ต วอย างรายงานเร องประว ต ศาสตร ชาต ไทย ม.ปลาย กศน

รายงานการศึกษาวิจัย สภาพการจัดการเรียนการสอน วิชา ประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานการศกึ ษาวจิ ัย สภาพการจดั การเรยี นการสอน วิชาประวัตศิ าสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรียนรู้ สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ 1

372.89 รายงานการศกึ ษาวิจยั เรื่อง สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ ส 691 ร ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กรุงเทพฯ: 2564 91 หนา้ ISBN (E-book) : 978-616-270-335-5 1. สภาพการจัดการเรยี นการสอน 2. วชิ าประวัติศาสตร์ 3. ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รายงานการศกึ ษาวิจยั เรอ่ื ง สภาพการจดั การเรยี นการสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สงิ่ พมิ พ์ สกศ. ลาดบั ท่ี 81/ 2564 ISBN (e – book) 978-616-270-335-5 จดั ทา เรยี บเรียง และเผยแพร่ กลุ่มพฒั นานโยบายด้านการมสี ่วนรว่ มและสมัชชาการศกึ ษา และกลุ่มพัฒนานโยบายด้านการเรยี นรู้ สานักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้ สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 99/20 ถนนสุโขทยั เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2668-7123 ตอ่ 2522 โทรสาร 0-2243-1128 เวบ็ ไซต์ http://www.onec.go.th ปกและภาพประกอบ design by canva. 1

คานา การศึกษาวิจัย เรื่อง สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหน่ึงในนโยบาย quick win ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) ที่ได้ มอบหมายให้ทกุ หนว่ ยงานในกระทรวงศกึ ษาธิการดาเนินการเกยี่ วกบั เรื่องการศึกษาประวัติศาสตร์ตามบทบาท และภารกิจของหน่วยงาน สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาโดยสานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการ เรยี นรู้ จึงไดด้ าเนินการศึกษาวิจัยเรื่องเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ในลักษณะการวิจัย คู่ขนานกับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนท่ีจะต้องจัดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงการวิจัยมี วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับประถมศึกษาและ มธั ยมศกึ ษา และจัดทาเป็นขอ้ เสนอแนะทีม่ ีประสทิ ธิภาพในการจดั การเรียนการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเน้นศึกษาแบบประเมินสภาพจริงของการจัดการเรียนการสอนในด้านผู้เรียน ครูผู้สอน หลักสูตร วิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ส่ือ/ อุปกรณ์การเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และประเด็นอน่ื ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ สานักงานฯ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากหลายภาคส่วนในการให้ข้อมูลทั้ง เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยข้อมูลเชิงปริมาณจัดทาเป็นแบบสอบถามออนไลน์สอบถามไปยังสถานศึกษา ทุกสังกัดทั่วประเทศ และข้อมูลเชิงคุณภาพมาจากข้อเสนอแนะเพิ่มเติม การสนทนากลุ่มย่อยครูผู้สอนและ ผู้เรียน รวมถึงการปรึกษาหารือผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีความเช่ียวชาญด้านประวัติศาสตร์ในแขนงต่าง ๆ อย่างไรก็ดี ในอดีตสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้เคยมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวข้องกับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ พบปัญหาร่วมสมัยของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสต ร์ ได้แก่ ผู้เรียนไม่เห็นความสาคัญของวิชาประวัติศาสตร์ การจัดเวลาสอนในหลักสูตรที่ไม่เพียงพอ ทาให้ไม่ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ครบถ้วนตามเน้ือหาและไม่สามารถลงลึกในรายละเอียด ส่ือการเรียนการสอน ไม่เพียงพอ สถานศึกษาให้ความสาคัญน้อยและไม่ค่อยจัดสรรงบประมาณเพ่ือจัดหาส่ือในกลุ่มสาระ ประวตั ิศาสตร์ รวมทัง้ ครูท่ีสอนวชิ าประวัติศาสตร์เองกไ็ มไ่ ดจ้ บการศกึ ษาวิชาเอกประวัติศาสตร์โดยตรง เป็นต้น ซ่ึงจากสภาพปัญหาในอดีตที่เคยศึกษาวิจัยถือว่า การจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในประเทศยังไม่ ประสบความสาเร็จเทา่ ท่คี วร ในปี 2564 จึงถือได้ว่าเป็นปีแห่งประวัติศาสตร์ที่ทุกฝ่ายหันมาให้ความสนใจต่อการพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และความ ตอ้ งการของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการศึกษาวิจัย ทางการศึกษาของประเทศ จึงมุ่งหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ข้อมูลจากการศึกษาวิจัย รวมถึง เอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ ช่วยให้เกิดการเปล่ียนแปลงท้ังในระดับนโยบายและ ระดบั ปฏบิ ตั ิ เกิดการวางรากฐานใหม่ของการจัดการศกึ ษาวิชาประวตั ศิ าสตร์ให้มีความ น่าสนใจ เปิดโอกาสให้มีคิดวิเคราะห์ ถกแถลงประวัติศาสตร์ในหลากหลายแง่มุมบน ข้อเท็จจริง และเกิดชุดความคิดหรือองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการแลกเปล่ียน เพ่ือนา วิธีการบนชุดความคิดไปใช้เป็นฐานในการดาเนินชีวิต สาหรับการเป็น “คนไทย” ทจี่ ะใชช้ ีวติ ต่อไปใน “ประเทศไทย” (นายอานาจ วชิ ยานุวัติ) เลขาธกิ ารสภาการศึกษา 2

สารบัญ คานา หนา้ บทสรุปผู้บริหาร 1 บทนา 8 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 8 วิธดี าเนนิ การวจิ ยั 8 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 9 เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการศกึ ษาวิจยั 9 การเก็บรวบรวมข้อมูล 9 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 10 ผลการศึกษาเอกสาร 12 12 ความหมาย ความสาคัญ และคณุ ค่าของประวัตศิ าสตร์ 14 พฒั นาการของหลกั สตู รวชิ าประวัติศาสตร์ 19 สภาพการจดั การเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ 21 ข้อเสนอเพอ่ื พัฒนาการจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตร์ ผลการศึกษาวจิ ยั 27 27 การศกึ ษาวิจยั เชิงปรมิ าณ 43 การศึกษาวจิ ัยเชงิ คุณภาพ ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับ 47 การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน เอกสารอ้างองิ 52 ภาคผนวก 54 60 สภาพการจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตร์ในตา่ งประเทศ 65 ขอ้ มูลจากครผู ู้สอนและผู้เรยี น 71 ข้อมลู จากการสัมภาษณ์เชงิ ลึก 77 ขอ้ มลู จากการประชมุ มหกรรมการศึกษาไทย 79 การประชมุ สนทนากลุม่ ยอ่ ย (Focus Group) 81 รูปภาพการประชุมมหกรรมการศึกษาไทย คณะผ้จู ัดทา 3

สารบญั ตาราง ตารางที่ 1 ตารางสรุปแนวทางการศกึ ษาวจิ ัย หนา้ ตารางที่ 2 ความสาคญั /จาเปน็ ความชอบ ความตอ้ งการสอนในวิชาประวตั ศิ าสตร์ 10 ตารางท่ี 3 ความพร้อมในการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ 32 ตารางที่ 4 ความเหมาะสมของนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่เก่ียวข้องกับการจัดการ 35 เรยี นการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ 36 ตารางที่ 5 การจดั การเรยี นรูใ้ นรายวิชาประวัติศาสตร์ในช่วง 3 ปีการศึกษาท่ีผ่านมา (2562 – 2564) 37 ตารางที่ 6 ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ การจัดการเรยี นการสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ ตารางที่ 7 สภาพการจดั การเรียนการสอนในตา่ งประเทศ 42 ตารางท่ี 8 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของครูผู้สอนท่ีมีต่อสภาพการจัดการเรียนการ 54 สอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 60 ตารางท่ี 9 ข้อคดิ เห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของผู้เรียนท่ีมีต่อสภาพการจัดการเรียนการสอน วชิ าประวัตศิ าสตร์ ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 63 4

สารบัญรปู ภาพ ภาพท่ี 1 หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ หนา้ ภาพที่ 2 หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ 12 ภาพท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 13 ภาพที่ 4 หลกั สตู รประโยคประถมศึกษาตอนปลาย พทุ ธศกั ราช 2503 15 ภาพท่ี 5 หลักสูตรประถมศึกษา พทุ ธศกั ราช 2521 16 ภาพที่ 6 หลกั สูตรมัธยมศึกษาตอนตน้ พุทธศกั ราช 2521 16 ภาพที่ 7 หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 17 ภาพท่ี 8 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 17 ภาพท่ี 9 เพศของผู้ตอบแบบสอบถาม (ครผู ู้สอน) 18 ภาพท่ี 10 อายขุ องผตู้ อบแบบสอบถาม 28 ภาพที่ 11 ระดับการศกึ ษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 28 ภาพที่ 12 ประสบการณ์การทางานของผู้ตอบแบบสอบถาม 29 ภาพที่ 13 ข้อมูลโรงเรยี นของผู้ตอบแบบสอบถาม 29 ภาพที่ 14 สาขาวิชาเอกท่ีจบของผู้ตอบแบบสอบถาม 30 ภาพที่ 15 ระดับช้นั ที่สอนของผู้ตอบแบบสอบถาม 30 ภาพท่ี 16 งานอื่นทไี่ ด้รบั มอบหมายของผู้ตอบแบบสอบถาม 31 ภาพที่ 17 การได้รบั ความรู้ หรือ การฝกึ อบรมเก่ยี วกบั การสอนประวตั ิศาสตร์ 31 ภาพที่ 18 การได้รับความรู้/การฝึกอบรมด้านการออกแบบการสอนและวิธีการสอนของวิชา 33 ประวัติศาสตร์ 33 ภาพท่ี 19 การได้รับความรู้/การฝึกอบรมด้านการฝึกปฏิบัติ กิจกรรมในชั้นเรียน การนา ความรทู้ ่ีเรียนไปปฏบิ ตั ิในชัน้ จรงิ หรอื การฝกึ สอน 34 ภาพท่ี 20 การไดร้ ับความรู้/การฝกึ อบรมดา้ นการผลติ และใช้สอ่ื การสอนวชิ าประวัติศาสตร์ ภาพที่ 21 การไดร้ ับความรู้/การฝึกอบรมด้านการวัดและประเมนิ ผลในวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 34 ภาพท่ี 22 ความเหมาะสมของหลกั สูตรวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 35 ภาพท่ี 23 เพศของผูต้ อบแบบสอบถาม (ผเู้ รียน) 36 ภาพท่ี 24 ระดับชั้นทีศ่ ึกษาของผูต้ อบแบบสอบถาม 38 ภาพที่ 25 การเหน็ ความสาคญั ของวชิ าประวตั ศิ าสตรข์ องผตู้ อบแบบสอบถาม 39 ภาพท่ี 26 การเห็นความจาเป็นของวิชาประวตั ศิ าสตร์ของผ้ตู อบแบบสอบถาม 39 ภาพที่ 27 ความชอบทมี่ ีตอ่ วิชาประวัตศิ าสตรข์ องผู้ตอบแบบสอบถาม 40 27 1

บทสรปุ ผู้บริหาร การศึกษาวิจัย เรื่อง สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นหนึ่งในนโยบาย quick win ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) ท่ีได้ มอบหมายให้ทกุ หน่วยงานในกระทรวงศึกษาธิการดาเนนิ การเกี่ยวกบั เร่ืองการศึกษาประวัติศาสตร์ตามบทบาท และภารกิจของหน่วยงานสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยสานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการ เรียนรู้จึงได้ดาเนินการศึกษาวิจัยเรื่องเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ในลักษณะการวิจัย คู่ขนานกับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนท่ีจะต้องจัดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระหว่างเดือน มิถุนายน – กันยายน พ.ศ. 2564 การศึกษาวิจัยฯ ดังกล่าวได้รับความสนใจอย่างมากจากทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ครูผู้สอน ผู้เรียน และภาคประชาสังคม ซ่ึงความสนใจใน ประเด็นการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์สะท้อนจากจานวนข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามท่ีได้รับจาก ครผู ู้สอนจานวน 10,884 คน และผู้เรียนจานวน 60,887 คน ทว่ั ประเทศ รวมถึงการได้รับความอนุเคราะห์จาก ผูท้ รงคณุ วุฒิ ผู้เช่ียวชาญ อาทิ ศาสตรจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ดร.วิเชียร เกตุสิงห์ ดร.เฉลิมชัย พันธ์เลิศ ผศ.ดร.พพิ ฒั น์ กระแจะจันทร์ และอาจารยป์ ิง เจริญศิริวัฒน์ (อาจารย์ปิง ดาว้องก์) ในการให้ข้อเสนอแนะและ ขอ้ คดิ เหน็ เพอื่ พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนประวตั ิศาสตร์ ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน การศกึ ษาวิจัยฯ ประกอบดว้ ยวตั ถุประสงค์หลักสาคญั คอื การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และจัดทาเป็นข้อเสนอแนะท่ีมีประสิทธิภาพในการจัดการ เรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยเน้นศึกษาแบบประเมินสภาพจริงของการ จดั การเรยี นการสอนในดา้ นผ้เู รยี น ครูผสู้ อน หลกั สูตร วธิ ีการจัดการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล ส่ือ/ อุปกรณ์การเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้มี การศึกษาวิจยั เร่ืองการจัดการเรยี นการสอนวชิ าประวัติศาสตร์ฯ ไว้เม่ือปี 2551 พบปัญหาสาคัญหลายประการ ท่ีเป็นปญั หาตอ่ เน่อื งมาจนถงึ ปัจจุบนั อาทิ ผเู้ รียนไม่เหน็ ความสาคัญของวชิ าประวตั ิศาสตร์ การจัดเวลาสอนใน หลักสูตรท่ีไม่เพียงพอ ส่ือการเรียนการสอนไม่เพียงพอ สถานศึกษาให้ความสาคัญน้อยและไม่ค่อยจัดสรร งบประมาณเพื่อจัดหาส่ือในกลุ่มสาระประวัติศาสตร์ รวมท้ังครูที่สอนประวัติศาสตร์เองไม่ได้จบการศึกษา วิชาเอกประวัติศาสตร์โดยตรง เป็นต้น คาถามสาคัญท่ีต้องกลับมาทบทวนและทางานอย่างหนักร่วมกันต่อไป คือ “เพราะเหตุใด ปัญหาเหล่านี้ยังคงอยู่” “ทุกภาคส่วนของสังคมได้มีการดาเนินการเพ่ือพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์อย่างจริงจังหรือไม่” เพ่ือท้ายที่สุดแล้ว ภาพอนาคตของประเทศจะถูกสร้าง จากความร่วมมือของทุกภาคส่วนในสังคมรวมถึงวิชาประวัติศาสตร์จะกลายเป็นศาสตร์ท่ีสามารถกาหนด จติ สานึกและวิธคี ดิ ของคนในสงั คมได้อย่างแท้จริง ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พบวา่ จากการสนทนากลมุ่ (Focus Group) ทง้ั กลุ่มครผู ้สู อนและผู้เรียน (วันที่ 7 – 8 กันยายน 2564) ให้ข้อมูลท่ีสอดคล้องตรงกันว่า “กระทรวงศึกษาธิการยังไม่จริงจังที่จะให้นักเรียนเรียนรู้ ประวัตศิ าสตรท์ ้องถ่ิน ประวตั ศิ าสตรส์ งั คม และประวัตศิ าสตรภ์ ูมปิ ญั ญา เพ่ือเป็นจุดเริ่มต้นให้นักเรียนเข้าในใน รากเหง้าและภาคภูมิใจในความเป็นมาของตน” และเม่ือสอบถามครูผู้สอนและผู้เรียนนอกวงสนทนากลุ่ม ใน รูปแบบการเก็บข้อมูลทางโทรศัพท์ การส่งเอกสารให้แสดงความคิดเห็น พบเสียงสะท้อนจานวนมากจากท้ัง ครูผู้สอนและผู้เรยี นทมี่ คี วามคดิ เหน็ คลา้ ยคลงึ กนั ในประเด็นดงั กล่าว จากการศึกษาวิจัยฯ ทาให้พบปัญหารายด้านซึ่งในความเป็นจริงแล้ว คือ ปัญหาร่วมสมัยและมีความ คล้ายคลึงกับผลการศึกษาในอดีต การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีจึงได้กาหนดประเด็นท่ีจะศึกษาเรื่องสภาพการจัดการ 1

