นร.มาเร ยนประจำและต องย ายห องไปอ กห องท ไม ม ใครอย

ความรู้คำศัพทข์ องนักเรียนชันประถมศึกษาปีท่ี 2/5 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทมี ีต่อการเรียนด้วย

กิจกรรมเพลงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษและความรู้คำศัพท์ของนักเรียนชัน

ประถมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังน้ีคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/1 โรงเรียน

อนุบาลธีรา จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 32 คน โดยใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้

กิจกรรมเพลงแบบทดสอบวัดความสามารถด้านทักษะการฟัง – พูดภาษาอังกฤษ แบบทดสอบวัดความรู้ด้าน

คำศัพท์ภาษาอังกฤษทีผู้วิจัยสร้างขึ้น และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้

กจิ กรรมเพลง

2.2 งานวิจัยในตา่ งประเทศ

ฮิดายัธ (Hidayat: 2013) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การใช้เพลงในการสอนความสามารถในการฟังของ

นักเรียน โดยงานวิจัยเล่มนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1.ตรวจสอบว่าการใช้เพลงช่วยเพิ่มทักษะการฟังของนักเรียน

หรือไม่ 2. ตรวจสอบปัญหาความไม่เข้าใจในการฟังของนักเรียน การวิจัยกึ่งทดลองนี้ได้ทำการทดลองกับ

22

นักเรียนสองหอ้ ง ท่ีโรงเรียนมัธยมของรฐั บาลแห่งหนึ่ง ในจังหวัดสุมาตัง ประเทศอินโดนีเซยี การเก็บรวบรวม ข้อมูลจะใช้แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน และแบบสอบถาม ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมานั้นได้ใช้ วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ นอกจากนี้ยังได้ทำการตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามเพื่อค้นหาปัญหาท่ี นักเรียนเผชญิ กบั การฟังความเข้าใจผ่านทางเพลง ผลการวจิ ยั พบวา่ การใชเ้ พลงในการสอนสามารถช่วยเพิ่ม ความสามารถในการฟังของนกั เรยี นได้

โซลฮิ ตั และ ยทู ามิ (Solihat and Utami: 2014) การวจิ ยั คร้ังนม้ี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษาประสทิ ธิภาพ ของการใช้เพลงภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะการฟังของนักเรียนและเพื่อทราบทัศนคติของการใช้เพลง ภาษาอังกฤษในการฟัง เป้าหมายของการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ 1 เมืองเลบักวังกิ โดยมีจำนวนนักเรียน 62 คน วิธีการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยจะมี นักเรียนถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มในการทำวิจัยครั้งนี้ กลุ่มที่หนึ่งคือกลุ่มทดลอง และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่ม ควบคุม โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลผา่ น 3 ขั้นตอนคือ การทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลงั เรยี น และการตอบ แบบสอบถาม ผลการวิจัยจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าคะแนนของแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนของ แบบทดสอบก่อนเรียนซึ่งแสดงให้เห็นว่าว่าเพลงภาษาอังกฤษมีประสิทธิภาพในการฟัง และนักเรียนได้รับ ทัศนคติเชิงบวกซึ่งจะเห็นได้จากการตอบแบบสอบถามที่มีนักเรียนท่ีเห็นดว้ ยเป็นจำนวน 92% และมีค่าเฉล่ีย อยู่ที่ 142

โซฟียา (Shofiya: 2015) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การใช้เพลงเด็กในการพัฒนาทักษะทางด้านการฟังของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (7th grade) ของโรงเรียน MTs Nahdlatusy Syubban Sayung วัตถุประสงค์ ของการทำวจิ ัยในครั้งนี้คือ 1. เพือ่ อธบิ ายทกั ษะการสอนการฟงั โดยใช้เพลงเดก็ ที่ทำการสอนในชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 (7th grade) ของโรงเรียนสอนภาษา Nahdlatusy Syubban Sayung 2. เพื่อหาทักษะในการเรียนรู้ ของนักเรียนหลังจากการสอนโดยใช้เพลงเด็กในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (7th grade) ของโรงเรียนสอนภาษา Nahdlatusy เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจัยคร้งั นี้คือ pre-test, post-test, และการสังเกต กลมุ่ ตวั อย่างคือนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 29 คน จากผลการวิจัยพบว่าในรอบก่อนคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนคือ 60.10% ในรอบแรกคะแนนเฉล่ียของนักเรียนคือ 70.48 ในรอบที่สองคะแนนเฉลี่ยของนกั เรียน 78.31 จากรอบก่อน รอบแรกและรอบที่สอง คะแนนเฉลย่ี ของนักเรียนเพ่ิมขน้ึ 15 คะแนนหมายความวา่ มีการพัฒนาทักษะการฟัง ของนกั เรยี นหลังจากไดร้ บั การสอนโดยใชเ้ พลงเด็ก

