การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 22 ผลการเรียนรู้ ชั้น สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ๔. อธิบายการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ๕. อธิบายปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดการแบ่งชั้นน้ำ�ในมหาสมุทร ๖. อธิบายปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำ�ในมหาสมุทรและรูปแบบการหมุนเวียน ของน้ำ�ในมหาสมุทร ๗. อธิบายผลของการหมุนเวียนของน้ำ�ในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิต และ สิ่งแวดล้อม - แต่ละบริเวณของโลกมีความกดอากาศแตกต่างกันประกอบกับอิทธิพลจากการหมุน รอบตัวเองของโลกทำ�ให้อากาศในแต่ละซีกโลกเกิดการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด แบ่งออกเป็น ๓ แถบ โดยแต่ละแถบมีภูมิอากาศแตกต่างกัน ได้แก่ การหมุนเวียนแถบขั้วโลก มีภูมิอากาศแบบหนาวเย็น การหมุนเวียนแถบละติจูดกลางมีภูมิอากาศแบบอบอุ่น และ การหมุนเวียนแถบเขตร้อนมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น - บริเวณรอยต่อของการหมุนเวียนอากาศแต่ละแถบละติจูด จะมีลักษณะลมฟ้าอากาศที่ แตกต่างกัน เช่น บริเวณใกล้ศูนย์สูตรมีปริมาณหยาดน้ำ�ฟ้าเฉลี่ยสูงกว่าบริเวณอื่น บริเวณ ละติจูด ๓๐ องศามีอากาศแห้งแล้ง ส่วนบริเวณละติจูด ๖๐ องศา อากาศมีความแปรปรวนสูง - น้ำ�ในมหาสมุทรมีอุณหภูมิและความเค็มของน้ำ�แตกต่างกันในแต่ละบริเวณและแต่ละระดับ ความลึก ซึ่งหากพิจารณามวลน้ำ�ในแนวดิ่งและใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ จะสามารถแบ่งชั้นน้ำ� ได้เป็น 3 ชั้นคือ น้ำ�ชั้นบน น้ำ�ชั้นเทอร์โมไคลน์ และน้ำ�ชั้นล่าง - การหมุนเวียนของกระแสน้ำ�ผิวหน้าในมหาสมุทรได้รับอิทธิพลจากการหมุนเวียนของอากาศ ในแต่ละแถบละติจูดเป็นปัจจัยหลักประกอบกับแรงคอริออลิสทำ�ให้บริเวณซีกโลกเหนือมีการ ไหลเวียนของกระแสน้ำ�ผิวหน้าในทิศทางตามเข็มนาฬิกา และทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งกระแสน้ำ�ผิวหน้าในมหาสมุทรมีทั้งกระแสน้ำ�อุ่น และกระแสน้ำ�เย็น ส่วนการหมุนเวียน กระแสน้ำ�ลึกเป็นการหมุนเวียนของน้ำ�ชั้นล่าง เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิและความเค็ม ของน้ำ� โดยกระแสน้ำ�ผิวหน้าและกระแสน้ำ�ลึกจะหมุนเวียนต่อเนื่องกัน - การหมุนเวียนอากาศและน้ำ�ในมหาสมุทร ส่งผลต่อลักษณะอากาศ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม แตกต่างกันไปเช่น การเกิดน้ำ�ผุดน้ำ�จม จะส่งผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของชายฝั่ง เช่น กระแสน้ำ�อุ่นกัลฟ์ สตรีมที่ทำ�ให้บางประเทศในทวีปยุโรปไม่หนาวเย็นจนเกินไปนักและเมื่อ การหมุนเวียนอากาศและน้ำ�ในมหาสมุทรแปรปรวน ทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อสภาพลมฟ้า อากาศ เช่น ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา ซึ่งเกิดจากความแปรปรวนของลมค้าและส่งผล ต่อสภาพลมฟ้าอากาศของประเทศที่อยู่บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก รวมถึงบริเวณอื่น ๆ บนโลก


RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4
        แถบความกดอากาศต่ำกึ่งขั้วโลก (Subpolar low) ที่บริเวณละติจูดที่ 60° เป็นเขตอากาศยกตัว เนื่องจากอากาศแถบความกดอากาศสูงกึ่งศูนย์สูตร (H) เคลื่อนตัวไปทางขั้วโลก ถูกแรงโคริออริสเบี่ยงเบนให้เกิดลมพัดมาจากทิศตะวันตก เรียกว่า “ลมเวสเทอลีส์” (Westerlies) ปะทะกับ “ลมโพลาร์อีสเทอลีส์” (Polar easteries) ซึ่งพัดมาจากทิศตะวันออก โดยถูกแรงโคริออริสเบี่ยงเบนมาจากขั้วโลก มวลอากาศจากลมทั้งสองมีอุณหภูมิแตกต่างกันมาก ทำให้เกิด ”แนวปะทะอากาศขั้วโลก” (Polar front) มีพายุฝนฟ้าคะนอง อากาศชั้นบนซึ่งสูญเสียไอน้ำไปแล้วจะเคลื่อนตัวไปยังจมตัวลงที่เส้นรุ้งม้าและบริเวณขั้วโลก ทำให้เกิดภูมิอากาศแห้งแล้ง 

การหมุนเวียนอากาศแถบละติจูดกลางมีลักษณะอย่างไร

การหมุนเวียนของอากาศแถบละติจูดกลางเป็นบริเวณที่มีการหมุนเวียนอากาศระหว่างละติจูดที่ 30 ถึง 60 องศาเหนือและใต้เวียนของอากาศที่มีผลจากแฮดลีย์เซลล์และโพลาร์เซลล์ โดยการเคลื่อนที่ของอากาศจะได้รับผลกระทบจากแรงคอริออลิส ทำให้อากาศเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกเรียกว่า ลมตะวันตก

การหมุนเวียนของอากาศคืออะไร

การหมุนเวียนอากาศคืออะไร ? - คือการสลับสับเปลี่ยนอากาศระหว่างภายในและภายนอก เพื่อทำให้อากาศภายในห้องที่อาจปนเปื้อน (หรือสารที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์) เจือจาง หรือปล่อยออก

การหมุนเวียนอากาศแถบขั้วโลกอยู่ระหว่างละติจูดใด

<p>พื้นผิวโลกปกคลุมด้วยพื้นน้ำทั้งหมดหรือมีพื้นผิวเหมือนกันหมดทั่วโลก</p> <p>อากาศบริเวณขั้วโลกมีความกดอากาศสูงจึงเคลื่อนที่มายังบริเวณเส้นศูนย์สูตรที่มีความกดอากาศต่ำกว่า</p> 900 seconds. 9. การหมุนเวียนอากาศแถบขั้วโลกเป็นการหมุนเวียนระหว่างบริเวณละติจูดที่ 60 องศาและขั้วโลก เรียกแถบหมุนเวียนอากาศนี้ว่าอะไร

เฟอร์เรลเซลล์มีขอบเขตพื้นที่ในช่วงละติจูดเท่าใด

45 seconds. Q. เฟอร์เรลเซลล์ มีขอบเขตพื้นที่ในช่วงละติจูดเท่าใด ตั้งแต่เส้นศูนย์สูตรไปยังละติจูด 30 องศา