เรียนการสอนในด้านผ้เู รียน ดา้ นครูผู้สอน ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านหลักสูตร ด้านการ จัดการเรยี นการสอน ดา้ นการวัดและประเมินผล ด้านตาราเรียน สื่อ และอุปกรณ์การเรียนรู้ ด้านแหล่งเรียนรู้ ด้านการสนบั สนนุ และประเดน็ อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง สรปุ ผลการศกึ ษาไดด้ ังน้ี ด้านผเู้ รยี น พบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่เกินกว่าร้อยละ 80.0 มีความเห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์สาคัญ (ร้อย ละ 94.50) จาเป็น (ร้อยละ 89.40) และชอบเรียน (ร้อยละ 82.44) ทั้งน้ี การไม่เห็นความสาคัญ คิดว่าไม่ จาเป็นต้องเรียน และไม่ชอบเรียน อาจมีสาเหตุมาจากไม่ทราบจุดประสงค์และเห็นความสาคัญของการเรียน รวมถงึ ไมส่ ามารถเช่อื มโยงกับชีวติ ประจาวนั ได้ รวมถึงเนื้อหาสาระของการเรียนมีมากเกินไป และการเรียนการ สอนส่วนใหญ่เป็นแบบท่องจาไม่ได้มีการคิดวิเคราะห์ รวมถึงการให้ข้อมูลเพียงด้านเดียว การสอนเพียง ประวัติศาสตร์กระแสหลัก ทาใหเ้ รยี นแล้วเกดิ ความรู้สกึ เบือ่ หน่าย ไมอ่ ยากเรยี นและไมม่ ีแรงจูงทจ่ี ะเรียน ด้านครูผู้สอน พบว่า ครูผู้สอนเกินกว่าคร่ึง (ร้อยละ 51.30) เห็นว่า วิชาประวัติศาสตร์มีความสาคัญ และมีความจาเป็นท่ีจะต้องเรียน พร้อมท่ีจะสอน (ร้อยละ 59.30) โดยส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 70 ได้รับการ ฝึกอบรมเก่ียวกับการสอนวิชาประวัติศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม พบครูผู้สอนที่ตอบแบบสอบถามน้อยกว่า ครงึ่ หน่งึ ท่ียังคงชอบสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ (ร้อยละ 39.20) และต้องการที่จะสอนวิชานี้ต่อไป (ร้อยละ 36.50) ท้ังน้ี ผู้เรียนบางส่วนสะท้อนว่าระดับความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ส่งผลจาก ครูผู้สอน บางส่วนไม่เข้าใจบทบาทของตนเองว่า “ครู คือ ผู้ถ่ายทอด ผู้กากับ” การไม่เห็นความสาคัญของวิชา ประวัติศาสตร์ สอนไม่ตรงวิชาเอก ขาดประสบการณ์และความรู้ความเข้าใจในวิชาประวัติศาสตร์ที่ชัดเจน ส่งผลให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนในรูปแบบหรือวิธีการที่เหมาะสมกับโครงสร้างของหลักสูตรได้ ประกอบกับมีขอ้ จากัดเร่ืองงบประมาณและการสนับสนุนให้เข้ารับการอบรมเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน วชิ าประวัตศิ าสตร์ อยา่ งไรกด็ ี ครผู ู้สอนและผ้เู รียนสะท้อนความคิดเหน็ ใกล้เคยี งกันว่า ความรู้และความเข้าใน ใจเนื้อหาของครูผู้สอน ทัศนคติและบุคลิกภาพ รูปแบบและวิธีการสอนของครูผู้สอน ส่งผลโดยตรงต่อความ สนใจและความอยากเรยี นของผเู้ รยี น ด้านหลักสูตร รวมถึงนโยบายจากกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ พบว่า จากการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ครูและผู้เรียนส่วนใหญ่เห็นว่า หลักสูตรมีความเหมาะสม (ร้อยละ 74.3) แต่จากการเกบ็ ข้อมูลเชิงคณุ ภาพ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ สภาพปัญหาของหลกั สูตรฯ ว่า หลักสูตรเน้น รายละเอียดขอบข่ายของตัวช้ีวัดซึ่งส่งผลต่อเน้ือหาและสาระการเรียนรู้แกนกลางท่ีครูจะต้องจัดการเรียนการ สอน เน้ือหาสาระบางเร่ืองไม่สอดคล้องกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถถ่ายทอดให้ผู้เรียนเห็นภาพได้ ตัวชี้วัดแม้มีการลาดับของเนื้อหาท่ีดีทั้งประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากลแต่ขาดความต่อเนื่องของ เนื้อหา รวมถึงมาตรฐานและตัวชี้วัดขาดความเชื่อมโยงกับสาระอ่ืนและชีวิตประจาวันของผู้เรียน ส่งผลให้ ผเู้ รียนไม่เห็นคณุ คา่ ของส่งิ ทีเ่ รียนและกลายเปน็ วิชาทีน่ ่าเบ่อื ในท่สี ุด นอกจากนี้ ครูผสู้ อนและผเู้ รียนมีความเห็น วา่ หลักสูตรไมเ่ หมาะสมกับช่วงวัยและระดับของการเรียน มาตรฐานการเรียนรู้บางข้อยากต่อการนาไปปฏิบัติ ได้จริง รวมถึงในการจัดทาหลักสูตร หรือ การปรับหลักสูตรในแต่ละยุคสมัยไม่สามารถสะท้อน/แสดงให้สังคม เห็นว่าหลักสูตรเหล่านั้นมาจากการวจิ ัยและการรบั ฟังเสยี งของทุกภาคส่วนอยา่ งแทจ้ ริง ด้านการจัดการเรียนการสอน พบว่า ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์เป็น ปญั หาตอ่ เนอ่ื งมาจากหลักสตู ร ตาราเรียน/หนังสือ เน่ืองจากการจัดการเรียนการสอนต้องทาตามหลักสูตรการ เรยี นรู้ เนือ้ หาจากตาราเรียน/หนังสือ เมื่อสอบถามผู้เรียนถึงความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์จากการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับต่า เพียงร้อยละ 38.10 อย่างไรก็ดี จากการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่า ทั้งครูผู้สอนและผู้เรียนสะท้อนปัญหาท่ีน่าสนใจเกี่ยวกับการ จัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ การแยกวิชาประวัติศาสตร์ออกมาเป็นวิชาเด่ียว ส่งผลให้การ สอนขาดการบูรณาการกับเป้าหมายของวิชาสังคมท่ีเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนเป็นพลเมือง การจัดการเรียนรู้ 2

วชิ าประวตั ิศาสตรม์ กั เปน็ ประวัตศิ าสตร์ที่เกีย่ วข้องกับสถาบันและการทาสงคราม การสอนปัจจุบันยังไม่ได้เน้น การใหเ้ ด็กคดิ วเิ คราะหเ์ ทา่ ที่ควร สอนแบบ chalk and talk สอนตามแบบเรียนและท่องจา เน้นเน้ือหามากว่า วิธีการ ส่งผลให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับประวัติศาสตร์เป็นแบบท่องจามากกว่าความเข้าใจ ไม่สามารถ ลาดับเหตุการณเ์ ชอ่ื มโยงกับทางประวัติศาสตร์ได้ ขาดการเรียนรู้จากสถานท่ีจริงและแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย แตม่ บี างสว่ นทสี่ ะท้อนว่า ครูผู้สอนให้มีการวิเคราะห์ ตั้งคาถาม หาหลักฐานมายืนยัน นามาถกกันในห้องเรียน เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นแสดงความคิดเห็นและเปิดกว้างรับฟังความคิดเห็น สะท้อนให้เห็นว่า การจัดการเรียนการ สอนวิชาประวัตศิ าสตรข์ ึน้ อยู่กับการออกแบบของครูผู้สอนและสังกัดโรงเรียน นอกจากน้ี เม่ือได้เก็บข้อมูลจาก ครูผู้สอนบางส่วนเพ่ิมเติมผ่านการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์และผ่านแบบแสดงความคิดเห็นนั้น ได้สะท้อนถึง ปัญหาการเปิดกว้างทางวิชาการในเรื่องการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาส ตร์ในอีกมิติหนึ่งท่ีน่าสนใจว่า การมีข้อจากัดทางกฎหมายทาให้การพูดถึงเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีเปราะบาง หรือ เป็นประเด็นทางประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยหรือประเด็นทางสังคมไม่สามารถทาได้อย่างเต็มที่ ครูสังคมศึกษาและครูประวัติศาสตร์ มักหลีกเล่ียง การตอบถามที่เก่ียวขอ้ งกับประเดน็ อ่อนไหวเหลา่ น้ี หากทาใหเ้ รื่องเหล่านส้ี ามารถพูดคุยกันได้ในวงกว้างโดยถือ เปน็ การถกเถียงกนั ทางวชิ าการท่ีตั้งอยู่บนวิธีการทางประวัติศาสตร์โดยมีหลักฐานและข้อเท็จจริง จะทาให้การ จัดการเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตรม์ ีความนา่ สนใจมากยง่ิ ข้ึน นอกจากนี้ จากการสนทนากลุ่มย่อยครูผู้สอนและผู้เรียนรวมถึงการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิต่าง สะทอ้ นปัญหาท่ีน่าสนใจเกีย่ วกับการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ การแยกวิชาประวัติศาสตร์ ออกมาเป็นวิชาเดี่ยว ส่งผลให้การสอนขาดการบูรณาการกับเป้าหมายของวิชาสังคมท่ีเตรียมความพร้อมให้ ผเู้ รยี นเปน็ พลเมอื ง การจดั การเรียนรูว้ ชิ าประวัติศาสตร์มักเป็นประวัติศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับสถาบันและการทา สงคราม การสอนปัจจุบันยังไม่ได้เน้นการให้เด็กคิดวิเคราะห์เท่าที่ควร สอนแบบ chalk and talk สอนตาม แบบเรียนและท่องจา เน้นเนื้อหามากว่าวิธีการ ส่งผลให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เป็นแบบ ท่องจามากกว่าความเข้าใจ ไม่สามารถลาดับเหตุการณ์เชื่อมโยงกับทางประวัติศาสตร์ได้ ขาดการเรียนรู้จาก สถานที่จริงและแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย แต่มีบางส่วนท่ีสะท้อนว่า ครูผู้สอนให้มีการวิเคราะห์ ตั้งคาถาม หาหลักฐานมายนื ยนั นามาถกกนั ในห้องเรียน เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนแสดงความคิดเหน็ และเปิดกวา้ งรับฟงั ความ คดิ เห็น สะท้อนให้เห็นว่า การจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ข้ึนอยู่กับการออกแบบของครูผู้สอนและ สังกดั โรงเรียน ด้านการวัดและประเมินผล พบว่า เป็นปัญหาต่อเนื่องมาจากหลักสูตร ตาราเรียน/หนังสือ (เช่นเดียวกับปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน) จากการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณกลุ่มครูผู้สอนเรื่องการเปิด โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผล รวมถึงการวัดและประเมินผลท่ี หลากหลาย พบว่า ครูผ้สู อนสว่ นใหญม่ ากกวา่ ร้อยละ 90.13 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดแนว ทางการวัดและประเมินผลและวิธีการวัดและประเมินผลของครูผู้สอน ซึ่งสวนทางกับข้อมูลเชิงปริมาณกลุ่ม ผู้เรียนที่คณะผู้วิจัยได้รับ พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจกับการวัดและประเมินผลของครูผู้สอน เพียงร้อยละ 39.60 โดยให้ขอ้ มลู วา่ รปู แบบ / แนวทางการวัดและประเมนิ ผลของครูผู้สอนยังไม่มีความหลากหลายมากพอ เป็นการวัดประเมินผลท่ีมีคาตอบเดียว ประเมินเพียงความรู้ความเข้าใจ และไม่ได้มีการวัดทักษะของผู้เรียน เมื่อสอบถามผู้เรียนเฉพาะเจาะจงในแต่ละระดับจากการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม พบว่า ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา บางส่วนสะท้อนว่า การวัดประเมินผลยังเป็นการให้ท่องจาและนาไปสอบ บางคร้ัง ข้อสอบออกไม่ตรงกับเรื่องท่ีสอน บางคร้ังครูผู้สอนใช้วิธีการให้อ่านหนังสือและติวก่อนสอบ การสอบยังเป็น เรื่องการจา ขณะท่ี ผู้เรียนระดับประถมศึกษา บางส่วนสะท้อนว่า ครูผู้สอนมีทั้งสื่อสารและไม่สื่อสารถึงแนว ทางการวัดและประเมินผล ท้ังน้ี ผู้เรียนต้องการให้ครูผู้สอนสื่อสารและมีแนวทางการวัดและประเมินผลท่ี หลากหลาย เช่น การสอบย่อย / ทดสอบระหว่างเรียน - หลังเรียน (มีทั้งข้อกากบาทและข้อเขียน) สอบกลาง 3