อะยาติกา ( Ayatika: 2016) ได้ทำการวิจัยเรื่อง ผลของการใช้เพลงยอดนิยมในการพัฒนาทกั ษะการ ฟังของนักเรียน จุดประสงค์ของการวิจัยนี้คือ ผลของเพลงยอดนิยมสามารถใช้ในการพัฒนาทักษะการฟังของ นักเรียน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (seventh years) ของ SMP N 10 Tangerang Selatan 80 คน ห้อง VII.5 ซึ่งประกอบด้วย 40 คนจะเป็นกลุ่มทดลอง และ ห้อง VII.6 ซึ่งประกอบด้วย 40 คนจะเป็นกลุ่มควบคุม โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบทดสอบการฟังเสียง ผู้เขียนยังใช้สูตรของโคเฮน เพื่อดูผลของเพลงยอดนิยมที่มีต่อทักษะการฟังของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า จากผลการคำนวณทางสถิติ พบว่าค่า Tvalue เท่ากับ 7.64 และระดับความเป็นอิสระ (df) คือ 78 ในตารางที่มีนัยสำคัญ 5% ค่าของ

23

ความสำคัญคือ 1.66 (Ttable) เปรียบเทียบค่าเหล่านั้นผลที่ได้คือ 7.64> 1.66 ซึ่งหมายความว่าคะแนน Tvalue สูงกว่าคะแนน Ttable โดยสรุปว่า การใช้เพลงยอดนิยมสามารถช่วยในการพัฒนาทักษะการฟังอง นักเรียนได้ และ สำหรับผลของเพลงยอดนิยมที่มีผลต่อทักษะการฟังคือ 1,045 ซึ่งสูงกว่า 1,000 จาก หลักเกณฑ์ของโคเฮนซึ่งหมายความว่ามีผลในทางที่ดีในการใช้เพลงยอดนิยมในการเสริมทักษะการฟังของ นกั เรยี นที่ SMP N 10 Tangerang Selatan

ครสิ ตินา ( Kristina:2016) ได้ทำการวจิ ัยเรื่อง การใชเ้ พลงภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอนในการพัฒนา ทักษะการฟังของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในเมืองบันดุง (SMPN 36) วตั ถุประสงค์ของการทำวิจัยครัง้ นี้คือ 1) เพือ่ ศึกษาข้นั ตอนการใชเ้ พลงภาษาอังกฤษในการพฒั นาทักษะการฟัง

  1. เพื่อศึกษาบทบาทของครูและนักเรียนในการใช้เพลงภาษาอังกฤษในการพัฒนาทักษะการฟัง 3) เพื่อศึกษา ใบงานการสอนทกั ษะการฟังผ่านเพลงภาษาอังกฤษ 4) เพื่อศึกษาการประเมินทกั ษะการฟงั การสอนผา่ นเพลง ภาษาอังกฤษ 5) เพอ่ื ศกึ ษาผลลัพธ์ของการใชเ้ พลงภาษาองั กฤษในการพัฒนาทักษะการฟัง 6) เพ่ือศึกษาความ ความพึงพอใจในการใช้เพลงภาษาอังกฤษเพ่ือพัฒนาทักษะการฟัง โดยใช้นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 36 คนซึ่งได้มาโดยการสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้เพลงเพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษ ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนอยู่ที่ 28.20 และค่าเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียนอยู่ที่ 81.5 จะเห็นได้ว่าคา่ เฉลีย่ ของการทดสอบหลังเรยี นสงู กวา่ คา่ เฉลีย่ ของการทดสอบก่อนเรยี น

พอร์กาฮอร์ และ ทาวาโคลิ (Pourkalhor and Tavakoli: 2017) ได้ทำการวิจัยเรื่อง ผลกระทบของ เ พล ง ก ล ่ อม เ ด ็ ก ต ่ อก า ร ป ร ั บ ป ร ุ ง ท ั ก ษ ะก า ร ฟั ง เ พื ่ อ ค ว า ม เ ข ้ า ใ จ ข อง ผ ู ้ เ ร ี ย น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ใ น ฐ า น ะ เ ป็ น ภาษาต่างประเทศของผู้เรียนภาษาอิหร่าน การศึกษาครั้งนี้เป็นความพยายามที่จะค้นหาผลของการใช้เพลง กลอ่ มเดก็ เพื่อพัฒนาความสามารถในการฟังของผ้เู รยี นระดับประถมศึกษา ในการศกึ ษาครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ทำการ เลือกนักเรียนช้ันประถมศึกษาที่มีศักยภาพจำนวน 30 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลทำโดยการสัมภาษณ์ผู้เรียน ทั้งก่อนและหลังการเรียนรู้ และใช้วิธีการคำนวณเชิงคุณภาพ และปริมาณเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่าผู้เรียนชั้นประถมศึกษา สามารถพัฒนาความสามารถในการฟังเพื่อความเข้าใจซึ่งเป็นผลมาจากการใช้ เพลงกล่อมเด็ก และข้อมูลการสมั ภาษณ์ยังช้ีให้เห็นว่าการรับรูข้ องผู้เรียนเกี่ยวกับเพลงกลอ่ มเด็กเป็นไปในเชงิ บวก เพราะเพลงทำให้บรรยากาศการเรียนน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งเหมาะสำหรับการปรับปรุงทกั ษะการฟังเพื่อ ความเขา้ ใจของผเู้ รยี นชัน้ ประถมศึกษา

