แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น

ตัวอย่างข้อสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒


๑. การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญข้อใดที่บ่งบอกว่า เพศหญิงเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นแล้ว
ก. มีประจำเดือน
ข. ใบหน้า ผิวพรรณเปล่งปลั่ง
ค. มีน้ำเสียง ท่าทางอ่อนหวาน
ง. หน้าอกขยายใหญ่ ตะโพกผาย

๒. การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญข้อใดที่บ่งบอกว่าเพศชายเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นแล้ว
ก. มีหนวดเครา
ข. มีมัดกล้ามเนื้อมากขึ้น
ค. มีน้ำอสุจิเคลื่อนไหลออกมา
ง. มีเสียงแตกห้าว

๓.ต่อมไร้ท่อในข้อใดที่มีหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายและ
การเปลี่ยนแปลงทางเพศ ทั้งยังควบคุมการทำงานของต่อมอื่นๆ อีก
ก. ต่อมใต้สมอง
ข. ต่อมไทรอยด์
ค. ต่อมหมวกไต
ง. ต่อมเพศ

๔. ต่อมเพศในเพศชายได้แก่ข้อใด
ก. รังไข่
ข. มดลูก
ค. ท่อนำไข่
ง. อวัยวะเพศ

๖. ข้อใดเป็นความหมายของ “ฝันเปียก”
ก. น้ำอสุจิเคลื่อนออกมาเองตอนใดก็ได้
ข. น้ำอสุจิเคลื่อนออกมาเองขณะนอนหลับ
ค. น้ำอสุจิเคลื่อนออกมาขณะอาบน้ำ
ง. น้ำอสุจิเคลื่อนออกมาขณะมีการสำเร็จความใคร่ด้วยตัวเอง

๗. การมีประจำเดือนในเพศหญิงมีสาเหตุมาจากอะไร
ก. ความผิดปกติของมดลูก
ข. รังไข่ขับเลือดเสียออกมา
ค. มดลูกสลายตัวออกมาเป็นเลือดเสีย
ง. ไข่ไม่ได้รับการผสมกับตัวอสุจิ

๘. สุขปฏิบัติเกี่ยวกับอวัยวะเพศที่สำคัญที่สุดคือข้อใด
ก. ไม่เที่ยวสำส่อนทางเพศ
ข. ล้างทำความสะอาดอยู่เสมอ
ค. ไม่ตอบสนองทางเพศบ่อยครั้งจนเกินไป
ง. ตรวจสอบความผิดปกติอยู่เสมอ

๙. ข้อใดเป็นลักษณะที่ถูกต้องของวัยรุ่นในการคบเพื่อนฝูง
ก. ฝ่ายชายมักเอาเปรียบฝ่ายหญิง
ข. ฝ่ายหญิงมักเอาเปรียบฝ่ายชาย
ค. ต่างฝ่ายต่างให้ความสนใจซึ่งกันและกัน
ง. ต่างฝ่ายต่างช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

๑๐. การคบเพื่อนต่างเพศของเด็กวัยรุ่นควรปฏิบัติตัวอย่างไร
ก. แสดงตนเป็นสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี
ข. แสดงตนเป็นเพื่อนที่ดีต่อกันและไม่ถือตัว
ค. วางตัวให้ถูกต้องและเหมาะสมกับขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม
ง.ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด

เฉลย
๑. ก ๒. ค ๓. ก ๔. ก ๕. ก ๖. ข
๗. ง ๘. ก ๙. ง ๑๐. ก

กลับสู่ด้านบน

การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายของวัยรุ่น สุขศึกษา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของวัยรุ่น
 ID: 2290250
Language: Thai
School subject: สุขศึกษา
Grade/level: Grade 12
Age: 9-12
Main content: เพศกับวัยรุ่น
Other contents: การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของวัยรุ่น

แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 Add to my workbooks (1)
แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 Add to Google Classroom
แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 Add to Microsoft Teams
แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น

Areena_h


แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น

What do you want to do?

แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

แชร์บอล เป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสามารถเล่นบนพื้นที่จำกัดและเล่นได้ทั้งในร่มและกลางแจ้ง อีกทั้งกติกาการแข่งก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อน โดยจะเห็นได้ว่ากีฬาแชร์บอลนิยมเล่นและจัดแข่งขันกันในระดับโรงเรียน รวมถึงหน่วยงานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย วันนี้เราจึงจะขอพาคุณพ่อคุณแม่ทุกท่านไปรู้จักกับกีฬา แชร์บอล ให้มากยิ่งขึ้น

 

อุปกรณ์สำหรับการเล่นแชร์บอล

1. เก้าอี้ไม่มีพนักพิง

2. ตะกร้าทรงสูง ขนาด 30 – 35 เซนติเมตร

3. ลูกบอล

4. นาฬิกาสำหรับจับเวลา

5. ป้ายคะแนน

6. ใบบันทึกการแข่งขัน

7. นกหวีดหรือระฆัง สำหรับใช้เป็นสัญญาณหมดเวลาการแข่งขัน

บทความที่น่าสนใจ : แบดมินตัน ดีต่อเด็กอย่างไร ? พร้อมเหตุผลที่พ่อแม่ควรให้ลูกเล่น !

 

แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น

ภาพจาก shutterstock.com

 

วิธีการเล่นแชร์บอล

การเล่นแชร์บอลประกอบด้วยผู้เล่น 2 ฝ่าย ฝ่ายละ 7 คน โดยมีผู้เล่นสำรองอีกฝ่ายละ 5 คน การเล่นแชร์บอล ไม่มีตำแหน่งที่ชัดเจนเหมือนฟุตบอล หรือบาสเกตบอล และเนื่องจากสนามแชร์บอลค่อนข้างเล็ก ผู้เล่นในสนามจะต้องปรับเปลี่ยนตำแหน่งกันได้ตลอดเวลา ยกเว้นสองตำแหน่งที่ไม่เปลี่ยน คือ ผู้เล่นที่ถือตะกร้า และผู้เล่นที่ป้องกันตะกร้า

โดยผู้เล่นแต่ละคนในทีมจะมีชื่อเรียกตำแหน่ง และหน้าที่ต่าง ๆ ดังนี้

1. ผู้ป้องกันตะกร้า มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ลูกลงตะกร้า ผู้เล่นตำแหน่งนี้จะต้องรูปร่างสูง และมีทักษะการกระโดดที่ดี เพื่อจะทำให้ได้เปรียบในการป้องกัน

2. กองหลังด้านซ้ายและขวา มีหน้าที่หลักในการป้องกันการทำประตูของอีกฝ่าย ผู้เล่นตำแหน่งนี้จะต้องรูปร่างสูง

3. กองกลาง จะต้องเป็นผู้เล่นที่มีความคล่องตัวสูง รวดเร็ว ว่องไว มีทักษะการรับ ส่งบอลที่ดี และต้องสามารถทำประตูระยะไกลได้ดี

4. กองหน้าด้านซ้าย และขวา มีหน้าที่ทำ ประตู รูปร่างได้ทั้งตัวเล็ก และตัวสูง แต่ต้องเป็นผู้เล่นที่มีทักษะการยิงประตูที่ แม่นยำ ยิงประตูระยะใกล้ และระยะไกลได้ดี

5. ผู้ถือตะกร้า มีหน้าที่ถือตะกร้าเพื่อรับบอลจากเพื่อนร่วมทีมโดยจะต้องยืนอยู่บนเก้าอี้ตลอดเวลา

 

แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น

ภาพจาก shutterstock.com

 