ภาค / ปลายภาค การเก็บคะแนนจากใบงาน / รายงาน (แบบรายบุคคลและรายกลุ่ม) Portfolio สะสมผลงาน เป็นตน้ นอกจากนี้ จากการเก็บข้อมูลเพ่ิมเติมจากครูผู้สอน มีข้อค้นพบท่ีน่าสนใจ สะท้อนถึงการวัดและ ประเมินผลในระดบั ชาตทิ ี่ส่งผลกระทบตอ่ การวัดและประเมินผลในวชิ าประวัติศาสตร์ว่า การทดสอบระดับชาติ หรือ O-NET มักออกข้อสอบตามตามตัวชี้วัด ซ่ึงย้อนแย้งกับการจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินของ ครผู สู้ อน/สถาบันกวดวิชา ทอ่ี อกข้อสอบหรือเก็งข้อสอบตามหนังสือและตาราเรยี น ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นสว่ นใหญไ่ ม่ สามารถทาข้อสอบได้ ด้านตาราเรยี น ส่อื และอปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ พบว่า ในหลายภาคส่วนคิดเห็นตรงกันว่าเป็นปัญหา สาคัญและตอ้ งดาเนินการอย่างเรง่ ดว่ น และเป็น quick win ทห่ี ากดาเนนิ การสาเร็จจะส่งผลกระทบต่อด้านอื่น ด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลท่ีได้มาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกว่า “พบปัญหาสาคัญตั้งแต่การผลิต หนังสือเรียนหลายสานักพิมพ์ หนังสือเรียนท่ีไม่ได้มาตรฐานเพราะเน้ือหาเร่ืองเดียวกันแต่ให้ข้อเท็จจริงใน รายละเอียดแตกต่างกัน รวมท้ังเนื้อหาของแต่ละสานักพิมพ์ไม่เหมือนกันและการไม่เข้าใจถึงจุดมุ่งหมายท่ี แท้จริงของหนังสือเรียนวิชาประวัติศาสตร์... หนังสือเรียนท่ีมีอยู่ในปัจจุบันไม่ได้มีการไล่ข้อมูลตามเหตุการณ์ ใส่รายละเอียดเน้ือหาสาระที่ผู้เรียนต้องรู้มากเกินไปและไม่สาคัญ... และควรใส่ข้อมูลบุคคลสาคัญในการสร้าง ชาติกย็ งั จาเปน็ ต้องคงไวเ้ นือ่ งจากเปน็ แก่นสาระสาคญั ของการสรา้ งความเปน็ ชาติไทย...” เมื่อสอบถามครูผูส้ อนและผู้เรียนถงึ ความพึงพอใจท่ีมีต่อตาราเรียน สื่อ และอุปกรณ์การเรียนรู้ จากการ เกบ็ ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพ พบวา่ ยังไม่น่าพึงพอใจ เน่ืองจากปัญหาของหนังสือเรียนที่นามาสอนมา จากหลายสานกั พมิ พ์ มเี น้ือหาสาระท่ีไม่ได้มาตรฐานเพราะเนื้อหาเรื่องเดียวกันแต่ให้ข้อเท็จจริงในรายละเอียด แตกต่างกัน นอกจากน้ันครูผู้สอนได้สะท้อนเพ่ิมเติมในประเด็นเน้ือหาของแต่ละสานักพิมพ์ท่ีจัดพิมพ์ไม่ เหมอื นกันและการไมเ่ ข้าใจถึงจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของตาราเรียน ซ่ึงจุดมุ่งหมายที่แท้จริง คือ การทาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ นอกจากน้ี เนื้อหาในตาราเรียนไม่ได้มีการให้ข้อมูลในลักษณะเรื่องเล่า ท้ัง ๆ ที่ วิชา ประวัติศาสตร์เทคนิคสาคัญของการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ คือ การเล่าเรื่อง แต่หนังสือ เรียนท่ีมีอยู่ในปัจจุบันไม่ได้มีการไล่ข้อมูลตามเหตุการณ์ แต่เป็นเน้ือหาที่ระบุผลลัพธ์สุดท้ายของเรื่องราว เช่น สาเหตุของการเสียกรุงฯ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วควรเล่าเรื่องราวต้ังราวแต่เร่ิมต้น จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความ สนใจและอยากเรียนรู้มากย่ิงข้ึน และผู้เรียนบางส่วนยังสะท้อนว่า หนังสือและตาราเรียน มีเน้ือหาที่ไม่ ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของประวัติศาสตร์ ให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์เพียงด้านเดียว ประกอบกับปัญหาอื่น ๆ อาทิ การขาดส่ือการเรียนที่น่าสนใจ/ขาดแคลนอุปกรณ์ท่ีเอ้ือต่อการเรียน เช่น ขาดสัญญาณอินเทอร์เน็ต หรอื สถานศึกษาบางแหง่ ขาดแคลนโทรทศั น์สาหรับเปิดส่ือการเรียนซ่ึงมีไม่เพียงพอต่อทุกห้อง/ระดับ การขาด งบประมาณในการซอ่ มบารุงส่ือและอุปกรณ์การเรียนรู้ การเข้าถงึ สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ทเ่ี ข้าถึงไดย้ ากและไม่ หลากหลายหลาย นอกจากน้ี พบปัญหาที่ทับซ้อนกัน คือ ส่ือการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ท่ีดีอยู่ภายใต้ กระทรวงวัฒนธรรม ทาให้เกิดปัญหาในการนาสื่อมาใช้ เพราะกระทรวงวัฒนธรรมมุ่งเก็บอย่างเดียวไม่เปิด โอกาสใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนในวงการการศกึ ษา ด้านแหล่งเรียนรู้ พบว่า จากการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ครูผู้สอนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 95.33) มีการ สอดแทรกการสอนเร่ือง ภูมิปญั ญาไทย/ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน หรอื แหล่งเรยี นรู้ รวมถงึ ใชแ้ หลง่ เรียนรู้/ ภมู ปิ ญั ญา ท้องถ่ินในการจัดการเรียนการสอน แต่อย่างไรก็ตาม พบเสียงสะท้อนสาคัญเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ แหล่ง เรียนรู้มีน้อยและขาดความหลากหลาย ไม่มีแหล่งเรียนรู้ที่ตรงกับตัวชี้วัด ไม่มีงบประมาณสาหรับศึกษาแหล่ง เรียนรู้ มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เข้ากับยุคสมัยบ้างแต่ยังไม่มากเท่าท่ีควร ในต่างจังหวัดผู้เรียนเข้าถึงแหล่ง การเรียนรู้ได้ยาก เนือ่ งจากแหล่งเรยี นรอู้ ยไู่ กล นอกจากนี้ แหลง่ ขอ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์ขาดความเช่อื มโยงกนั 4

ด้านการสนับสนุนจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกต้นสังกัด พบว่า จากการเก็บ ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ครูผู้สอนให้ข้อมูลว่า ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด (ร้อยละ 75.86) และไม่ค่อยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก (ร้อยละ 45.62) ทั้งน้ี พบว่า ในบาง โรงเรียนยังขาดการสนับสนนุ จากผู้บรหิ าร และการไมใ่ หค้ วามสาคัญกับวิชาสังคมศึกษาและประวัติศาสตร์ โดย มีทัศนคติที่ว่า “วิชาประวัติศาสตร์ใคร ๆ ก็สอนได้ หรือ เป็นวิชาง่าย ๆ แค่ท่องจา ครูเปิดหนังสือสอนก็ได้ไม่ เหน็ ยากอะไร” นอกจากน้ี ขาดการจัดสรรงบประมาณเพ่ือศึกษาเรียนรู้ในรายวิชาประวัติศาสตร์และการศึกษา แหลง่ เรียนรจู้ รงิ ประเดน็ อื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง พบว่า สภาพปัจจุบัน ปัญหา และอุปสรรคของการจัดการเรียนการสอน วชิ าประวัตศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ (1) คะแนนรายวิชาประวัติศาสตร์อยู่ในระดับต่ามาก จากคะแนน O-NET ในรายวิชาสังคมศึกษาท่ี เนื้อหาข้อสอบต้องออกคละกันในวิชาภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หน้าท่ีพลเมือง ศาสนา และประวัติศาสตร์ พบว่า คะแนนในสว่ นของศาสนา เด็กทาได้มากที่สุด คิดเป็นคะแนนประมาณ 45 คะแนน รองลงมาคือ หน้าท่ี พลเมือง ภูมิศาสตร์ คิดเป็นคะแนนประมาณ 36 คะแนน เศรษฐศาสตร์ คิดเป็นคะแนนประมาณ 35 คะแนน โดยประวตั ิศาสตรเ์ ด็กได้คะแนนนอ้ ยทส่ี ดุ เฉลย่ี แล้วไมเ่ กิน 30 คะแนน (ปี 61 = 29.68 ปี 62 = 28 คะแนน ปี 63 = 29.30 คะแนน) (2) ขาดการบรู ณาการและเช่ือมโยงให้มีความสอดคล้องกันต้ังแต่การพัฒนาหลักสูตร หนังสือเรียน การ จัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล และการพัฒนาครู เช่น หลักสูตรของไทยลดบทบาทและความสาคัญ ของรายวิชาประวัติศาสตร์ เน้ือหาสาระของหนังสือเรียนลดข้อมูลบุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ลง เช่น พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ บุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ บุคคลสาคัญของประเทศไทย บุคคลสาคัญที่ทา คุณงามความดี มคี ุณธรรม เสียสละเพอื่ ประเทศ เป็นตน้ ซ่ึงเป็นเน้ือหาสาคญั ของการสร้างชาติ (3) ปัญหาเร่ืองการเข้าถึงฐานข้อมูลและส่ือสาหรับการเรียนรู้ของครูผู้สอนและผู้เรียน เช่น สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มี obec contents center แต่เกิดปัญหาเรื่องลิขสิทธ์ิส่งผลให้ไม่ สามารถเผยแพร่ข้อมลู ตา่ ง ๆ ได้ เปน็ ตน้ (4) นโยบายเร่งดว่ นจากส่วนกลาง ซึ่งขัดกบั นโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกัด ส่งผลให้ตอ้ งยึดนโยบายจาก สว่ นกลาง และกจิ รรมอย่างอ่ืนไป เช่น ในวิชาหน้าท่ีพลเมือง มีคาส่ังให้เรียนหน้าเสาธงแบบบูรณาการไม่มีการ สอนในห้องเรียน ส่งผลให้โรงเรียนต้องจัดการเรียนการสอนในวิชาเพิ่มเติม และตัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิม เวลารไู้ ป (5) ไม่ได้มีการกาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจนของการเรียนประวัติศาสตร์ ว่าแท้จริงแล้ว ไทยต้องการให้เด็ก เรียนประวัติศาสตร์เพ่ืออะไร รวมถึงการปลูกฝังประวัติศาสตร์ที่ถูกบิดเบือนไปจากความจริง และขาดการ เชอื่ มโยงอดีตใหเ้ ขา้ ถงึ ปจั จบุ นั (6) การรับรู้ กรอบแนวคิดและมุมมองที่มีต่อประวัติศาสตร์ในแต่ละช่วงวัยแตกต่างกัน เช่น กลุ่มผู้ใหญ่ เดิมมกั อย่ใู น Concept ชาตินยิ ม ขณะท่ีเด็กอยใู่ นกล่มุ หลังชาตินิยม เปน็ ตน้ อยา่ งไรกด็ ี ปัญหาสาคัญและจาเป็นอยา่ งยงิ่ ที่จะต้องดาเนินการอย่างเร่งด่วน เพ่ือเป็นจุดเร่ิมต้นของการ แก้ปัญหาอ่ืนในอนาคต คือ การร้ือ/ปรับ/จัดทามโนทัศน์ของการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หลักสูตร หนังสือและตาราเรียนใหม่ ให้เชื่อมโยงกันและสอดคล้องกับความต้องการของยุค สมัย รวมถึงการให้ความสาคัญกับการพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถปฏิบัติการสอนได้สอดคล้อง กับความตอ้ งการของผเู้ รยี นและยคุ สมัยทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป ดงั น้ี 5

  1. การรื้อ/ปรับ/จัดทามโนทัศน์ของการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หลักสูตร หนังสือ และตาราเรียนใหม่ 1.1) มโนทัศน์ของการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ข้อเสนอเพ่ือพัฒนามโนทัศน์ การเรียนการสอนประวัตศิ าสตร์ ดงั น้ี (1) ควรใหค้ วามสาคญั กับวิชาประวัติศาสตร์ โดยกาหนดเป็นวาระสาคัญระดับชาติที่ทุกภาคส่วน ต้องรว่ มดาเนนิ การแก้ไข พฒั นา และปรับปรงุ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ยคุ สมยั มากยิ่งข้นึ (2) ควรปรับมโนทัศน์ กรอบความคิดของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ใหม่ท่ีไม่ใช่ การสร้างชาติจากความเกลียดชัง ไม่นาสังคมในปัจจุบันไปตัดสินสังคมในอดีต การสร้างความรู้ความเข้าใจท่ี ถกู ต้อง ยอมรบั ความจรงิ ว่า ปจั จุบันไม่สามารถควบคมุ การรับรขู้ องนกั เรียนได้ทัง้ หมด ทกุ ภาคสว่ นทาได้เพยี ง อานวยความสะดวกและกาหนดขอบเขตในการเรยี นร้แู ก่ผูเ้ รยี น (3) ประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์ป่าล้อมเมืองในการดาเนินงาน คือ หาจุดร่วมตรงกลาง หรือ หลัก 4c Continue คือ เรื่องหรือเนื้อหาท่ีดีอยู่แล้วให้ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง Combine คือ การรวบรวมหรือ ผสมผสานเน้ือหาที่กระจัดกระจายเข้าด้วยกัน Collect คือ การปรับปรุงหรือพัฒนาเน้ือหาให้ถูกต้องมากข้ึน Create คือ สร้างสรรค์เน้ือหาใหม่ ๆ ข้ึนมา นอกจากนี้ ควรส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายครูให้เกิดขึ้น มีพี่ เลยี้ งไปชว่ ยให้เกิดข้ึนจรงิ รวมถงึ การท างานเชิงโครงสรา้ งตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตฉิ บบั ใหม่ ควร ให้สมัชชาการศึกษาจังหวดั เป็นเจ้าภาพประวตั ิศาสตรใ์ นระดบั ท้องถนิ่ (4) ผลักดันให้เกิดแผนแม่บท หรือ Master Plan ของวิชาประวัติศาสตร์ โดยแต่งต้ัง คณะกรรมการท่ีปรึกษาทางวชิ าการที่มีองค์ประกอบจากผรู้ ู้หลายภาคส่วน เพอ่ื ให้ลงลึกถึงเนื้อหาและแกน่ ทาง ความคิดของความเป็นศาสตรใ์ นวิชาประวัติศาสตร์ 1.2) การร้ือ/ปรับ/จัดทาหลักสูตรใหม่ ข้อเสนอเพ่ือพัฒนาหลักสูตร คือ การรื้อ/ ปรบั /จัดทาหลักสูตรใหม่ โดยปรบั เนอ้ื หา มาตรฐานและตัวชี้วดั ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง สอดคล้องกับยุค สมยั เป็นเนอื้ หาทีส่ ามารถนาพาผู้เรยี นไปสูก่ ารคิดวิเคราะห์และการพัฒนาตนเองเพ่ือนาไปสู่วิชาชีพของตนเอง ปรับเน้ือหาให้เหมาะสมกับช่วงวัยและระดับช้ันของผู้เรียน เนื้อหากระชับ นาไปใช้ได้จริง ไม่เอนเอียงและ สะท้อนความจริง เพิ่มประวัติศาสตร์ให้ครอบคลุมในทุกมิติ ทั้งประวัติศาสตร์หลัก ประวัติศาสตร์สากล ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์บุคคลสาคัญในแต่ละภูมิภาค เช่น ภาคเหนือเรียนประวัติศาสตร์ล้านนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียนประวัติศาสตร์อีสาน และภาคใต้เรียนประวัติศาสตร์มุสลิม-มลายู เป็นต้น โดย คานงึ ถงึ การบูรณาการเนอ้ื หาร่วมกับรายวิชาอ่ืน การประยุกต์ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการ สอน นอกจากนี้ ควรมีคณะทางานหลายส่วนเข้ามาร่วมดาเนินการในการพัฒนาหลักสูตรใหม่ เช่น นักประเมิน ผู้จัดการเรียนการสอน คนจัดทาหลักสูตร หนังสือเรียน สานักพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ ผู้เรียน เป็นต้น เพ่ือให้ หลักสูตรเกิดความหลากหลายและตอบโจทยบ์ ริบทสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปมากย่ิงขน้ึ 1.3) การร้ือ/ปรับ/จัดทาหนังสือและตาราเรียนใหม่ ข้อเสนอเพ่ือพัฒนาตาราและ หนังสอื เรยี น ได้แก่ (1) ประเทศไทยควรใช้หนังสือเรียนเล่มเดียวกันและเป็นหนังสือเรียนท่ีได้รับการตรวจสอบ การ เขียนอย่างถูกต้องจากผู้เช่ียวชาญ โดยร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและคณะผู้เช่ียวชาญที่ หลากหลาย จากสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างรอบด้าน ทั้งอาจารย์ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษาในมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน และสมาคมวิชาการ รวมถึงนักวิชาการอิสระ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับการพัฒนาตารา หนังสือแบบเรียน และสื่อการเรียนการสอน และเพื่อให้เกิดความเป็นมาต รฐานของหนังสือเรียน กระทรวงศกึ ษาธิการควรแตง่ ต้ังคณะทางานท่ีมีความเช่ียวชาญจากหลายภาคส่วนเพ่ือจัดทาต้นแบบตาราเรียน 6