จากการศึกษาการวิจัยทั้งในและต่างประเทศสรุปได้ว่า เพลงมีอิทธิพลอย่างจริงจังในการนำมา ประกอบการเรียนการสอนภาษาองั กฤษซ่งึ สง่ ผลให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรยี น สนุกสนานต่อการเรียน มีความกระตอื รือรน้ และสามารถจดจำเนือ้ หาสาระ ในบทเรียนไดด้ ี ทำให้นักเรยี นกลา้ แสดงออก ชว่ ยแก้ปญั หา ด้านภาษาและพฤติกรรม สร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนรู้ จึงนับได้ว่าดนตรีหรือเพลงมีคุณค่าต่อการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นอย่างยิ่ง ผู้วิจัยจึงมีความตั้งใจและสนใจที่จะพัฒนาทักษะการฟัง ภาษาองั กฤษโดยใชเ้ พลงประกอบการสอน

24

บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนินการวจิ ัย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพ่ือพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 2 โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ และ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการสอนตามแผนการสอนโดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะ ดา้ นการฟงั ภาษาองั กฤษ ซึง่ มขี ัน้ ตอน ดงั น้ี

1.ประชากรทใี่ ช้ในการวิจัย 2.กลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 3.ขนั้ การเลอื กกลุม่ ตัวอย่าง 4.เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั 5.การรวบรวมขอ้ มูล 6.การวเิ คราะห์ขอ้ มูล

1. ประชากรท่ใี ชใ้ นการวิจัย นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ท่ีเรียนวิชาภาษาองั กฤษในปีการศึกษา 2564 จำนวน 9 คน โรงเรียนบ้านต้าหลวง (ต้าประชานกุ ูล) อำเภอขุนตาล จงั หวดั เชียงราย

2. กลมุ่ ตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวิจัย นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ทเ่ี รียนวชิ าภาษาอังกฤษในปีการศึกษา 2564 จำนวน 9 คน โรงเรยี นบา้ นต้าหลวง (ต้าประชานุกูล) อำเภอขุนตาล จงั หวัดเชยี งราย

3.ข้นั ตอนการเลอื กกลุ่มตวั อย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษในปีการศึกษา 2564 จำนวน 9 คน โดยใช้

วธิ ีการเลอื กแบบเจาะจงกลุม่ เป้าหมายท่ีใช้คือ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 ซงึ่ กลุม่ เป้าหมายนีจ้ ะใช้การสอน โดยการใช้กจิ กรรมเพลงภาษาองั กฤษ

4.เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวิจัย 1. แผนการสอนโดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของ นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 4 แผน 2. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี นของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการสอนตามแผนการสอน โดยการใชก้ จิ กรรมเพลงภาษาองั กฤษ

25

ขั้นตอนการสรา้ งเคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย

1. แผนการสอนโดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของ

นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 4 แผน

1.1 ศกึ ษาหลักสูตร ขอบขา่ ยของเนื้อหาวิชา และจดุ มุ่งหมายของวิชาภาษาองั กฤษ คู่มือการสอน

ภาษาองั กฤษรวมทง้ั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ภู าษาอังกฤษระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 2

1.2 ศึกษาทฤษฎีและหลักการการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ ของ ฟินอกเขียโร

และบรมฟิศ (Finocchiano & Brunafit. 1983: 138-139) รวมทงั้ จากเอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง

1.3 คัดเลือกเพลงจากแบบเรียนที่ใช้ในระดับประถมศึกษาตอนปลาย รวมทั้งมีระดับความยากง่าย

ของคำศัพทท์ ่ีเหมาะสมกับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 ตัวอยา่ งเพลงไดแ้ ก่ Telling Time, months of the

year, seasons and weather และ occupations

1.4 สร้างแผนการเรียนรกู้ ารฟงั ภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมเพลง จำนวน 4 แผน ดังรายละเอียดของ

เนอื้ หาต่อไปน้ี

แผนท่ี เนอ้ื หา ชว่ั โมง

1 Telling time 2

2 Months of the year 2

3 Weather and seasons 2

4 occupations 1

2. แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียนของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 2.1 สร้างแบบทดสอบเพื่อพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

โดยรูปแบบขอ้ สอบเปน็ แบบปรนัย แบบเตมิ คำ โดยให้นกั เรยี นเขยี นคำตอบใหถ้ กู ตอ้ งจำนวน 40 ขอ้ 2.2 เสนอแบบทดสอบต่อผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความ

ตรงเชงิ โครงสร้างของข้อสอบ และนำมาปรบั ปรุงให้ถูกตอ้ งเหมาะสม โดยพจิ ารณาวา่ แบบทดสอบท่ีสรา้ งขึ้นมา นั้นสอดคลองกับจุดประสงค์การเรียนรูของกลมสาระการเรียนรูภาษาต่างประเทศหรือไม่ โดยมีเกณฑ์กำหนด คะแนนความคิดเห็นไว้ ดังน้ี (บญุ เชดิ ภญิ โญอนนั ต์พงศ.์ 2526: 89-91)

คะแนนความคดิ เห็น +1 = แนใ่ จว่าข้อสอบวดั จดุ ประสงคข์ ้อนั้น 0 = ไมแ่ นใ่ จวา่ ขอ้ สอบวัดจุดประสงคข์ ้อนน้ั หรอื ไม่ -1 = แน่ใจวา่ ข้อสอบวดั จุดประสงคข์ ้อนั้น

