ข้อมูลในการเขียนแบบซึ่งไม่สามารถแสดงเป็นรูปทรงโดยเส้นอาจแสดงโดยกำหนดขนาดเป็นตัวเลข  ตัวอักษร  ซึ่งจะให้รายละเอียดในแบบงานได้อย่างครบถ้วนและมีความหมายที่สมบูรณ์  การเขียนตัวเลขและตัวอักษรเขียนได้หลาย ๆ วิธี  การเขียนด้วยมือ  การเขียนด้วยอุปกรณ์โดยใช้แผ่นแม่แบบ  เป็นต้น

ตัวอักษรระบบโกติกใช้วิธีเขียนแบบซิงเกิลสโตรค  (Single  Stroke  Gothic  Lettering)  มาตรฐานของตัวอักษรได้พัฒนาดัดแปลงรูปแบบของชุดตัวพิมพ์ตัวอักษรแบบโกติก  คำว่าชุดตัวพิมพ์  (front)  หมายถึง  การจำแนกหรือการจัดเป็นชุดเดียวกันในขนาดและรูปแบบของตัวอักษรและคำว่า  ซิงเกิลสโตรก  (Single-stroke)  มาจากหลักความจริงว่า  แต่ละตัวอักษรเขียนขึ้นด้วยเส้นตรงเดี่ยวหรือเส้นโค้งพื้นฐาน  ซึ่งทำให้ง่ายต่อการเขียนและสะดวกต่อการอ่าน  เหตุผลที่งานอุตสาหกรรมยอมรับการเขียนตัวอักษรรูปแบบนี้ก็เพราะว่าตัวอักษรชนิดเขียนได้เร็วมาก ตัวอักษรโกติกแบ่งออกเป็น ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ และตัวอักษรพิมพ์เล็ก(ตรงและเอียง)ดังรูป  4.1

การเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษ

 

 ภาพที่  4.7  การเขียนอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ตรงและตัวพิมพ์เล็กตรง

 

 ภาพที่  2.8  การเขียนอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่เอียงและตัวพิมพ์เล็กเอียง

การเขียนตัวอักษรและตัวเลขไทย

ภาพที่  2.9  การเขียนตัวอักษรภาษาไทยและตัวเลข

รูปแบบในการเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่

รูปแบบของการเขียนตัวอักษรตัวใหญ่นั้นบางกลุ่มมีอัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความสูงเท่ากันแต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีอัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความสูง  คือ 5/6  แต่มีอยู่  1  ตัวที่มีความกว้างมากกว่าความสูง  นั่นก็คือ  ตัว  “W”  ดังแสดงในภาพที่  2.10  และภาพที่  2.11

ภาพที่  2.10  แสดงอัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความสูงของตัวอักษรตัวตรง

 

 ภาพที่  2.11  แสดงอัตราส่วนระหว่างความกว้างต่อความสูงของตัวอักษรตัวเอียง

ตัวอักษรพิมพ์ตัวเล็ก

ตัวอักษรพิมพ์เล็กนั้นประกอบด้วย  3  ส่วน  คือ  ส่วนหลักซึ่งอยู่ตรงกลาง  ส่วนบน  และส่วนล่าง  โดยส่วนหลักจะมีความสูงเป็น  2/3  ของความสูงของตัวอักษรนำ  ถ้าส่วนหลักเป็น  2/3  ของตัวอักษรนำส่วนบนและส่วนล่างก็จะเป็น  1/6  ของอักษรนำ  ดังแสดงในภาพที่  2.12  และ  2.13

ภาพที่  2.12  แสดงโครงสร้างของอักษรตัวพิมพ์เล็ก

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

 

ภาพที่  2.13  แสดงขั้นตอนการเขียนตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก

5.  มาตราส่วน

มาตราส่วน  (scale)  โดยทั่ว ๆ ไปจะอยู่ใต้ภาพของชิ้นงานหรืออยู่ภายในบล็อคของกระดาษเขียนแบบเป็นการยากที่จะเขียนแบบขนาดเต็มเท่ากับชิ้นงานจริง  เช่น  เครื่องบิน  อาคารสิ่งก่อสร้าง  เป็นต้น  จึงจำเป็นต้องมีการลดขนาดโดยใช้มาตราส่วนย่อ  ในทางตรงกันข้ามกัน  ชิ้นส่วนเล็ก ๆ เช่น เฟืองนาฬิกา  ก็ต้องขยายภาพเพื่อให้ได้รายละเอียดที่ชัดเจน  จึงต้องมีการใช้มาตราส่วนขยาย

มาตราส่วนที่นิยมใช้ในงานเขียนแบบเครื่องกล  คือ

1.       มาตรฐานส่วนเต็ม  เช่น  มาตราส่วน  1:1

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

ภาพที่ 2.14  มาตราส่วนเต็ม  1 :1

2.       มาตราส่วนย่อ  เช่น  มาตราส่วน  1:2  1:5  1:10  หรือ  1:1000  เป็นต้น

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

ภาพที่ 2.15  มาตราส่วน  1 :2

3.       มาตราส่วนขยาย  เช่น  มาตราส่วน  2:1  5:1  10:1 เป็นต้น

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

 

ภาพที่ 2.16  มาตราส่วนขยาย  2:1

ตัวอย่างมาตราส่วนเต็ม  มาตราส่วนขยาย  และมาตราส่วนย่อ

ชนิดของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ข้อ ใด ที่ ไม่ เป็น ไป ตามมาตรฐาน

 

ตารางแสดงการเปรียบเทียบมาตราส่วน

มาตราส่วน

ขนาดงานจริง

ขนาดที่เขียนลงในแบบงาน

1 :1

2:1

5:1

10:1

1 :2

1 :5

1 :10

10

10

20

50

100

5

2

1

20

20

40

100

200

10

4

2

30

30

60

150

300

15

6

3

สัญลักษณ์ของหน่วยในระบบเมตริก                             การแปลงหน่วยระบบเมตริกเป็นระบบนิ้ว

         มิลลิเมตร                 =          มม.                                           1  มิลลิเมตร         =             0.03937      นิ้ว

         เซนติเมตร               =          ซม.                                           1  เซนติเมตร       =             0.3937        นิ้ว

         เดซิเมตร                  =          ดม.                                           1  เมตร                 =             39.37           นิ้ว

         เมตร                         =          ม.                                              1  กิโลเมตร          =             0.6214        ไมล์