หรือ พิมพ์เขียว (Blueprint) สาหรบั เป็นคู่มือครูที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน และเป็นหนังสือ/ตาราเรียนท่ี ได้มาตรฐานใช้รว่ มกนั ในภาพรวมของประเทศ (2) กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ควรพัฒนาความ ร่วมมืออยา่ งจริงจังร่วมกับหนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบด้านประวตั ศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรมของประเทศ เพือ่ ให้สามารถ นาส่ือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์มาใช้ได้ พัฒนาระบบฐานข้อมูลท่ีเช่ือมโยงถึงกัน รวมถึงมีงบประมาณ สนับสนนุ อย่างจริงในการเข้าถึงและพัฒนาหนังสือ/ตาราเรียน/หลักฐาน/ส่ือและอุปกรณ์การเรียนรู้ในรายวิชา ประวตั ิศาสตร์ 2) การพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถปฏิบัติการสอนได้สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียนและยุคสมยั ท่เี ปล่ียนแปลงไป ข้อเสนอเพ่ือพฒั นาครูผูส้ อน ได้แก่ 2.1) การผลิตครู ควรเพิ่มความสาคัญของวิชาประวัติศาสตร์ โดยอาจบรรจุให้สาขาวิชา ประวัติศาสตร์เป็นหนึ่งในวิชาเอกของหลักสูตรการผลิตครูสอนสังคมศึกษา และผลิตครูสอนสังคมศึกษาเอก ประวัติศาสตร์ให้มีมโนทัศน์ กระบวนการคิด กระบวนการสอน ที่สอดคล้องกับความต้องการและยุคสมัยท่ี เปลีย่ นแปลง 2.2) การใช้ครู ควรจัดสรรบุคลากรครูท่ีครบวิชาให้แก่ทุกโรงเรียน นอกจากนี้ ควรลดภาระงาน อนื่ ๆ ท่ีเขา้ มาเปน็ อุปสรรค เพื่อให้ครูได้สอนอย่างเต็มท่ี โดยโรงเรียนต้องให้ความสาคัญ และตระหนักว่า วิชา ประวัติศาสตร์ คือ ศาสตร์สาคัญท่ีไม่ใช่ใครก็สอนได้ ไม่ใช่วิชาง่าย ๆ แค่ท่องจา ไม่ใช่วิชาที่ครูแค่เปิดหนังสือก็ สอนได้ 2.3) การพัฒนาครู ควรเพ่ิมเติมในเร่ืองของการอบรมและพัฒนาครูให้เท่าทันกับการสอนยุคใหม่ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสังคมมากย่ิงข้ึน อาทิ การนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียน การสอนในวิชาประวัติศาสตร์ การมีคู่มือครู หรือ ตาราครู (มาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศ) เพื่อใช้เป็นแนวทาง จัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ เป็นต้น นอกจากน้ี ควรพัฒนาครูที่ไม่ได้จบตรงเอกให้ได้รับแนว ทางการจดั การเรียนการสอนทถ่ี ูกตอ้ ง พรอ้ มมอบสอ่ื การเรยี นการสอน วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการจัดการเรียนการสอน และควรจัดอบรมและพัฒนาครูอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ทั้งน้ี ในส่วนข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้น พ้นื ฐานไดม้ กี ารรวบรวมข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาด้านอ่ืน ๆ ประกอบด้วย ด้านผู้เรียน ด้านการจัดการเรียนการ สอน ด้านการวดั และประเมินผล ด้านแหล่งการเรยี นรู้ และด้านการสนับสนุน ซึ่งจะนาเสนอในสว่ นต่อไป. 7

บทนา การศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ถือเป็นวิชาสาคัญที่ทุกประเทศให้ความสาคัญ เนื่องจากวิชาประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่มีเป้าหมายหลักให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความเข้าใจในตนเองและรากเหง้าของตนเอง โดยใช้ใช้หลักฐาน ข้อเท็จจริงและการตีความ (Fact of Evidence and Interpretation) เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการอธิบาย เรอื่ งราวทางประวัติศาสตร์ นอกจากน้ีวิชาประวัติศาสตร์ยังมีวิธีการหรือขั้นตอนการศึกษาทางประวัติศาสตร์ที่ ใหค้ วามสาคัญกับการต้ังคาถามเพ่ือรวบรวมสืบค้นข้อมูลอย่างลึกซ้ึงร่วมกับการตรวจสอบข้อมูลหลักฐานต่างๆ ก่อนการประเมินความน่าเชื่อถือและตัดสินใจเลือกข้อมูลเหล่าน้ันมาตีความแล้วอธิบาย เน้ือหาสาระของ ปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์น้ันๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล อันนาไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริง ความรู้ ความ เข้าใจเรื่องราวในอดีต โดยอธิบายเหตุผลของเหตุการณ์ในอดีตที่ส่งผลกระทบมาถึงปัจจุบัน ดังนั้นจุดมุ่งหมาย ของการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์จึงเป็นการช่วยฝึกทักษะกระบวนการคิดให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีวิจารณญาณ รู้จักใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ตัดสินใจ ช่วยพัฒนาคุณลักษณะทางความคิด โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ สืบค้นเรื่องราวอย่างเป็นระบบตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตามมิติเวลาจากร่องรอยแหล่งข้อมูล ซึ่งสิ่งที่ เรียนรู้ประวัติศาสตร์ในปัจจุบันก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ หากมีการค้นพบหรือมีข้อมูล ร่อยรอย หลักฐานใหม่ท่ี น่าเช่ือถือ หรอื มีการตคี วามใหมจ่ ากหลักฐานเดิม สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะหน่วยงานร ะดับนโยบายด้านการศึกษาของชาติ เห็นความสาคัญของการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ท่ีสถานศึกษาจะต้องจัดการเรียนการสอนให้ บรรลุ วัตถุประสงค์และตัวช้ีวัดตามที่หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กาหนดไว้ สานักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา จึงจัดทาโครงการศึกษาวิจัยสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน โดยมุ่งศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์และจัดทาเป็น ข้อเสนอแนะการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ท่ีมีประสิทธิภาพของโรงเรียนระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานท่ัวประเทศ การศึกษาคร้ังน้ีเน้นศึกษาแบบประเมินสภาพจริงของการจัดการเรียนการสอนใน ด้านผู้เรียน ครูผู้สอน หลักสูตร วิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล สื่อ/อุปกรณ์การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ และประเด็นอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยผลจากการศึกษาในครั้งน้ีคาดว่าจะได้องค์ความรู้ท่ีจะ นาไปใช้ในการจัดทาเป็นข้อเสนอแนะที่มีประสิทธิภาพในด้านการออกแบบการเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผล การพัฒนาครู การพัฒนาหลักสูตร ตลอดจนการสนับสนุนของหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ทั้งน้ี ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย น้ัน สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะช่วยเสริมหนุน การยกระดบั การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของผ้เู รยี นและนาไปสู่การจัดการศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพตอ่ ไป วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรยี นการสอนวิชาประวตั ศิ าสตรใ์ นระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 2. จัดทาข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ท่ีมีประสิทธิภาพในระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน วิธดี าเนนิ การวจิ ัย การศกึ ษาวิจยั ครั้งนี้ เป็นการวจิ ยั แบบบรรยายที่ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมขี ้ันตอนได้แก่ ศึกษาสภาพปัจจุบันและจัดทาข้อเสนอแนะการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ท่ีมี 8

ประสทิ ธิภาพในระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ประกอบด้วย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ประชากร ประกอบด้วย ครูผู้สอน ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาทุกสังกัด ทั่วประเทศ มากกว่า 520,000 คน (จากรายงานสถิติการศึกษาฉบับย่อ ปีการศึกษา 2563 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ) และผู้เรียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทุกสังกัด ทั่ว ประเทศ มากกวา่ 6.6 ล้านคน (จากรายงานสถติ ิการศกึ ษาฉบบั ยอ่ ปกี ารศึกษา 2563 สานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ) กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ครูผู้สอน จานวน 10,000 คน ผู้เรียน จานวน 10,000 คน มาจาก การสมุ่ แบบแบ่งช้นั โดยจาแนกตามสังกัด การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ครูผู้สอน จานวน 14 คน ผู้เรียน จานวน 14 คน จากสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ ส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน และเครอื ข่ายโรงเรียนสาธติ ฯ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) สภาพการจัดการ เรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยแบบสอบถามฯ 2 ชุด คือ แบบสอบถามครูผู้สอนและแบบสอบถามผู้เรียน โดยแบบสอบถามแต่ละชุดแบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป ตอนท่ี 2 ข้อมูลสภาพปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ เพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตร์ รายละเอียดดังนี้ แบบสอบถามครูผู้สอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สูงสุด ประสบการณ์การทางาน (ตั้งแต่เร่ิมสอน) ข้อมูลโรงเรียน (สังกัด) สาขาวิชาเอกท่ีจบการศึกษา ระดับชั้น ท่ีสอน เอกสาร/หนงั สือวชิ าประวัติศาสตร์ที่ใช้ วิชาอ่ืน/งานอ่ืนท่ีได้รับมอบหมาย มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (Checklist) ตอนที่ 2 ข้อมูลสภาพปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย ด้าน ผู้เรียน ด้านครูผู้สอน ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผล ด้านสื่อและ อุปกรณ์การเรียนรู้ ด้านแหล่งเรียนรู้ และประเด็นอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (Checklist) และมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ เปน็ แบบสอบถามปลายเปดิ (Open Ended) แบบสอบถามผู้เรียน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ ระดับช้ันที่ศึกษา อายุ มี ลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (Checklist) ตอนท่ี 2 ข้อมูลสภาพปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวตั ิศาสตร์ ประกอบดว้ ย ดา้ นผู้เรยี น ดา้ นครผู ูส้ อน ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรยี นการสอน ดา้ นการวัด และประเมินผล ด้านสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ด้านแหล่งเรียนรู้ และประเด็นอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง มีลักษณะเป็น แบบเลือกตอบ (Checklist) และมาตราส่วนประมาณค่า ระดับ (Rating Scale) ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เก่ยี วกบั การจดั การเรยี นการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ เปน็ แบบสอบถามปลายเปดิ (Open Ended) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ คณะทางานฯ ติดต่อ ประสานไปยังหน่วยงานกลุ่มเป้าหมายฯ เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการ ตอบแบบสอบถามฯ โดยระบุ QR code ของแบบสอบถามฯ ระยะเวลาในการตอบแบบสอบถามฯ (ตั้งแต่ กรกฎาคม – สิงหาคม 2564) พร้อมไปกับหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถามฯ จากน้ันนาผล ที่ได้รับจากการตอบแบบสอบถามฯ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และดาเนินการวิเคราะห์ แปล ความหมายของผลการวเิ คราะห์ต่อไป 9

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ คณะทางานฯ ดาเนนิ การเก็บข้อมูลเชงิ คณุ ภาพโดย  การสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) ระหว่างวันที่ 7 – 8 สิงหาคม 2564 โดยในวันเสาร์ท่ี 7 สิงหาคม 2564 ดาเนินการจัดประชุมสนทนากลุ่มย่อย “กลุ่มครูผู้สอน” จานวน 14 คน และวันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม 2564 ดาเนินการจัดประชุมสนทนากลุ่มย่อย “กลุ่มผู้เรียน” ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จานวน 14 คน  การสมั ภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 คน ระหว่างวันท่ี 16 – 18 สิงหาคม 2564  การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ และการส่งแบบแสดงความคิดเห็นในเชิงให้ข้อเสนอแนะ กลุ่ม ครผู ้สู อน จานวน 8 คน ช่วงเดอื นกรกฎาคม – กนั ยายน 2564 จากนั้นดาเนินการสรุปประเด็นจากการสนทนากลุ่มย่อยให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของการ ศึกษาวจิ ยั การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ ปริมาณใช้สถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ฐานนิยม ค่าเฉลี่ยหรือมัชฌิม เลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลสาเร็จรูป SPSS และวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพดว้ ยการวิเคราะห์เชงิ เนื้อหา (Content Analysis) ตารางที่ 1 ตารางสรปุ แนวทางการศกึ ษาวจิ ยั วัตถปุ ระสงค์ ประชากรและกลุ่ม เครือ่ งมือที่ใช้ ผลลัพธ์ ตัวอยา่ ง ในการวิจัย และการวิเคราะหข์ ้อมลู 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันของ ประชากร เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ข้อมูลสภาพปัจจุบัน (เชิง การจดั การเรียนการสอนวิชา 1. ครู ผู้ สอน ท่ัวประเทศ 1. แบบสอบถามครูผู้สอน ปริมาณและคุณภาพ) การ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ใ น ร ะ ดั บ มากกวา่ 520,000 คน 2. แบบสอบถามผ้เู รียน จัดการเรียนการสอนวิชา การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. ผู้เรียน มากกว่า 6.6 ล้าน การวิเคราะหข์ ้อมูล ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ คน 1. เชิงปริมาณ : ใช้สถิติ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กลมุ่ ตวั อยา่ ง พื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ 1. ครูผู้สอน 10,000 คน ค่าร้อยละ ฐานนิยม ค่าเฉล่ีย 2. ผเู้ รียน 10,000 คน หรือมัชฌิมเลขคณิต ส่วน เบีย่ งเบนมาตรฐาน 2. เชิงคุณภาพ : การวิเคราะห์ เ ชิ ง เ นื้ อ ห า ( Content Analysis) 2. จัดทาข้อเสนอแนะการ กลุม่ ตวั อยา่ ง เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย ข้อมูลสภาพปัจจุบันและให้ จัดการเรียนการสอนวิชา 1. เชิงปริมาณ 1. แบบสอบถามครูผสู้ อน ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ท่ี มี 1.1 ครูผูส้ อน 10,000 คน 2. แบบสอบถามผเู้ รยี น จัดการเรียนการสอนวิชา ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ 1.2 ผู้เรียน 10,000 คน 3. ประเด็นสนทนากลุ่มย่อย ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 2. เชิงคุณภาพ (ครูผ้สู อน และผูเ้ รยี น) การศึกษาข้นั พื้นฐาน 2.1 ครูผู้สอนในการ 4. ประเด็นสัมภาษณ์เชิงลึก focus group 14 คน ผู้ทรงคณุ วฒุ ิฯ 10

วตั ถุประสงค์ ประชากรและกลุ่ม เคร่ืองมอื ท่ีใช้ ผลลพั ธ์ ตัวอยา่ ง ในการวิจยั และการวิเคราะห์ขอ้ มลู 2.2 ผู้เรียนในการ focus การวเิ คราะหข์ อ้ มูล group 14 คน เชิงคุณภาพ : การวิเคราะห์ เ ชิ ง เ นื้ อ ห า ( Content 2.3 ผู้ทรงคุณวุฒิในการ Analysis) สัมภาษณ์เชิงลึก 3 คน 2 . 4 ก ลุ่ ม ค รู ใ น ก า ร สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์และ ให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม 8 คน 11