2.3 นำแบบทดสอบไปทดลองสอบกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เคยเรียนเนื้อหานี้มาแล้ว จำนวน 9 คน วเิ คราะหข์ อ้ สอบรายข้อเพื่อหาค่าความยากง่าย คาอำนาจจำแนก แล้วคัดเลอื กข้อสอบท่ีมีความ ยากง่ายระหว่าง 0.20-0.80 และค่าอำนาจจำแนก ตั้งแต่ 0.20 ขึ้นเลือกข้อสอบให้ครอบคลุมจุดประสงค์ไว

26

แล้วนำขอ้ สอบไปวิเคราะห์ค่าความยากง่าย และค่าอำนาจจำแนก คดั เลือกขอ้ ท่มี ีค่าความยากงา่ ยตง้ั แต่ 0.20- 0.80 และค่าอำนาจจำแนกตง้ั แต่ 0.20 ข้ึนไปจำนวน 10 แลว้ คำนวณค่าความเชอ่ื มน่ั

3.แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ทม่ี ีต่อการสอนตามแผนการสอนโดยการ ใช้กจิ กรรมเพลงภาษาอังกฤษ ผู้วจิ ยั ได้ดำเนนิ ดงั น้ี

1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้องกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ 2. วเิ คราะห์เน้อื หาทว่ี ดั เลือกรปู แบบเครื่องมอื ท่วี ดั 3. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ่ การสอนตามแผนการสอนโดยการใช้กจิ กรรม เพลงภาษาอังกฤษซึ่งเป็นแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่ามี 5 ระดับ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก พึงพอใจ ปานกลาง พึงพอใจน้อยที่สุด โดยมีรายการประเมินจำนวน 10 ข้อ ซึ่งแบบสอบถามเป็นแบบประมาณค่า (Rating Scales) ตามวิธีการของ ลิเคิอร์ท (Likert) ลักษณะแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจหรือไม่ของ นักเรียนที่มีต่อการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ โดยกำหนดความคิดเห็น 5 ระดับ โดย กำหนดเกณฑ์ ดังต่อไปน้ี

5 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากที่สดุ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 3 หมายถงึ มีความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 1 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยทส่ี ุด เกณฑ์การแปลความหมายของระดบั ความพงึ พอใจได้ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจระดับมากทสี่ ดุ คะแนนเฉลย่ี 3.51-4.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจระดบั มาก คะแนนเฉลย่ี 2.51-3.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ยี 1.51-2.50 หมายถึง มคี วามพึงพอใจระดับนอ้ ย คะแนนเฉล่ยี 1.00-1.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจระดบั ควรปรับปรงุ 4. นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนเกี่ยวกับการสอนตามแผนการสอนโดยการใช้กิจกรรม เพลงภาษาอังกฤษเสนอผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน พิจารณาตัดสินเพือ่ หาค่าความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยเก็บรวบรวมผลการพิจารณาตัดสินไปคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแผนการจัด กิจกรรมกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย (Index of Item-Objective Congruence : IOC) ตามสูตรของโรวิเนล ล่ี และแฮมเบลิ ตนั (Rowinelli and Hambleton, 1977 อ้างถงึ ใน พชิ ติ ฤทธ์ิจรญู , 2548 : 150)

5.การรวบรวมข้อมลู

27

ผ้วู จิ ยั ดำเนนิ การรวบรวมข้อมลู จากการทดลอง มลี ำดับขัน้ ตอน ดงั น้ี 1. ผู้วิจัยคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษในปีการศึกษา 2564

จำนวน 9 คน 2. ผู้วิจัยให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อทดสอบทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของ

นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 3. จัดการเรียนการสอนตามแบบแผนการวิจัย โดยใช้แผนการสอนทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษ

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษใช้เวลาสอนทั้งหมด 3 สัปดาห์ 4. ผู้วิจยั ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียนเพอ่ื ทดสอบทักษะด้านการฟังภาษาองั กฤษของนักเรียน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 5. ผู้วิจัยให้นักเรียนทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการ สอนโดยใช้กจิ กรรมเพลงภาษาอังกฤษ 6. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลผ้วู จิ ยั ไดท้ ำการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเองโดยเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยการ นำคะแนนแบบทดสอบหลังเรียน และแบบทดสอบก่อนเรียนมาเปรียบเทียบเพื่อดูความก้าวหนา้ ของทักษะด้านการฟังภาษาองั กฤษของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 7. อภิปรายผล

6.การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลนี้วิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูล โปรแกรม

สำเร็จรูปทางสถิติ t-test dependent ( เปรียบเทียบ pre-posttest) ช่วยในการประมวลผลและวิเคราะห์ ขอ้ มลู เพอ่ื อธิบายอตั ราร้อยละ คา่ เฉล่ยี ค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และใช้ T-test

สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู 1. ค่าเฉลี่ย (Mean) ของคะแนนทักษะการฟังก่อนและหลังเรียน และของแบบทดสอบวัดความพึงพอใจ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีต่อการสอนโดยใช้กิจกรรมเพลง ภาษาอังกฤษ 2. ค่า t-test แบบ dependent samples วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งของคะแนนทักษะการฟังกอ่ นและหลังเรียน โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาองั กฤษ 3. ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของคะแนนทักษะการฟังก่อนและหลังเรียนโดยการใช้ กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ การคำนวณหาคา่ สถิตดิ ังกล่าวข้างตน้ ใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำเร็จรูป