กติกาในการเล่นแชร์บอล

  • ผู้ป้องกันตะกร้าเพียงคนเดียวเท่านั้นที่มีสิทธิ์เข้าไปในเขตป้องกันตะกร้าได้
  • ผู้ป้องกันตะกร้าสามารถเคลื่อนที่ไปในเขตป้องกันตะกร้าพร้อมกับลูกบอลได้ในเวลา 3 วินาที
  • กติกาของผู้ถือตะกร้า
  • ผู้ถือตะกร้าต้องอยู่บนเก้าอี้พร้อมกับถือตะกร้า ตลอดเวลา
  • ผู้ถือตะกร้าสามารถเคลื่อนไหวตะกร้าได้ทุกลักษณะ
  • ผู้ถือตะกร้าต้องใช้ตะกร้ารับลูกบอล จากการยิงประตูเท่านั้น
  • ผู้เล่นสามารถ จับ ตี ปัด กลิ้ง ส่ง หรือ ขว้างลูกบอลด้วยมือ แขน ศีรษะ หรือลำตัวเหนือเอวขึ้นไป
  • ผู้เล่นสามารถครอบครองลูกบอลหรือกด ลูกบอลที่อยู่บนพื้นสนาม หรือโยน ลูกบอลขึ้นไปในอากาศได้ โดยใช้เวลาไม่เกิน 3 วินาที
  • ในกรณีที่ผู้เล่นถูกป้องกันแบบประชิด ผู้เล่นจะต้องส่งบอลภายในเวลา 3 วินาที
  • ผู้เล่นสามารถถือลูกบอล และเคลื่อนไหวไปมาได้ ด้วยการหมุนตัวโดยมีเท้าหลัก
  • คะแนนที่ได้จากการยิงประตู มีค่า 2 คะแนน ส่วนคะแนนที่มาจากการยิงจุดโทษ มีค่า 1 คะแนน
  • ฝ่ายที่ทำคะแนนได้มากกว่าจนหมดเวลาการแข่งขัน จะเป็นฝ่ายชนะในการแข่งขัน

บทความที่น่าสนใจ : บาสเกตบอล ดีต่อเด็กอย่างไร เล่นบาสช่วยเพิ่มความสูงได้จริงหรือไม่

 

เวลาการแข่งขัน

เวลาการแข่งขัน แบ่งออกเป็น 2 ครึ่ง ครึ่งละ 20 นาที พักระหว่างครึ่ง 5 นาที เวลาการแข่งขันนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมกับนักกีฬา โดยแต่ละทีมสามารถขอเวลานอกได้ครึ่งเวลาละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 นาที หากทีมใดที่มาแข่งขันช้ากว่ากำหนดเวลาการแข่งขัน 15 นาที จะถูกปรับแพ้ทันที

 

ประโยชน์จากการเล่นแชร์บอล

  • ช่วยฝึกทักษะพื้นฐานของการเล่นกีฬา ที่ต้องใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายรวมกับความแม่นยำในการโยนบอล
  • ช่วยฝึกสมาธิให้เป็นคนคิดเร็วทำเร็ว เนื่องจากการเล่นกีฬาประเภทนี้จะมีเวลาแค่ 3 วินาทีเท่านั้นเมื่อลูกมาถึงมือ หากคิดช้าจะทำให้ต้องเปลี่ยนฝั่งครองบอลทันที
  • ทำให้เด็ก ๆ มีประสาทสัมผัสที่ดีขึ้น
  • ช่วยสร้างความสามัคคีให้แก่คนในทีม
  • ฝึกทักษะการวางแผน เนื่องจากต้องวางแผนการเล่นอย่างไร เพื่อให้ทีมชนะ และประสบความสำเร็จได้
  • ช่วยสร้างความสนุกให้กับเด็ก ๆ
  • ได้รู้จักแพ้ รู้จักชนะ

 

แบบฝึกหัด การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น

ภาพจาก shutterstock.com

 

บทความอื่น ๆ ที่คุณอาจจะสนใจ :

เทควันโด กีฬาสุดฮิตดีต่อลูกอย่างไร? เรียนเทควันโดได้ตั้งแต่อายุเท่าไร?

5 วิธีป้องกันลูกที่ชอบเล่นกีฬา ไม่ให้บาดเจ็บ วิธีรักษาดูอาการลูก

วิ่งผลัด ดีอย่างไร ช่วยเสริมสร้างพัฒนาการด้านไหนบ้าง ?

 

ที่มา :

1, 2

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!