ผลการศกึ ษาเอกสาร คณะศึกษาวิจัยฯ ได้ศึกษาค้นคว้าหลักการ ทฤษฎี แนวคิด เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อศึกษา สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ พบสาระสาคัญประกอบด้วย ความหมาย ความสาคัญและ คุณค่าของประวัติศาสตร์ พัฒนาการของหลักสูตรประวัติศาสตร์ สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ และขอ้ เสนอเพอื่ พฒั นาการจดั การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ รายละเอียดดังน้ี 1. ความหมาย ความสาคญั และคุณค่าของประวัตศิ าสตร์ 1.1 ความหมายของประวตั ิศาสตร์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน (2554) ให้ความหมายว่า เป็นการศึกษาเร่ืองราว สาคัญๆ ที่เช่ือว่าได้เกิดข้ึนจริงเก่ียวกับประสบการณ์ ด้าน ตา่ งๆ ของมนษุ ยใ์ นสังคมใดสังคมหน่ึง บนพ้ืนฐานของการ วิพากษ์วิเคราะห์หลักฐาน เอกสารชั้นต้น และหลักฐาน ร่วมสมัยอ่ืนๆ เพ่ือความเข้าใจปัญหาในสังคมปัจจุบัน นอกจากน้ี ได้มีการขยายความเพ่ิมเติมเพ่ือให้เข้าใจ ประวัติศาสตร์ในฐานะของศาสตร์ของการเรียนรู้ ซึ่ง ประกอบด้วยกระบวนการสาคัญ ดังน้ี 1) เป็นการสืบค้น เร่ืองราวที่เช่ือว่าเกิดข้ึนจริง โดยตรวจสอบร่องรอย หลักฐานที่หลงเหลืออยู่ 2) เป็นการศึกษาเร่ืองราวสาคัญ ๆ ที่เกี่ยวกับประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ในสังคม 3) เป็นศาสตร์ของการรวบรวม แยกแยะ จัดระบบ วิเคราะห์ วิพากษ์ และการใช้ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือค้นหา ขอ้ เทจ็ จริงในสังคมมนุษย์ 4) เป็นการแสวงหา การไต่สวน การสืบค้น การสารวจ การสอบถาม การสังเกต การย้อน พินิจ การเปรียบเทียบ การตีความ การอภิปราย การ วิพากษ์ การเล่าเรื่อง 5) เป็นศาสตร์ของการอธิบาย ภาพท่ี 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (ท่ีมา สานักงาน ปรากฏการณ์ในสังคมเพ่ือให้รู้รากเหง้าของปัญหา 6) เป็น คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน, 2554) กระบวนการพฒั นาปญั ญาดว้ ยการสืบคน้ รวบรวม วิเคราะห์ ประเมินค่า ข้อมูลรอบด้าน 7) เป็นศาสตร์ที่สร้าง ความผูกพันทางด้านจติ ใจและความรู้สึกร่วมกับประเทศชาติ สังคม ชุมชน และครอบครัวของคน และ 8) เป็น การเรียนรู้อดีตเพื่อเข้าใจปัจจบุ นั มองไปสู่อนาคต 1.2 ความสาคัญของการเรยี นประวตั ศิ าสตร์ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (2554) ได้ระบุถึงความสาคัญของประวัติศาสตร์ ในแง่ของประโยชน์ตอ่ การดาเนินชวี ิตในปัจจุบนั ได้แก่ 1) สร้างความเข้าใจปัญหาและสิ่งแวดล้อมของสังคม ปจั จบุ ัน ประวัติศาสตร์หรือการสืบสวนอดีตของมนุษย์ ทาให้เราได้รู้ว่า พฤติกรรมและความคิด ความเช่ือของ ผคู้ นในสงั คมเกิดขน้ึ ได้อย่างไร มีการเปลย่ี นแปลงหรอื มีพัฒนาการมาอย่างไร อันจะนาไปสู่การวิเคราะห์เพื่อให้ เข้าใจปัญหาอย่างมีเหตุมีผล มาตรการในการแก้ปัญหา เรียกว่าเป็นการศึกษาอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน เห็น 12

แนวทางก้าวสู่อนาคต 2) รู้รากเหง้าความเป็นไทย เข้าใจและภูมิใจในชาติตน เหตุการณ์สาคัญในอดีตของ สังคมไทย เริ่มต้ังแต่การตั้งถ่ินฐาน การสร้างบ้านเมือง การขยายอาณาเขตเพ่ือสร้างความม่ันคง ซ่ึงเป็นผลมา จากวีรกรรมและความเสียสละของบรรพบุรุษ ล้วนเป็นความรู้จากประวัติศาสตร์ ซึ่งศาสตร์อ่ืนๆ ย่อมไม่ สามารถทาบทบาทหน้าท่ีนี้ได้ดีเท่าประวัติศาสตร์ 3) รู้บทเรียนในอดีต เห็นข้อบกพร่อง-ความผิดพลาด ความสาเร็จ ความดีงาม ของบรรพบุรุษ การเรียนรู้ในลักษณะนี้ จึงจะทาให้ “อดีต” เป็นบทเรียนสาหรับการ มองเห็นปัญหาในปัจจุบันได้ชัดเจน ซึ่งจะสามารถ นาไปสู่การเป็นบทเรียนที่มีค่าสาหรับใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ ในอนาคตตอ่ ไป ซึง่ ยอ่ มแน่นอน ประวัตศิ าสตร์ไมใ่ ช่เรื่องของคนใดคนหน่ึง แต่เป็นเร่ืองของความเป็นชาติ หรือ สงั คมโดยรวม จึงจาเป็นต้องรวมพลังกันช่วยกันขับเคล่ือนโดยใช้อดีตเป็นบทเรียน ความรู้ในแง่น้ี แต่จะเกิดข้ึน หรือไม่ ยอ่ มท้าทายตอ่ ผสู้ อนประวัติศาสตร์ในระดบั มืออาชีพ 4) รคู้ วามเปน็ มาและวฒั นธรรมของประเทศตน และประเทศอ่ืน ๆ วัฒนธรรมในนัยของประวัติศาสตร์ ย่อมรวมถึงวิถีคิด วิถีปฏิบัติ ซึ่งสะท้อน ออกมาเป็น รูปแบบตา่ งๆ เช่น ความเปน็ ไทย คงไมไ่ ด้แสดงที่รูปร่าง หน้าตา การแต่งกาย การนับถือศาสนา อาหารการกิน ซ่ึงแทบจะแยกแยะได้ยากกับความเป็นคนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ หรือผู้คนในภูมิภาคอื่นในยุค โลกาภิวัฒน์ การเรียนรู้ความเป็นมาของวิถีคิด และวิถีปฏิบัติ หรือรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยจะทาให้เรา สามารถแยกแยะ “ความเป็นคนไทย วัฒนธรรมไทย วิถีไทย” ออกจากสังคมมนุษย์อ่ืนๆ ได้ นอกจากนี้ ประวัติศาสตร์ไม่ได้หมายถึงการทาความเข้าใจรากเหง้าความเป็นไทยเท่านั้น แต่หมายรวมถึงความเข้าใจ รากเหง้าของมนุษยชาติที่อยู่ในพ้ืนท่ีต่างๆ กันด้วย ดังน้ันการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์อย่างถูกต้องจะทาให้เข้าใจ ลกั ษณะเฉพาะของชนชาติอื่น ประเทศอื่น หรือภูมิภาค อื่นด้วย อันเป็นการสร้างความเข้าใจอันดีอย่างแท้จริง 5) รบู้ นั ทกึ เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต คุณค่าของประวัติศาสตร์ในแง่นี้มาจากแนวคิดท่ีว่า การรับรู้ เร่ืองราวในอดีต ไม่จาเป็นท่ีจะต้องมาจากการเรียนจากครูในห้องเรียนเท่านั้น แต่ผู้เรียนหาความรู้ได้จากการ อ่านบันทึกของเหตุการณ์ โดยการอ่านที่จาเป็นในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การอ่านอย่างกว้างขวาง ซึ่ง หมายถึงไม่ใช่อ่านเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อตามนั้น และการจับใจความสาคัญให้ชัดเจน การอ่าน เพื่อให้ได้ ขอ้ เทจ็ จรงิ จาเปน็ ต้องใชท้ กั ษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การแยกแยะ และจัดระบบข้อมูล การสรุปใจความ สาคัญ ความสขุ ุมรอบคอบในการตรวจสอบขอ้ มลู ที่สาคัญคือ ความเพียร พยายาม และความอดทน อดกล้ันท่ี จะสืบค้นข้อเท็จจริง อันเป็นพลังสาคัญท่ีจะทาให้เกิด การอ่านอย่างกว้างขวางได้ 6) รู้วิธีการศึกษาเร่ืองราว สาคญั ๆ ท่ีเช่ือว่าเกิดข้ึนจริง ถือว่าเป็นหัวใจของประวัติศาสตร์ในแง่ของการสร้างความรู้ใหม่ ท่ีทุกคนสามารถ ทาได้ และมีคุณค่าสาคัญมากต่อมนุษยชาติเน่ืองจากการสร้างสรรค์ความรู้ในเชิงวิทยาการ ท้ังหลายในโลกนี้ เจรญิ สืบเน่ืองได้ตลอดมา สาหรับวิธีการ ศึกษาเร่ืองราวที่เกิดขึ้นมาแล้วในสังคม มนุษย์ มีวิธีการท่ีไม่ยาก และเป็นส่ิงที่ ทุกคนสามารถทาได้ในชีวิตประจาวัน เ ป็ น ป ก ติ อ ยู่ แ ล้ ว เ พี ย ง แ ต่ ใ น ประวัติศาสตร์ได้จัดระเบียบ เรียงลาดับ ข้ันตอนเพื่อให้เป็นระบบท่ีชัดเจนขึ้น โดยเริ่มต้นท่ีความอยากรู้อยากเห็นเร่ือง ใดเรื่องหน่ึง โดยท่ีไม่สามารถหาคาตอบ ได้จากคนใดคนหน่ึง หรือหนังสือเล่มใด ภาพท่ี 2 หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ (ที่มา: https://sites.google.com/site/suxkarsxnkhnitsastrp1/hnwy-thi-1/1-4- เล่มหน่ึงได้ เราจึงต้องสืบสวนค้นคว้าหา kar-reiyng-ladabcanwn?tmpl=%2Fsystem%2Fapp คาตอบประเด็นที่อยากรู้ดังกล่าวด้วย %2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1) ตนเอง 13

นอกจากนี้ ได้ระบุถึงความสาคัญของประวัติศาสตร์ในแง่ของประโยชน์ต่อผู้เรียน ได้แก่ 1) ประวัติศาสตร์สอนให้รู้จักตนเอง รู้ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่นและประเทศชาติของตน เข้าใจ พฒั นาการของผคู้ นทอ่ี าศยั อยูใ่ นแผน่ ดนิ ไทยตั้งแต่อดตี และความรุ่งเรืองท่ีวิวัฒนาการสืบทอดมาอย่างต่อเน่ือง จนถึงปัจจุบัน 2) ประวัติศาสตร์สร้างจิตสานึกในความเป็นชาติ เกิดความรักความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษที่ ก่อตั้งชาติบ้านเมือง ยังความเป็นปึกแผ่นดารงเอกราชมาจนปัจจุบัน รวมถึงการสืบทอดขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมทค่ี งความเป็นเอกลักษณ์ ซ่ึงถือเป็นหน้าท่ี คนรุ่นหลังจะต้องสืบทอดให้คงอยู่ตลอดไป 3) ประวัติศาสตร์ส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นนักคิด มีเหตุมีผล เพราะกระบวนการศึกษา ทางประวัติศาสตร์ หรือ วิธีการทางประวัติศาสตร์มุ่งเสริมสร้างจิตใจให้ใฝ่รู้ (Inquiring mind) ต้ังคาถาม ค้นคว้าหาคาตอบ โดยศึกษา จากหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน วิเคราะห์ กลั่นกรอง ข้อเท็จจริง และสรุปผลการสืบค้นอย่างมีเหตุผล 4) ประวตั ิศาสตร์เปน็ บทเรียนจากอดตี ทาให้ผูค้ นในสงั คมได้เรียนรู้ความเป็นมา ในสังคม ในพื้นท่ีและบริบทของ เวลาต่างๆ กัน เห็นบทเรียนในอดีตที่มีทั้งความสาเร็จและความ ล้มเหลว เพ่ือเป็นเคร่ืองเตือนใจ และช่วย ตัดสินใจท่ีจะดาเนินการในเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับสังคม และชาติบ้านเมือง บทเรียนในอดีตจะช่วยสร้างความรู้สึก ร่วมในชะตากรรมใหก้ บั คนในสังคม เดยี วกนั ปลกู ฝงั ความรสู้ ึกในความเปน็ ชาติ หวงแหนอิสรภาพ และเอกราช ของชาติตน 1.3 คณุ คา่ ของประวัติศาสตร์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2554) ระบุถึงคุณค่าของประวัติศาสตร์ แบ่ง ออกเปน็ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านเนือ้ หา ประวัติศาสตร์ทาให้รู้รากเหงา้ ของตนเอง เพ่ือเข้าใจและภูมิใจในชาติตน เข้าใจปัญหาและสภาพแวดล้อมของสังคมในปัจจุบัน เห็นข้อบกพร่อง ความผิดพลาด ความสาเร็จ ความดีงาม ของบรรพบรุ ษุ รูค้ วามเป็นมาและวฒั นธรรมของประเทศตนและประเทศอ่ืน ๆ และเป็นบทเรียนท่ีมีค่า สาหรับ ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ 2) พัฒนาสติปัญญา ได้แก่ ทักษะในการตรวจสอบและประเมินค่า ทักษะในการ จัดระบบข้อมูล ทักษะในการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล ทักษะในการวินิจฉัยแยกแยะข้อเท็จจริง และทักษะ การคิดวิเคราะห์ 3) พัฒนาทักษะกระบวนการ ได้แก่ การอ่านอย่างกว้างขวาง การสังเกต/ เปรียบเทียบ การ แยกแยะและจัดระบบข้อมูล ความเพียรพยายามรวบรวมข้อมูล ความสุขุมรอบคอบและตรวจสอบหลักฐาน การสรุปจับประเด็นได้ชัดเจน การย่อความและเรียงความให้น่าสนใจ การเขียนด้วยภาษาสละสลวยและส่ือ ความหมาย การอดทนอดกล้ันที่จะสืบข้อเท็จจริง 4) สร้างเจตคติ/ ค่านิยม ได้แก่ สร้างความรู้สึกร่วมเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม ตระหนักในคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม ยอมรับในความแตกต่างของ มนุษยชาติ การอย่รู ว่ มกับสงั คมอ่ืนได้อย่างปกติสขุ และใชเ้ หตผุ ลในการดาเนินชีวติ 2. พฒั นาการของหลักสูตรวิชาประวัตศิ าสตร์ 2.1 วชิ าประวัติศาสตร์ในหลกั สตู รก่อนการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อ มีการใช้หลักสูตรในระยะแรก ๆ คือหลักสูตรประโยคต่าง ๆ ท่ีออกใช้ในปี พ.ศ. 2438 ส่งผลให้เร่ิมมีการสอน วิชาประวตั ิศาสตร์ โดยนักเรยี นไดเ้ รยี นรวู้ ชิ าประวัตศิ าสตรข์ องประเทศจากการอ่านในวิชาภาษาไทย ในปี พ.ศ. 2445 มีการกาหนดให้เรยี นวชิ าภูมิศาสตร์และพงศาวดาร ปี พ.ศ. 2452 กรมศึกษาธิการออกหลักสูตรประโยค มลู ศกึ ษา กาหนดใหม้ วี ิชาจรรยา วิชาความรู้เรื่องเมืองไทย ซ่ึงก็คือภูมิศาสตร์และพงศาวดารสาหรับเด็ก ต่อมา ในปี พ.ศ. 2456 มีการประกาศใชห้ ลกั สตู รหลวงในส่วนของพงศาวดารหรือเน้ือหาประวัติศาสตร์ระดับประโยค ประถม ชั้นมัธยมตอนต้น มัธยมตอนกลาง มีเน้ือหาสาระเหมือนเดิมทุกประการ ส่วนในชั้นมัธยมตอนปลาย วิชาพงศาวดารซ่ึงแต่เดิมเขียนไว้อย่างละเอียด หลักสูตรใหม่เพียงแต่สรุปความลง ในปี พ.ศ. 2464 มีการ 14