28

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเรื่อง “การพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นบา้ นต้าหลวง (ตา้ ประชานกุ ูล) อำเภอขุนตาล จงั หวดั เชยี งราย โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ” โดยทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 9 คน ใช้ระยะเวลาในการทดลอง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 คาบ คาบละ 50 นาที รวมเวลา 7 คาบ ผู้วิจยั ได้แบ่งการนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ออกเปน็ 3 ตอน ดงั น้ี สญั ลักษณ์ทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขมูล X หมายถึง ค่าเฉล่ีย N หมายถึง จำนวนนกั เรียนทงั้ หมดในกล่มุ ตวั อยา่ ง S.D. หมายถงึ คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน t หมายถึง คา่ สถติ ใิ นการแจกแจง D หมายถึง คะแนนผลตา่ งระหว่างการทดสอบหลังการทดลองกับก่อนการทดลอง ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบทักษะการฟังก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านต้าหลวง (ต้าประชานุกูล) อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการสอนโดยใช้ กิจกรรมเพลงภาษาองั กฤษ

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล

29

ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบทักษะการฟังก่อนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน บ้านต้าหลวง (ต้าประชานุกูล) อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย โดยการใช้กิจกรรมเพลง ภาษาองั กฤษ

ตารางที่ 1 คะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรียนและคะแนนผลต่างทแ่ี สดงความก้าวหนา้ ของทักษะการ ฟังก่อนและหลงั เรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนบา้ นตา้ หลวง (ต้าประชานุกลู )

นักเรียน คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน คะแนนผลต่าง คนท่ี Pre-test Post-test (D) (40) (40) 1 15 17 32

2 20 36 16

3 16 38 22

4 18 30 12

5 19 35 16

6 19 37 18

7 16 29 13

8 20 36 16

9 20 37 17

จาก ค่าเฉลี่ย 18.33 34.44 16.11 ตารางที่

1 พบว่าคา่ เฉล่ยี ของคะแนนก่อนเรยี นเทา่ กับ 18.33 คา่ เฉล่ียหลังเรยี นเทา่ กับ 34.44 และผลคะแนนความต่าง

ระหวา่ งก่อนเรยี นและหลังเรียนเท่ากบั 16.11

30

ตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน บ้านต้าหลวง (ต้าประชานุกูล) อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย โดยการใช้กิจกรรมเพลง ภาษาอังกฤษ

การทดสอบ S.D. t Sig.(1-tailed)

ก่อนเรยี น 18.33 1.66 15.58 2.55 26.68* 0.0000

หลงั เรียน 34.44 3.28

**มีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ .05

จากตารางที่ 2 พบว่า การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มี คะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 18.33 คะแนน และ 34.44 คะแนน ตามลำดบั และเมอ่ื เปรยี บเทียบระหว่างคะแนนก่อน และหลงั เรียน พบวา่ คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรยี นสูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .05

ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีต่อการสอนโดยใช้กิจกรรมเพลง ภาษาอังกฤษ

ตารางที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการสอนโดยใช้ กจิ กรรมเพลงภาษาอังกฤษ

รายการ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบน แปลผล มาตรฐาน 1. ความเหมาะสมของระยะเวลาของการทำกจิ กรรมในช้ันเรยี น มากทส่ี ุด 2. ความสอดคล้องของเวลากับเนื้อหาทสี่ อน 4.54 0.51 มาก 3. ระยะเวลาของของการทำกิจกรรม และการเรยี น มาก 4. ความน่าสนใจของเน้อื หาและกจิ กรรม 4.15 0.75 มาก 5. สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรยี นมีความเหมาะสมต่อการ 4.35 0.75 เรยี นรู้ 4.19 0.73

4.19 0.75 มาก

6. ความเหมาะสมของอปุ กรณ์การเรียนรู้ 4.23 0.95 มาก 7. ความพรอ้ มของสื่อการเรียนการสอน 4.23 0.80 มาก 8.ครูผูส้ อนจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดส้ อดคลอ้ งกบั เนื้อหา 4.38 0.71 มาก

31

รายการ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ยี งเบน แปลผล มาตรฐาน 9.ครูผ้สู อนกระต้นุ ผเู้ รียนใหเ้ กิดความกระตอื รือร้นในการเรียน 4.54 มากทสี่ ดุ 10.ครผู สู้ อนเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนมีส่วนรว่ มในช้ันเรียน 4.42 0.65 มาก 4.32 มาก คา่ เฉลีย่ รวม 0.76