ปรับปรงุ หลักสูตรและโครงการศึกษา แต่วชิ าจรรยาภมู ศิ าสตร์และพงศาวดาร ยังคงใช้ตามที่ปรับปรุงในปี พ.ศ. 2456 และหลักสตู รน้กี ไ็ ดใ้ ชต้ ่อมา จนถึงเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2.2 วิชาประวัติศาสตร์ในหลักสูตรหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ภายหลังการ เปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หลักสูตรที่ต้องเปล่ียนไป คือ หลักสูตรสังคมศึกษา เนื่องจากต้องสอนให้ นักเรียนเข้าใจระบอบการปกครองใหม่ วิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์น้ันยังคงมีอยู่ตามเดิม แต่ในชั้นประถม เรียกว่า ความรู้เร่ืองเมืองไทย ในหลักสูตรปี พ.ศ. 2480 ส่วนของวิชาประวัติศาสตร์ชั้นประถมศึกษา ได้นาเอา รายการของหลักสตู รเดมิ มาใช้โดยท่ีมไิ ดเ้ ปลี่ยนแปลงในสาระสาคญั แต่อย่างใด แตม่ ีหัวข้อใหม่ท่ีไม่เคยมีอยู่ เดิม คือ การพาเท่ียวดูสถานท่ี โดยเขียนไว้ว่า “ให้พานักเรียนเท่ียวดูสถานท่ีบริเวณใกล้เคียง เพ่ือส่งเสริม ความรู้ รอบตัว ความรู้ทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ กับท้ังปลุกใจให้รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และ รัฐธรรมนญู ” ส่วนวชิ าประวตั ิศาสตร์ในชนั้ มธั ยมตอนต้นใหเ้ รยี นประวัติคนไทยท่ีสาคัญ 10 คน รู้จักประวัติเดิม ของชนชาติไทยเฉพาะท่ีสาคัญและให้เรียนประวัติศาสตร์สมัยราชธานีต้ังอยู่ท่ีกรุงสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ กรุงเทพ ฯ คอื ประวัตศิ าสตร์ไทยโดยสงั เขปน้ันเอง หัวข้อการพาเทย่ี วดสู ถานที่เหมือนชั้นประถม ในช้ันมัธยม 4 5 และ 6 วชิ าประวัติศาสตรใ์ ห้เรียนประวตั ิศาสตรไ์ ทยสมัยต่าง ๆ ละเอยี ดข้นึ เรยี นประเทศต่าง ๆ ในแหลมอิน โดจีน เรยี นเรือ่ งประเทศจนี แต่ ค.ศ. 1834 จนถงึ ปัจจุบัน ประเทศญ่ีปุ่น และโลกภายหลังมหาสงคราม สาหรับ หลักสูตรเตรียมอุดมศึกษากาหนดข้ึนใหม่ใน ปี พ.ศ. 2491 ให้เรียนประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์โดย ละเอียด ประวัติศาสตร์สากลเรียนสังเขปประวัติศาสตร์ของยุโรป อเมริกา เอเชีย และออสเตรเลียนับแต่ ประมาณ พ.ศ. 2000 จนถึงปจั จบุ ัน ต่อมามีการปรับปรงุ หลกั สูตรแต่ชั้นประถมจนจบมัธยม ซ่ึงออกประกาศใช้ ปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 หลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2491 ให้เรียนประวัติศาสตร์อย่างย่อของชาติไทย สมัยต่าง ๆ ให้สอนประวัติของวีรชนในประวัติศาสตร์ประมาณ 10 ท่าน และให้สอนความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศไทยกับจีน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และฝร่ังเศส โดยสังเขป ในหลักสูตรมัธยมตอนต้น พ.ศ. 2493 วิชา ประวัติศาสตร์กาหนดให้เรียนหัวข้อสาคัญ ดังน้ี ประวัติชาติไทย ประวัติคนไทยท่ีสาคัญ ประวัติชาติใกล้เคียง ส่วนหลักสูตรมัธยมตอนปลาย พ.ศ. 2493 วิชาประวัติศาสตร์ให้เรียนในหัวข้อ ดังนี้ ประวัติศาสตร์ไทย ประวัติศาสตร์ทั่วไป การพบดินแดนใหม่และการสารวจ การขนส่งการสื่อสาร สงครามและสันติภาพ และ ประวัติบุคคลสาคัญของโลก ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2498 มีการปรับปรุงหลักสูตรเฉพาะชั้นเตรียมอุดมศึกษา กาหนดภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์เป็นวิชาบังคับสาหรับเตรียมอักษรศาสตร์ปีที่ 1 และสังคมศึกษา ข. บังคับ สาหรบั เตรียมอักษรศาสตร์ปีที่ 2 นอกจากน้ี ยังมีสังคมศึกษา ก. เป็นวิชาเลือกสาหรับแผนกวิชาวิทยาศาสตร์ ในส่วนวิชาบังคับภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์น้ัน วิชาประวัติศาสตร์กาหนดให้เรียนประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุง ธนบรุ แี ละรัตนโกสินทรจ์ นถึงส้ินรชั กาลท่ี 3 ประวตั ิศาสตร์ต่างประเทศนน้ั เหมือนหลักสูตรเตรยี มอุดม 2491 ภาพที่3 การเปล่ียนแปลงการ ปกครอง พ.ศ.2475 (ท่มี า https://sites.google.com/sit e/politics2223242538612/k ar-peliynpaelng-kar- pkkhrxng-ph-s-2475) 15

2.3 วิชาประวตั ศิ าสตร์ในหลักสูตรประถมศึกษา และมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2503 ต่อมามีการ ประกาศใช้หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนต้น และ หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2503 และหลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น และหลักสูตร ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2503 โดย หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2503 หลักสตู รนีห้ ลอมรวมเนอ้ื หาเป็นหมวดใหญ่ ๆ 6 หมวด หมวด สังคมศึกษา ได้เพิ่มความสาคัญข้ึนมาก สาหรับเนื้อหาท่ี เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์น้ัน ให้เรียนเกี่ยวกับประวัติตนเอง ประวัติของโรงเรียนและชุมชน บุคคลสาคัญของชาติไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทยโดยย่อ ในหลักสูตรประโยค ประถมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2503 วิชา ประวัติศาสตร์ มีรายละเอียดท่ีให้นักเรียนเรียนในแต่ละปี ดังน้ี ภาพที่ 4 หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอน ช้ันประถมปีที่ 5 ให้เรียนประวัติชนชาติไทย โดยสังเขป ปลาย พุทธศักราช 2503 ประวัตศิ าสตรส์ มัยกรุงสุโขทัย ประวัติบุคคลสาคัญ สถานท่ีและ (ที่มา: https://library.ipst.ac.th/handle/ipst/5560) วัตถุสาคัญของชาติ ข่าวและเหตุการณ์ ช้ันประถมปีที่ 6 ให้ เรียนประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรี ประวัติบุคคลสาคัญ สถานท่ีและวัตถุสาคัญของชาติ ข่าวและเหตุการณ์ ชั้น ประถมปที ี่ 7 ให้เรยี นประวัติศาสตรส์ มยั กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร์ การกู้อิสรภาพ และการต้ังกรุงธนบุรี การ ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ประวัติบุคคลสาคัญ สถานท่ีและวัตถุสาคัญของชาติ ข่าว และเหตุการณ์ สาหรับหลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนต้นและหลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2503 หมวดสังคมศึกษาแยกเป็น 4 วิชา คือ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม ภูมิศาสตร์ และ ประวตั ิศาสตร์ ในส่วนของวชิ าประวตั ิศาสตร์ หลกั สูตรประโยคมธั ยมศกึ ษาตอนต้น พุทธศักราช 2503 นั้น เน้น การเรียนประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยาและประวัติศาสตร์ต่างประเทศ ส่วนหลักสูตรประโยค มัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2503 ในส่วนของวิชา ประวัติศาสตร์ไทย ให้เรียนประวัติศาสตร์สมัยธนบุรี และ รัตนโกสินทร์ จนถึงปัจจุบัน ส่วนประวัติศาสตร์ท่ัวไป เรียน ตง้ั แต่การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรมจนถึงมหาสงครามโลกครั้งท่ี 2 และองคก์ ารสหประชาชาติ ภาพท่ี 5 หลกั สูตรประถมศึกษา พทุ ธศกั ราช 2521 2.4 วิชาประวัติศาสตร์ในหลักสูตร (ทม่ี า: https://library.ipst.ac.th/handle/ipst/5560) ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2521 และ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 ในส่วนของหลักสูตรสังคมศึกษาได้มีการปรับ โครงสรา้ งของเนอ้ื หารายวชิ าต่าง ๆ จัดหลักสูตรแบบบูรณา การในส่วนของวิชาบังคับและมีรายวิชาเลือกจานวนหนึ่ง (2.4.1) หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 กลุ่มที่ เก่ียวกับสังคมศึกษามากที่สุดคือ กลุ่มสร้างเสริม ประสบการณ์ชวี ติ ในส่วนของวิชาสังคมศึกษาประกอบด้วย หน่วยต่าง ๆ หลายหน่วย และหน่วยที่เก่ียวกับเน้ือหาสาระ 16

ประวัติศาสตร์ คือ หน่วยชาติไทย และหน่วยข่าวและเหตุการณ์วันสาคัญ ซึ่งจัดให้เรียนทุกช้ันปี คือช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 (2.4.2) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 หลักสูตรมัธยมศึกษา ตอนต้น พุทธศักราช 2521 มีโครงสร้างประกอบด้วยกลุ่มวิชา 5 กลุ่ม การจัดหลักสูตรกลุ่มวิชาสังคมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าท่ีพลเมือง ศีลธรรม สังคมวิทยา ประชากรศึกษาและส่ิงแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ โดยนาเนื้อหาสาคัญของแต่ละ รายวิชามาจัดรวมกันในลักษณะบูรณาการและจัดเป็นรายวิชาเดียวกันโดยเรียกว่า สังคมศึกษา ประกอบด้วย รายวิชา ส 101 ส 102 ส 203 ส 204 ส 305 และ ส 306 สาหรับเนื้อหาวิชาประวัติศาสตร์ตามหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 น้ัน ได้จัดบูรณาการไว้ใน รายวิชาบังคับ ส่วนเน้ือหาประวัติศาสตร์โดยตรง จัดเป็นรายวิชา เลือกสาหรับผู้เรียนที่สนใจวิชาประวัติศาสตร์โดยเฉพาะ (4.3) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 หลักสูตร มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 กาหนดให้กลุ่มวิชาสังคม ศึกษาประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ จริยธรรม สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย และประชากร ศกึ ษาและส่งิ แวดลอ้ ม โดยให้เรียนท้ังส่วนท่ีเป็นวิชาบังคับและส่วน ท่ีเป็นวิชาเลือก ในส่วนท่ีเป็นรายวิชาบังคับนั้น ได้จัดรายวิชา ส 605 เป็นวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์โดยเฉพาะ นอกจากน้ัน ยังมีวิชาเลือกท่ีเกี่ยวข้องกับเน้ือหาประวัติศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนที่สนใจวิชาประวัติศาสตร์หรือต้องการศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษาได้ เลือกถึง 11 วิชา ต่อมามีการปรับปรุงและ ภาพที่ ... ทมี่ า ... พัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับสภาพของสังคม โดยมีการ ภาพท่ี 6 หลักสตู รมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ พุทธศกั ราช 2521 (ท่มี า: https://library.ipst.ac.th/handle/ipst/5560) ประกาศใช้ประกาศใช้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) 2.5 สาระประวัติศาสตร์ในหลักสูตรการศึกษา ภาพที่ 6 หลกั สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้ (ทีม่ า: http://www.krukird.com/boon/curiculum-2544/) กาหนดสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มด้วยกัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม นับเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สาคัญใน หลักสูตร สาระท่ีเป็นองคความรู้ของกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ประกอบด้วย 5 สาระ ได้แก่ สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตใน สังคม สาระเศรษฐศาสตร์ สาระประวัติศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ สาหรับสาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ สาระน้ีเน้นความคิดรวบยอดท่ี เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ปรัชญา มานุษยวิทยา สังคมวิทยา และ โบราณคดีท่ีมุ่งให้มีความเข้าใจว่าวิวัฒนาการการดาเนินชีวิตของ มนุษยชาติน้ันมีการส่ังสมมาตามกาลเวลาอย่างต่อเนื่องและ เปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัย การศึกษาเรื่องราวในอดีตทาให้เกิดการ 17

เรียนรู้ว่ามนุษย์ในอดีตเผชิญปัญหาต่างๆ ในขณะดารงชีวิตอยู่อย่างไร มีวิธีการจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ท้ังท่ี ประสบความสาเร็จและความผิดพลาดอย่างไร เหตกุ ารณ์และการกระทาในอดีตมีผลต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ในเวลาต่อมาอย่างไร อันจะเป็นการสร้างประสบการณ์และทางเลือกในการดารงชีวิตแก่คนรุ่นหลังต่อไป การ เรียนการสอนสาระที่ 4 ประวัติศาสตร์นี้ โรงเรียนจะจัดหลักสูตรโดยจัดทารายวิชาท่ีจะสอน โดยยึดมาตรฐาน การเรียนรจู้ านวน 3 มาตรฐาน รวมทัง้ มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชนั้ อกี ด้วย 2.6 สาระประวัติศาสตร์ในหลักสูตรแกนกลางขั้น พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้มีการทบทวนหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ประกอบกับมีนโยบายในการพัฒนา เยาวชนเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้าน เทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนใน สังคมโลกได้อย่างสันติ จึงนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ท่ีมีความเหมาะสม ชัดเจน ท้ัง เป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการ นาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีชัดเจน เพื่อใชเ้ ป็นทศิ ทางในการจัดทาหลักสตู รสถานศึกษาในแต่ละระดับ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเป็น 1 ใน 8 กลุ่ม ภาพท่ี 8 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ท่ีมา: สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พุทธศักราช 2551 โดยกาหนดสาระการเรียนรู้ย่อยไว้ 5 สาระ เหมือน พนื้ ฐาน, 2551) หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 ดงั น้ี  สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม  สาระท่ี 2 หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม  สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์  สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์  สาระท่ี 5 ภมู ิศาสตร์ สาระประวัติศาสตร์ท่ีจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนนั้น นับเป็นวิชาท่ีมีความสาคัญยิ่ง เป็นสาระท่ีจะหล่อหลอมเยาวชนให้เป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ มีความรัก ความหวงแหน ความภูมิใจ ตลอดจน ความผูกพันกับท้องถิ่น ประเทศชาติ รวมทัง้ มนษุ ยชาติในภูมภิ าคและสังคมโลกดว้ ยกนั สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตรป์ ระกอบด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่  มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทาง ประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ิธีการทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ  มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้าน ความสัมพนั ธ์และการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญ และสามารถวิเคราะห์ ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึน 18

 มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภมู ิใจและธารงความเปน็ ไทย นอกจากน้นั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ยังได้กาหนดตัวชี้วัดชั้นปี (ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น) และตัวช้ีวัดช่วงช้ัน (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) ของ สาระท่ี 4 ประวตั ิศาสตร์ไว้อย่างชัดเจนอีกด้วย การจัดการเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร์ในสถานศึกษานั้น จากคาสั่งของคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ที่กาหนดให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ป.1- ม.6) ในทกุ สงั กดั จัดการเรยี นการสอนประวัติศาสตร์เป็นรายวิชาเฉพาะขึ้นอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ช่ัวโมง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยสถานศึกษาจะต้องดาเนินการปรับโครงสร้าง เวลาเรียนของหลักสูตรสถานศึกษาในรายวิชาพ้นื ฐานใหส้ อดคลอ้ งกบั คาสงั่ ท่กี าหนดไว้ ดงั นี้  ระดับประถมศึกษา กาหนดให้เรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ 40 ช่ัวโมง แนวปฏิบัติ สาหรับการจัดตารางเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์นั้น สถานศึกษาจัดตารางเรียนสาหรับรายวิชาประวัติศาสตร์ เป็นสปั ดาห์ละ 1 ชั่วโมง เปน็ เวลา 40 สปั ดาห์รวม 40 ชว่ั โมง 2)  ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น กาหนดให้เรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ 40 ชั่วโมง (1 หน่วย กิต) แนวปฏิบัติสาหรับการจัดตารางเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์นั้น สถานศึกษาสามารถจัดเป็น 2 ภาคเรียน โดยจัดเปน็ รายวชิ าละ 0.5 หนว่ ยกิต หรือจดั ไว้ในภาคเรียนใดภาคเรียนหน่งึ โดยจดั เป็นรายวิชาละ 1 หน่วยกิต ทั้งนี้ ขึน้ อยกู่ ับบริบทของสถานศึกษา  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กาหนดให้เรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ 80 ช่ัวโมง (2 หน่วยกติ ) แนวปฏิบัตสิ าหรับการจดั ตารางเรยี นรายวิชาประวัติศาสตร์น้ัน สถานศึกษาสามารถจัดได้หลายแบบ เชน่ จัดเป็นรายวิชาละ 0.5 หน่วยกิต จานวน 4 ภาคเรียน/จัดเป็นรายวิชาละ 1 หน่วยกิต จานวน 2 ภาคเรียน การจัดไว้ในระดบั ชัน้ ใด ภาคเรยี นใดกข็ ้ึนอยู่กบั บริบทของสถานศึกษา และคานึงหลักของพัฒนาการการเรียนรู้ ของผ้เู รยี นเปน็ สาคญั 3. สภาพการจดั การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ จากการศึกษาเอกสาร แนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆ พบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสภาพและปัญหาการจัดการ เรียนรรู้ ายวชิ าวชิ าประวัตศิ าสตร์ รายละเอยี ดดังนี้ สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2551) การศึกษาวิจยั เร่ือง สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข การจัดการเรียนการสอนสาระหน้าท่ีพลเมือง ประวัติศาสตร์ ศีลธรรม ศาสนา เรียงความและย่อความ พบ ปัญหาการเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร์ ได้แก่ 1) ปัญหาเกี่ยวกับครู พบว่า ครูผู้สอนส่วนใหญ่ไม่ใช่ครูท่ี จบวชิ าเอกดา้ นสังคมศึกษาโดยตรงทาให้ไม่มีความถนัด ขาดความลุ่มลึกในเน้ือหาวิชาและขาดความชานาญใน การสอนประวัติศาสตร์ มีภาระงานอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง กับภาระงานสอนมากท้ังงานภายในและภายนอก สถานศึกษา ขาดความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรและ สาระการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์อย่างลึกซ้ึง การแปลง หลักสูตรไปสู่การจัดการเรียนการสอนยังทาได้ไม่ดี ไม่สามารถจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรสู้ าเร็จรปู ขาดการวิเคราะห์ ถึงค ว าม เห มาะ สม กับบ ริบ ทท่ีเ ป็น จริง ขอ ง สถานศึกษาของตนเอง รวมถึงไม่ได้รับการฝึกอบรม 19

และพัฒนาทั้งในด้านความรู้เน้ือหาวิชาและทักษะในการจัดการเรียนรู้ 2) ปัญหาเกี่ยวกับนักเรียน พบว่า นักเรียนไม่เห็นความสาคัญของวิชาประวัติศาสตร์ 3) ปัญหาเกี่ยวกับหลักสูตรและการบริหารจัดการสอน พบว่า หลักสูตรสถานศึกษาไม่ครอบคลุมและไม่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ผู้บริหารและครูยังขาด ความร้แู ละความเข้าใจในการจัดทาหลกั สตู รสถานศกึ ษาทถี่ ูกตอ้ ง รวมถงึ การจัดเวลาสอนในหลักสูตรกาหนดไว้ เพยี งสปั ดาห์ละ 2 -3 คาบเท่าน้ัน ทาให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนให้ครบถ้วนตามเน้ือหาและไม่สามารถ ลงลกึ ในรายละเอยี ด 4) ปัญหาเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน พบว่า ส่วนใหญ่ครูใช้การบรรยาย เล่าเร่ือง และมีการศึกษาสถานที่ทางประวัติศาสตร์บ้าง ส่วนใหญ่เน้นการเรียนในห้องเรียน บรรยากาศการเรียนการ สอนน่าเบื่อหน่ายสาหรับผู้เรียน ครูยังเน้นการท่องจา ขาดกระบวนการคิดวิเคราะห์ การสร้างจิตสานึก ความ ภาคภมู ใิ จในความเปน็ ชาตยิ ังมีข้อจากัด เนื้อหาท่ีครูเลือกมาสอนครูจะเลือกเฉพาะท่ีตนสนใจ หรือมีความถนัด ทาให้ขาดสาระท่ีสาคัญบางส่วนไป 5) ปัญหาเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน พบว่า สื่อการเรียนการสอนไม่ เพียงพอ ไมเ่ ร้าความสนใจผเู้ รียน สถานศกึ ษาให้ความสาคญั นอ้ ยและไมค่ อ่ ยจดั สรรงบประมาณเพ่ือจัดหาส่ือใน กลุม่ สาระประวตั ิ ครูผสู้ อนส่วนใหญ่ยังคงใช้หนังสือแบบเรียนเป็นส่อื การเรียนการสอนในระดับมาก ขาดการใช้ สื่อท่ีทันสมัย ส่ือสร้างสรรค์ และสื่อที่มีคุณภาพมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ครูขาดความรู้และทักษะใน การผลิตสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียน 6) ปัญหาเก่ียวกับนิเทศการเรียนการสอน พบว่า ขาด อัตรากาลังของศึกษานิเทศก์ในเขตพื้นท่ีการศึกษา ขาดศึกษานิเทศก์ที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะกลุ่มสาระสังคม ศึกษาโดยตรง ระบบการนิเทศงานวิชาการภายในสถานศึกษายังไม่เข้มแข็ง ไม่สามารถให้การนิเทศได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 7) ปัญหาเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ พบว่า การสอบโอเน็ต และการตัดสาระบางเร่ือง ออกไปเพ่ือสอนให้ทันกับเวลาที่สอบ การกาหนดนโยบายไม่ให้นักเรียนซ้าช้ัน นโยบายท่ีไม่ให้ลงโทษนักเรียน นโยบายทางการศึกษาท่ีมีการเปล่ียนแปลงบ่อย ขาดความต่อเน่ือง การดาเนินการตามนโยบายขึ้นอยู่กับการ เปล่ียนแปลงผู้บริหารระดับสูง ณฐกรณ์ ดาชะอม (2553) เสนอปัญหาเก่ียวกับการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ แบ่ง ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) ปัญหาเก่ียวกับตัวครู พบว่า ความรู้ของครูยังไม่ได้มาตรฐาน การเตรียมการสอนยัง ไม่สม่าเสมอ ครูไม่มีเวลาหาความรู้เพิ่มเติม 2) ปัญหาเก่ียวกับตัวนักเรียน พบว่า นักเรียนให้ความสนใจในการ เรยี นนอ้ ย 3) ปญั หาเก่ียวกับสภาพการเรียนการสอน พบว่า ครูผู้สอนเป็นผู้นาเสนอแต่ผู้เดียว เน้นการพูด เล่า อธิบายส่งิ ทต่ี ้องการสอนให้แกน่ กั เรียน จุฑาภรณ์ หวังกุลา (2557) พบปัญหาสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ ห้องเรียนในบางโรงเรียนไม่เหมาะสมกับการสอนวิชาประวัติศาสตร์และไม่มีห้องสาหรับใช้ส่ือ โรงเรียนขาด ห้องสมุดและหนังสือประกอบอ่ืน ๆ เกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ที่จะช่วยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ โรงเรียนขาดครูเช่ียวชาญเฉพาะด้านและสอนไม่ตรงวิชาเอก ครูขาดสื่อที่น่าสนใจประกอบการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหารในบางโรงเรียนไม่เข้าใจหลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์และไม่ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพอ่ื ส่งเสริมการเรียนรูป้ ระวตั ศิ าสตร์ สุไรยา หมะจิ (2563) ศึกษาวิจัยเร่ือง สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรียนเอกชนใน สังกัดสานักงานศึกษาธิการ อาเภอหัวไทร จังหวัด นครศรีธรรมราช พบปัญหาการจัดการเรียนรู้รายวิชา ประวัติศาสตร์ตามสภาพจริงและสะท้อนจากมุมมอง ครูผู้สอน แบ่งออกเป็น 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านหลักสูตร พบว่า หลกั สูตรไม่ได้มาจากความต้องการของชุมชนและ 20

ทอ้ งถน่ิ การกาหนดมาตรการเรียนร้บู างขอ้ ยากต่อการปฏิบัติได้จริง จานวนบทเรียนมากเกินไปไม่สามารถสอน ใหค้ รบถว้ นตามเวลาทกี่ าหนด ครผู ู้สอนบางคนไมไ่ ด้รบั การอบรมให้ออกแบบการสอนท่ีสอดคล้องกับสาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ อาศัยการปฏิบัติตามเพ่ือนร่วมงาน ซ่ึงอาจไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ 2) ด้านครูผู้สอน พบปัญหาการขาดความรู้ ทักษะ รวมถึงส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ อาทิ ความเช่ียวชาญเฉพาะด้านเนื่องจากสอนไม่ ตรงวิชาเอก สอื่ ท่ที นั สมยั และน่าสนใจเพื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ ทักษะในการใช้ส่ือเทคโนโลยีสมัยใหม่มา ช่วยเสริมในการสอน เทคนิคการสอนที่หลากหลาย ทักษะในการสร้างบทเรียนเสริมการสอน รวมถึงไม่มีเวลา เตรียมความพร้อมในการสอนเนื่องจากสอนหลายวิชาและหลายระดับชั้น 3) ด้านผู้เรียน พบว่า นักเรียนส่วน ใหญ่ไม่กล้าพูดหรือกล้าแสดงออกในกิจกรรมการเรียนการสอน เห็นความสาคัญของการเรียนรู้เรื่องราว ประวัติศาสตร์น้อยมาก ไม่เกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ ไม่สนใจเรียน ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่อนข้าง ตา่ 4) ด้านตาราเรยี นและสอ่ื การสอน พบว่า ส่วนใหญใ่ ช้การบรรยายเพยี งอยา่ งเดยี ว เน้นการท่องจาเป็นหลัก และครูเปน็ ผู้ถา่ ยทอดความรใู้ หผ้ เู้ รียน ไม่ไดเ้ นน้ กระบวนการคดิ ให้ผูเ้ รียน การจัดทาสื่อการสอนส่วนใหญ่จัดทา ข้ึนเอง ซื้อมาด้วยตนเอง หรือ จัดซื้อด้วยเงินงบประมาณของโรงเรียน ไม่ได้มีการเรียนรู้นอกสถานที่มากนัก นอกจากน้ี ส่วนใหญโ่ รงเรยี นขาดแคลนอุปกรณ์ใสตทัศนูปกรณ์ เชน่ เครือ่ งเสียง ทีวี ซีดี และคอมพิวเตอร์ ขาด แคลนหนังสืออ่านนอกเวลา ขาดแหล่งค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จานวนอุปกรณ์การสอนมีไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ 5) ด้านปริมาณงานในความรับผิดชอบของครู พบว่า ครูมีจานวนน้อยและขาดความเช่ียวชาญ เฉพาะด้านเน่ืองจากสอนไม่ตรงวิชาเอก ครูมีช่ัวโมงสอนมากเกินไป รวมถึงมีภาระงานอื่นมากเกินไป 6) ด้าน การสนับสนนุ พบวา่ ขาดการสนบั สนุนทง้ั ในแงข่ องการเพิ่มจานวนครูผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ งบประมาณใน การจดั กิจกรรมวชิ าประวัติศาสตร์ สรุปได้ว่า พบปัญหาสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 9 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผู้เรียน 2) ด้าน ครูผู้สอน 3) ด้านหลักสูตร 4) ด้านการจัดการเรียนการสอน 5) ด้านการวัดและ ประเมนิ ผล 6) ดา้ นตาราเรียน ส่ือและอุปกรณ์การเรียนรู้ 7) ด้านแหล่งเรียนรู้ 8) ด้าน การสนับสนนุ และ 9) ประเด็นปัญหาอน่ื ๆ ท่ีเก่ียวข้อง 4. ขอ้ เสนอเพ่อื พัฒนาการจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตร์ จากการศึกษาเอกสาร แนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆ พบข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพและปัญหาการจัดการ เรียนรู้รายวิชาวิชาประวัตศิ าสตร์ รายละเอียดดังน้ี สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา (2551) การศกึ ษาวิจยั เร่ือง สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข การจัดการเรียนการสอนสาระหน้าท่ีพลเมือง ประวัติศาสตร์ ศีลธรรม ศาสนา เรียงความและย่อความ พบ ปัญหาการเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร์ ได้แก่ 1) ปัญหาครูผู้สอนประวัติศาสตร์ พบว่า ควรเพ่ิมกรอบ อตั รากาลังของครูในสถานศึกษาให้เพียงพอ จัดสรรครูให้สอนในกลุ่มสาระท่ีตรงกับวุฒิการศึกษาท่ีจบหรือตรง กับความเชี่ยวชาญของครู พัฒนาครูอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้มีความรู้ความสามารถในการสอนกลุ่มสาระที่ได้รับ มอบหมาย ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถาบันการผลิตครูได้ดาเนินการผลิตครูในลักษณะเป็นวิชาเอกคู่ หรือ วิชาเอก – โท เพ่ือเพมิ่ ขดี ความสามารถในการสอนของครูให้มากขึ้น พัฒนาศักยภาพของครูท้ังด้านเทคนิคการ สอนและเนื้อหาวิชาให้มีความชานาญหรือความเช่ียวชาญในการสอน 2) ปัญหาครูผู้สอนมีภาระงานอ่ืนที่ไม่ เกี่ยวข้องกับภาระงานสอน พบว่า ควรมีนโยบายสาคัญและเร่งด่วนในการจัดสรรอัตรากาลังบุคลากรสาย สนับสนุนการสอน ควรกาหนดภาระงานของครูให้ชัดเจนและเป็นภาระงานท่ีมุ่งเน้นการเรียนการสอนเป็น 21