0.23

จากตารางที่ 3 พบว่า แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการสอนโดยใช้ กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( x = 4.32) เมื่อพิจารณารายข้อ ข้อที่มีความพึง พอใจในระดับมากที่สุด ได้แก่ ความเหมาะสมของระยะเวลาของการทำกิจกรรมในชั้นเรียน ( x = 4.54) และ ครผู ้สู อนกระต้นุ ผเู้ รียนให้เกดิ ความกระตือรือรน้ ในการเรียน ( x = 4.54) ระดบั มากได้แก่ความสอดคล้องของ เวลากบั เนือ้ หาที่สอน ( x =4.15) ระยะเวลาของของการทำกจิ กรรมและการเรยี น ( x = 4.35) ความนา่ สนใจ ของเนื้อหาและกิจกรรม ( x = 4.19) ความเหมาะสมของอุปกรณ์การเรียนรู้ ( x = 4.23) ความพร้อมของสื่อ การเรยี นการสอน ( x = 4.23) และ ครผู ู้สอนจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดส้ อดคล้องกับเนือ้ หา ( x = 4.38) และ ครูเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นมสี ่วนรว่ มในชน้ั เรียน ( x = 4.42)

32

บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจยั เรือ่ งการพฒั นาทกั ษะการฟงั ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรยี นบ้านต้า หลวง (ต้าประชานุกูล) อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการสอนตามแผนการสอนโดยการใช้กิจกรรมเพลง ภาษาองั กฤษเพ่ือพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษ ผู้วจิ ยั ได้เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ ผนการสอนโดยการ ใชก้ จิ กรรมเพลงภาษาอังกฤษเพื่อพฒั นาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษจำนวน 4 แผน แบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียนและแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนที่มีต่อการสอนตามแผนการสอนโดยการใช้กิจกรรม เพลงภาษาอังกฤษ กับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 9 คน แล้วนำมาประมวลผลทางสถิติ ซ่ึงผู้วิจัยได้ สรปุ อภิปรายผล และเสนอแนะไว้ดงั ต่อไปนี้

สรปุ ผลการวจิ ัย การวจิ ยั คร้ังน้ีสรปุ ผลการทดลองได้ ดงั นี้ 1. ทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านต้าหลวง (ต้า

ประชานุกูล) โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษสูงขึ้นกว่าก่อนการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษ ผลการ ทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี นของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 มีคะแนนเฉลย่ี เท่ากับ 18.33 คะแนน และ 34.44 คะแนน ตามลำดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนสอบหลัง เรยี นของนักเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการสอนตามแผนการสอนโดยการใช้ กิจกรรมเพลงภาษาองั กฤษเพ่ือพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก

อภิปรายผลการวจิ ัย จากผลการวิจัยพบว่า ทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน

บ้านต้าหลวง (ต้าประชานุกูล) โดยการใช้กิจกรรมเพลงภาษาอังกฤษสูงขึ้นกว่าก่อนการใช้กิจกรรมเพลง ภาษาองั กฤษ ผลการทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 มคี ะแนนเฉล่ียเท่ากับ 18.33 คะแนน และ 34.44 คะแนน ตามลำดบั และเมือ่ เปรยี บเทียบระหวา่ งคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนสอบหลงั เรยี นของนักเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 สอดคลอ้ งกับงานวิจัย ของบุษกร ภูภักดี (2557) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการฟังและเจตคติต่อการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มโรงเรียนมิตรภาพ และกลุ่มโรงเรียนพระนอน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาสิงห์บุรีโดยใช้เพลงประกอบการสอน ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยใช้เพลง ประกอบการสอนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ความสามารถในการฟัง ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนแบบปกติหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .01 ความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ที่ได้รับ

33

การสอนโดยใช้เพลงประกอบการสอนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดบั .01 ท้ังน้ี การทท่ี กั ษะการฟังเพม่ิ ขน้ึ เพราะการเรยี นรผู้ ่านกิจกรรมเพลงจะทำใหน้ ักเรยี นสนุกสนาน และ ยังสามารถใช้กระต้นุ ผูเ้ รียนให้เกิดความสนใจในเน้อื หาท่ีเรียนมากขน้ึ นอกจากน้ียงั สามารถเพิ่มบรรยากาศที่ดี ให้กับหอ้ งเรยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 ที่มีต่อการสอนตามแผนการสอนโดยการใช้กจิ กรรม เพลงภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะด้านการฟังภาษาอังกฤษโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของสุภรณ์ ตั้งตระกูล (2548) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การศึกษาผลการสอนตามแนวการสอนเพื่อการ สื่อสารโดยใช้เพลงประกอบการสอนที่มีต่อความสามารถในการฟังและเจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษอง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า เจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่ม ทดลองหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิท่ีระดบั . 05 ท้งั นี้การทีน่ กั เรียนมีความพึงพอใจมาก เพราะการใช้เพลงประกอบการสอนจะชว่ ยทำให้บทเรียนน่าสนใจ สนุกสนานเพลิดเพลิน ช่วยสรา้ งแรงจูงให้แก่ นักเรียนในการเรียน ช่วยให้จดจำเนื้อหาและประทับใจความรูสึกไว้ได้นาน และการใช้เพลงยังช่วยส่งเสริม พฒั นาการทุกดา้ นของเด็ก สร้างระเบยี บวินัย ประสบการณ์ และสร้างสัมพันธภาพท่ีดรี ะว่างครกู ับนกั เรยี น

ข้อเสนอแนะจากการวจิ ัย ข้อเสนอแนะจากการวจิ ัย 1. สื่อที่ใช้ควรมีความหลากหลายในเลือกใช้ และสื่อควรที่จะดึงดูดและกระตุ้นความสนใจผูเ้ รยี น

เพ่ือให้ผเู้ รียนเกดิ ความกระตือรอื ร้นในการเรยี นมากข้นึ

ขอเสนอแนะเพอื่ การวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป 1. การวิจัยครั้งน้ีมีข้อจำกัดด้านเวลาในการสอน ดังนั้นการวิจัยครั้งต่อไปควรเพิ่มระยะเวลาใน

การทดลองให้มากข้ึน

34

บรรณานกุ รม

การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง (Listening skill). (ม.ป.พ.). สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2562, จาก https://kruroseprofile.wordpress.com/curriculum-2/listening-skill/

กศุ ยา แสงเดช. (2545). แบบฝึก คมู่ อื พัฒนาส่ือการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ระดับประถมศึกษา. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทสำนักพมิ พ์แมค็ จำกัด.

เจียรนัย พงษิศวาภัย. (2540). เรียนภาษาจากเพลง: ในแนวคิดและเทคนิควิธีการสอนภาษาอังกฤษระดับ มธั ยมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ณรงค์ กาญจนะ. (2553). เทคนิคและทักษะการสอนเบื้องต้น.โปรแกรมวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา. กรงุ เทพฯ: จรลั สนิทวงศก์ ารพมิ พ์

ธรี ะศักดิ์ วดีศริ ศิ ักด์.ิ (2540). การวิเคราะหเ์ พลงไทยสากลของบริษัท อาร์ เอส โปรโมช่ัน 1998 จำกดั ระหวา่ ง ปีพ.ศ. 2537- พ.ศ. 2539. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริทร์ทรวโิ รฒ. ถา่ ยเอกสาร.

บษุ กร ภูภกั ด.ี (2557) การพัฒนาความสามารถในการฟังและเจตคติต่อการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โดยใชเ้ พลงประกอบการสอน . มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตร/ี ลพบรุ ี. 04.pdf

ปรมัตถ์ จันทพันธ์ (2559). “การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยการสอนโดยใช้บทเพลงและการสอนแบบปกติ” วิทยานิพนธ์ปริญญาศกึ ษามหาบณั ฑติ .ม.ป.พ.

ประภัสสร พึ่งอินทร์ (2552). “การพัฒนาชุดการเรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการฟัง การพูดภาษาอังกฤษโดยใช้ เพลงสำหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นชายเขาวิทยา อำเภอเมืองอตุ รดิตถ์”วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญา ศกึ ษามหาบัณฑิตมหาบัณฑติ . ม.ป.พ.

แป้ง ปุง. (2555). การจัดการเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาทักษะการฟัง (Listening skills). สืบคน้ 6 ธนั วาคม 2562, จาก http://pangpoong.blogspot.com/p/listening-skills.html

พรพิมล ริยาย, และ ธนางกูร ขำศรี (อ้างถึงใน ดวงเดือน แสงชัย, 2533: 12). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนการฟัง การพูด ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชินีบูรณะ ที่สอนโดยใช้ เพลงกับ การสอนแบบปกต(ิ รายงานผลการวิจัย). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.

มาศสุภา มายอด (ม.ป.ป.).ประเภทของการฟัง. สืบค้นเมื่อ 6/12/2559,จาก http://wow.in.th/b9qw ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมี บุ๊คส์ พับลเิ คช่ันส.์ แรมสมร อยสู่ ถาพร. (2538). เทคนคิ และวธิ สี อนในระดับประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . วจิ ิตร อาสะกลุ . (2534). เทคนิคการประชาสัมพนั ธ.์ กรงุ เทพฯ : โอ เอส พร้นิ ทิง เฮาส์.

35

บรรณานกุ รม (ตอ่ ) วนั วสิ าข์ ทองเพง็ . (2554). การใชเ้ พลง. สบื ค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2562, จาก http://wanwisa1.blogspot.com/p/blog-page_6537.html วิโรจน์ ปะรัมย์ และ เทพพร โลมารักษ์. (2561). ผลการใช้กิจกรรมเพลงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟัง-

พูดภาษาองั กฤษและความรู้ คำศัพท์ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี2. กรุงเทพฯ: (ม.ป.พ.) วริยา ศรีสวัสดิ์. (2554). การเปรียบเทียบความสามารถด้านการฟังพูดและเจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษ

ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมกับการใช้เพลง. (วิทยานิพนธ์ ม ห า บ ั ณ ฑ ิ ต ) . ล พ บ ุ ร ี . ม ห า วิ ท ย า ล ั ย ร า ช ภ ั ฎ เ ท พ ส ต ร ี . ส ื บ ค ้ น จ า ก http://mis.nrru.ac.th/gradjournal/uploadify/uploads/Test/1%2027-10-14%2009-21- สมยศ เม่นแยม้ .(2543). คมู่ ือครูไทยสอนภาษาอังกฤษ. (ม.ป.ท. : ม.ป.พ.). สุภรณ์ ตั้งตระกูล. (2548). “การศึกษาผลการสอนตามแนวการสอนเพื่อการสื่อสารโดยใช้เพลงประกอบการ สอนท่มี ตี ่อความสามารถในการฟังและเจตคติต่อการเรยี นภาษาอังกฤษองนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6”.วิทยานิพนธป์ รญิ ญาศกึ ษามหาบัณฑติ . มหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครสวรรค์. สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2542). ความหมายของเพลง. สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2562, จาก https://bit.ly/2TsYAQt สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน.์ (2550). การสอนระดับประถมศึกษา 2. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อรสา กุมารีปกุ หุต. (2521, เมษายน). ครชู ่วยคิด : การสอนเพลงแกเ่ ดก็ . วิทยาสาร. ปที ี่ 29: 34 – 35. อริยะ สพุ รรณเภษชั . (2546). เพลงกลอ่ มเด็ก. (ม.ป.ท : ม.ป.พ.) Adawiyah, A. (2016). The Effectiveness of Popular Songs in Improving Students’ Listening Skill. Thesis. Bachelor of Education. Jakarta: Syarif Hidayatullah State Islamic University. Apin DadangSolihat andPrita Lusiana Utami. (2014). IMPROVINGSTUDENTS’ LISTENINGSKILLBY USINGENGLISH SONGS. ENGLISH REVIEW: Journal of English Education ISSN 2301-7554 ISSN 2301-7544. Vol. 3, Issue 1, December 2014. From http://journal.uniku.ac.id/index.php/ERJEE Hidayat. (2013). The use of song in teaching students’ listening ability. Journal of English and Education 2013, 1(1), 21-29. Finocchiaro, M. and Brumfit, C. (1983). The functional-Notional Approach: From Theory to Practice. New York: Oxford University Press. Kristina, M. (2016). The Use of English Song as a Teaching Media in Improving Listening Skill. Thesis. Bachelor of Education. Bandung. Pasundan University.

36

บรรณานกุ รม(ตอ่ ) Omid Pourkalhor and Mina Akhavan Tavakoli.(2017). Impact of Nursery Rhymes on Iranian EFL

Learners’ Listening Comprehension Skill Improvement-A Study. International Journal of English Language & Translation Studies. From www.eltsjournal.org Shofiyah. (2015). The Use of Children Songs to Improve Student’s Listening Skills. Thesis. Bachelor of Education. Semarang. State Islamic University.

37

ภาคผนวก

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) เรือ่ ง Weather and Seasons

38

Direction: Listen to the music and fill in the blanks. 'SEASONS SONG’

If you know all the ___________, clap your hands In the spring the grass is growing If you know all the seasons, clap your hands And a gentle breeze is blowing If you know all the seasons And a ___________ sun is glowing Shout “HURRAY” You’ve got four terrific reasons If you really love the ___________, stomp your feet To ___________ out and name the seasons If you really love the summer, stomp your feet Clap your hands In the summer you can play If you really love the ___________, And ___________ and camp and fish all day go like this “BRRR” Oh summer please don’t go away If you really love the winter, Stomp your feet go like this “BRRR” If you really love the ___________, slap your knees Because winter is the season If you really love the autumn, slap your knees When your ___________ is always freezing When it’s beginning to get cold And you’re shivering and sneezing And the leaves turn red and gold Go like this “BRRR” Then it’s back to ___________ you go In the ___________ you run and play and shout slap your knees “HURRAY” In the spring you run and play and shout “HURRAY

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เรอื่ ง Weather and Seasons (Answer)

39

Direction: Listen to the music and fill in the blanks.

'SEASONS SOINn the spring the grass is growing

If you know all the seasons, clap your hands And a gentle breeze is blowing

If you know all the seasons, clap your hands And a warmer sun is glowing Shout “HURRAY”

If you know all the seasons 'SEASONS SONG LIIffYRyyooICuuS'rreeaallllyy love the summer, stomp your feet You’ve got four terrific reasons love the summer, stomp your feet

TIfoyoshuokuntoowutalalntdhenasemaesotnhse, scelaapsoynosur hands In the supmrinmg ethr eyoguracssanispglraoywing

CIflyaopuyoknuor whaanldl sthe seasons, clap your hands And aswgiemntalendbrceaemzep iasnbdlofiwshinagll day

If you krenaolwly alollvtehtehseewasiontnesr, Oh summer please don’t go away

gYouli’kveetghoist “foBuRrRtRe”rrific reasons SAtnodmapwyaorumrefer estun is glowing Shout “HURRAY”

TIfoyoshuoruetalolyutloavned tnhaemweinttheer, seasons If you really love the saumtumenr,, ssltaopmypouyrouknr efeest

gColalpikyeotuhrish“aBnRdRsR” If you really love the saumtumenr,, ssltaopmypouyrouknr efeest

BIfeycoauusreawlliyntleorveis the wseinatseorn, IWnhtehne istu’smbmeegirnynoinugctaongpeltacyold

Wgohleikneytohuisr “nBoRsReRi”s always freezing And tshweimleanvdesctaumrnpraenddafnisdhgaolldday

AIfnydouyoreua’rlelyslhoivertinhgeawnidntsenr,eezing TOhhesnuimt’ms bearcpkletoassechdoonl’tygoouagwoay

Ggoolliikkeetthhiiss ““BBRRRRRR”” sSltaopmypouyor uknr efeeest

BInecthaeusseprwiningtyeor uisrtuhneasnedaspolnay and shout If you really love the autumn, slap your knees