สาคัญ กากับ ติดตามตรวจสอบให้ครูได้ปฏิบัติตามภาระงานที่กาหนด พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านครูให้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารควรพิจารณากลั่นกรองกิจกรรมที่โรงเรียนจะเข้าไปมีส่วนร่วม ควรเป็นกจิ กรรมทเี่ ก่ยี วข้องกบั ภารกิจของสถานศกึ ษาใหม้ ากทีส่ ดุ 3) ปญั หาครผู ูส้ อนสาระประวัติศาสตร์ขาด ความรู้ ความเขา้ ใจในหลักสูตร พบว่า ควรกาหนดนโยบายและแผนในการพัฒนาครูประจาการแบบเข้มด้าน หลักสูตร เทคนิคและเน้ือหาในการจัดการเรียนการสอน มีวงรอบการพัฒนาอย่างชัดเจน ควรกาหนดนโยบาย ส่งเสริมสนับสนุนการนิเทศการเรียนการสอน มีการพัฒนาครูประจาการด้วยรูปแบบและวิธีการท่ีหลากหลาย ควรให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นท่ีแท้จริง 4) ปัญหานักเรียนไม่ให้ความสาคัญในกลุ่มสาระสังคม ศึกษา พบว่า ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย สอดคล้องกับความสนใจและ ความถนัดของผู้เรียน ใช้สื่อที่สร้างความสนใจและให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี เกิดความเช่ือมโยงและประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั และเรียนรู้ได้อย่างมคี วามสุข สง่ เสริมและสนับสนนุ การจดั การเรียนการสอน จัดแหล่งเรียนรู้ ส่ือ การเรียนรู้ให้มีความพร้อม พอเพียงและมีคุณภาพ 5) ปัญหาหลักสูตรสถานศึกษาไม่ครอบคลุมและไม่ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา พบว่า ควรเร่งรัดพัฒนาศักยภาพของผู้บริหารและครูในการจัดทา หลกั สตู รสถานศึกษา ควรมกี ารนิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา มีระบบกลั่นกรองและ อนุมัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปรับปรุงสาระของหลักสูตรแกนกลางให้มีความเหมาะสม สามารถจัดการเรียน การสอนได้ตามเวลาทกี่ าหนด ควรกาหนดนโยบายส่งเสริมและเร่งรัดการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอย่าง จริงจัง มีการนิเทศติดตามอย่างต่อเน่ือง พัฒนาครูให้มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ มีการ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 6) ปัญหาส่ือการเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา พบว่า ควร สนับสนุนส่งเสริมให้ครูพัฒนาสื่อ จัดหาสื่อการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ มี ความเพยี งพอต่อการใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน พฒั นาศกั ยภาพครูในด้านการผลิตส่ือและการใช้สื่อ ส่งเสริมให้ ครูใช้ส่ือ จัดกิจกรรมยกย่องครูผลิตส่ือดีเด่น 7) ปัญหาขาดอัตรากาลังของศึกษานิเทศก์เป็นจานวนมาก พบว่า ควรมีนโยบายเพิ่มอัตรากาลังศึกษานิเทศก์ สรรหาศึกษานิเทศก์ท่ีมีความเชี่ยวชาญเพิ่มขึ้นให้เพียงพอ พัฒนา ศักยภาพของศึกษานิเทศก์ให้มีความรู้ในเนื้อหาและความเช่ียวชาญในการนิเทศ ลดภาระงานอ่ืนลงที่ไม่ใช่ การศึกษานิเทศ จัดระบบการนิเทศงานวิชาการภายในให้เข้มแข็ง พัฒนาผู้บริหารทุกระดับและครูผู้นิเทศให้มี ความสามารถในการนิเทศ นาผลการนเิ ทศมาใชใ้ นการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน พัชรี ม้าลออ (2556) ศึกษาวิจัยการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาประวัติศาสตร์ เร่ือง ประวัติศาสตร์ เมืองกาญจนบุรี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ประวัตศิ าสตร์ ไดแ้ ก่ 1) การนาหลักสูตรไปใช้ครูผ้สู อนควรออกแบบกจิ กรรมหรือใช้เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ ท่ีส่งเสรมิ การใหน้ กั เรียนรบั ความรูอ้ ย่างเต็มที่และเต็มศักยภาพ อีกทั้งควรเน้นให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วย 22

ตนเองซ่ึงจะส่งผลให้นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น 2) การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร ควรมีการยืดหยุ่นเร่ือง ของเวลาและเน้ือหาสาระให้มีความเหมาะสม อีกท้ังควรมีวิธีการจัดการเรียนรู้หลาย ๆ วิธี เป็นการให้นักเรียน ได้มีการปฏิบัติกิจกรรมท่ีหลากหลายรูปแบบ ท้ังน้ีต้องดูความเหมาะสมระหว่างเนื้อหาสาระกับวิธีการจัดการ เรยี นรู้ 3) ครูผสู้ อนควรจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่เี ช่ือมโยงเก่ียวกับวิธีการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การจัดประกวดการแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น การโต้วาที และ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูผู้สอนควรใช้คาถามหรือการสร้างสถานการณ์เพ่ือช่วยกระตุ้นให้นักเรียนได้ แสวงหาวิธีการในด้านการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน และหาความสาคัญว่าเหตุใดต้องทาเช่นน้ัน หากไม่ทาจะเป็นเช่นไร เป็นต้น โดยครูผู้สอนจะเป็นคนคอยให้ความช่วยเหลือ แนะนา ให้คาปรึกษาและให้ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นที่นักเรียนสนใจหรือเร่ืองท่ีนักเรียนไม่ เข้าใจ 4) การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร โดยการสอนด้วยผู้รู้ในท้องถิ่นเพ่ือให้ความรู้ ทาให้ นักเรียนก้าวกรอบความคิดเดิม ๆ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ัน สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูผู้สอน พัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับชุมชน และเน้นการสอนด้วยผู้รู้ในท้องถิ่นในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน 5) สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการรวบรวมข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน โดยจัดตั้งเป็นโรงเรียนแกนนา ด้านข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน 6) ผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ต้องมีความรู้ความเข้าใจในการถ่ายทอด ความรู้ไปสู่นักเรียน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาควรมีงบประมาณสนับสนุนการจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้สอน เนือ่ งจากปจั จบุ นั มีครูหลายโรงเรียนไม่ได้สอนตรงตามวิชาเอกทีเ่ รียนมาแต่ตอ้ งสอนในสาระการเรียนร้ทู ่ตี นไม่ถนัด ศริ ิวรรณ สุโขทัย (ม.ป.ป.) ได้ระบุถึง แนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ดังนี้ 1) การจัดเน้ือหาสาระเพ่ือการศึกษา ประวตั ิศาสตร์ สามารถจัดได้เป็น 6 แนวทาง ได้แก่ การจัดเนื้อหาตามกาลเวลา ตามสภาพภูมิศาสตร์ ตามสภาพการเมอื ง ตามสภาพวัฒนธรรมตามสภาพ สถาบัน และตามชีวประวัติบุคคล ส่วนมโนมติทาง ประวัติศาสตร์มีอยู่หลายมโนมติด้วยกันที่สาคัญ ได้แก่ อารยธรรม เหตุปัจจัย การเปลี่ยนแปลง ความขัดแย้ง วิกฤตการณ์การปฏิวัติลัทธิชาตินิยม การสารวจหลกั ฐาน และอคตทิ างประวัติศาสตร์มโน มติสาคัญเหล่าน้ีจะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจ ประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 2.1) การ กาหนดวัตถปุ ระสงค์ของการจัดการเรียนการสอน โดยมีวัตถุประสงค์อยู่หลายประการ ได้แก่ การพัฒนาความ เป็นพลเมอื งดีการพฒั นาความรักชาติ ความภูมใิ จในชาตขิ องตน และความจงรักภักดีต่อชาตกิ ารเรียนรู้อดีตเพื่อ เข้าใจสภาพและปัญหาในปัจจุบัน รวมท้ังที่จะเกิดข้ึนในอนาคต และการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล 2.2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพ่ือให้นักเรียนได้องค์ความรู้ใหม่ทาง ประวัติศาสตร์บนพ้ืนฐานของการกาหนดประเด็นปัญหา การต้ังสมมุติฐาน การรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และตคี วามหลักฐานหรือข้อมลู เพือ่ นาไปส่ขู อ้ สรปุ หรือผลของการศึกษาค้นคว้า 2.3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการศกึ ษานอกสถานท่ี เป็นการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนวิชาประวัติศาสตร์ได้สัมผัสกับสภาพท่ีแท้จริงของส่ิงที่ได้ ศึกษาไปแล้ว หรือที่กาลังศึกษาอยู่ 2.4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับลาดับ เหตุการณ์จะช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองอย่างเป็นเหตุ เป็นผล และยังสามารถทาให้นักเรียนจดจาเหตุการณ์สาคัญ ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์และ 23

สามารถเชื่อมโยงเหตกุ ารณ์เหลา่ นั้นมาสู่ปัจจุบัน โดยเน้นการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับกิจกรรมการนับช่วงเวลาและ การเทียบศักราชในวิชาประวัติศาสตร์กิจกรรมการสร้างแผนภูมิและกิจกรรมการสร้างเส้นเวลา 2.5) กิจกรรม การเขยี น การอ่าน และการพูดในวิชาประวัติศาสตร์ นับเป็นกิจกรรมท่ีเน้นนักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม ด้วยตนเอง เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาประวัติศาสตร์ได้ดีย่ิงขึ้น 2.6) การจัดกิจกรรมการ แสดงในการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์นับเป็นกิจกรรมที่เหมาะจะ นามาใช้ในการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ เพราะเป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถลงมือปฏิบัติด้วยตนเองทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการ เรียนประวตั ิศาสตร์ยง่ิ ขึ้น ตลอดจนสามารถพัฒนาและสะท้อนความรู้สึกของบุคคลในเหตุการณ์ได้อีกด้วย โดย ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการแสดงได้หลายรูปแบบ ได้แก่ กิจกรรมการแสดงละคร และกิจกรรมการแสดง บทบาทสมมุติ 3) ส่ือ แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 3.1) การใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเข้าใจเนอื้ หาประวัตศิ าสตรม์ ากย่ิงขึ้น สื่อการเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตร์มีอยู่หลายประเภท ได้แก่ ส่ือ ประเภทโสตทัศน์สื่อสิ่งพิมพ์สื่อภาพ และเสียง และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ 3.2) แหล่งการเรียนรู้สาหรับการจัดการ เรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตรน์ บั ว่ามีความสาคญั อยา่ งยิง่ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์เพื่อ ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง แหล่งการเรียนรู้ประกอบการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์มีท้ังท่ีปรากฏในประเทศและในท้องถิ่น 3.3) เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความสาคัญต่อการเรียน การสอนประวัติศาสตร์ในปัจจุบันครูผู้สอน ควรให้นักเรียนรู้จักใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่ือในการหาข้อมูล เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ จากเว็บไซต์ทั้ง ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ท่ีทันสมัย 4) การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 4.1) สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของการจัดการเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ในสถานศึกษา โดยพฤติกรรมท่ีต้องวัดและประเมินผลการเรียน การสอนวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย ความรู้ความเข้าใจในวิชาประวัติศาสตร์หรือด้านสติปัญญา เจตคติ และค่านิยมในวิชาประวัติศาสตร์และทักษะในวิชาประวัติศาสตร์ 4.2) เคร่ืองมือการวัดและประเมินผลการ เรียนการสอนในวชิ าประวตั ศิ าสตรท์ ส่ี าคญั คอื เครอื่ งมอื วดั ความกา้ วหน้าผู้เรียนเพื่อประเมินความรู้และทักษะ คือแบบทดสอบ ส่วนเคร่ืองมือวัดและประเมินด้านเจตคติและค่านิยม หรือด้านความรู้สึกและอารมณ์น้ัน คือ วธิ ีการทอ่ี ยูบ่ นพนื้ ฐานของการสังเกตและวธิ กี ารท่ีใหน้ ักเรยี นรายงานตนเอง สรุปได้ว่า แนวทางพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ซง่ึ ประกอบดว้ ย ดา้ นผูเ้ รียน ด้านครูผู้สอน ผู้บริหาร ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมนิ ผล ด้านส่อื และอุปกรณก์ ารเรียนรู้ สามารถดาเนินการดงั นี้ 1) ดา้ นครูผู้สอน ประกอบด้วย 1.1) ด้านการผลติ ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้สถาบันการผลิตครูได้ ดาเนินการผลิตครูในลักษณะเป็นวิชาเอกคู่ หรือวิชาเอก – โท เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการสอนของครูให้ มากขนึ้ 1.2) ด้านการพัฒนา ได้แก่ (1.2.1) ควรกาหนดนโยบายและแผนในการพัฒนาครูประจาการแบบเข้ม ด้านหลักสูตร เทคนิคและเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอน มีวงรอบการพัฒนาอย่างชัดเจน สอดคล้องกับ ความตอ้ งการจาเป็นทแ่ี ท้จริง รวมถงึ พัฒนาครอู ยา่ งตอ่ เนอื่ งเพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการสอนกลุ่มสาระ ที่ได้รับมอบหมาย (1.2.2) ควรเร่งรัดพัฒนาศักยภาพของผู้บริหารและครูในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา (1.2.3) ควรกาหนดนโยบายส่งเสริมสนับสนุนการนิเทศการเรียนการสอน (1.2.4) ควรสนับสนุนส่งเสริมให้ครู พัฒนาสื่อ จัดหาและใช้สื่อการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ รวมถึงการจัด กิจกรรมยกย่องครูผลิตส่ือดีเด่น 1.3) การใช้ ได้แก่ (1.3.1) ควรมีนโยบายสาคัญและเร่งด่วนในการจัดสรร อัตรากาลังบุคลากรสายสนับสนุนการสอน เพ่ิมกรอบอัตรากาลังของครูในสถานศึกษาให้เพียงพอ รวมถึง 24

จัดสรรครูให้สอนในกลุ่มสาระที่ตรงกับวุฒิการศึกษาที่จบหรือตรงกับความเชี่ยวชาญของครู (1.3.2) ควร กาหนดภาระงานของครูให้ชัดเจนและเป็นภาระงานที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเป็นสาคัญ กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้ครูได้ปฏิบัตติ ามภาระงานทกี่ าหนด 2) ด้านหลักสูตร ควรปรับปรุงสาระของหลักสูตรแกนกลางให้มีความเหมาะสม สามารถจัดการเรียน การสอนได้ตามเวลาที่กาหนด มีการนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา มีระบบ กล่ันกรองและอนุมัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษา รวมถึงการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรท่ี สอดคล้องกับชุมชน และเน้นการสอนด้วยผูร้ ใู้ นท้องถ่นิ ในกลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ่ืน 3) ด้านการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ 3.1) ควรกาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอน อย่างชัดเจนและหลากหลาย ได้แก่ การพัฒนาความเป็นพลเมืองดีการพัฒนาความรักชาติ ความภูมิใจในชาติ ของตน และความจงรกั ภักดีต่อชาตกิ ารเรยี นรู้อดีตเพื่อเข้าใจสภาพและปัญหาในปัจจุบัน รวมทั้งท่ีจะเกิดขึ้นใน อนาคต และการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล 3.2) ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการสอนท่ี หลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนัดของผู้เรียน ใช้ส่ือที่สร้างความสนใจและให้เกิดการเรียนรู้ท่ี ดี เกิดความเชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข 3.3) ควรกาหนดนโยบาย ส่งเสรมิ และเรง่ รดั การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการอยา่ งจรงิ จัง มีการนิเทศติดตามอย่างต่อเนื่อง พัฒนา ครูให้มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 3.4) ครผู สู้ อนควรออกแบบกจิ กรรมหรือใช้เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมการให้นักเรียนรับความรู้อย่าง เต็มท่ีและเต็มศักยภาพ อีกท้ังควรเน้นให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองซ่ึงจะส่งผลให้นักเรียนเกิดความ เข้าใจมากข้ึน 3.5) การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร ควรมีการยืดหยุ่นเรื่องของเวลาและเน้ือหาสาระให้มีความ เหมาะสม อกี ทั้งควรมีวิธีการจัดการเรียนรู้หลาย ๆ วธิ ี เป็นการให้นกั เรยี นได้มีการปฏิบัติกิจกรรมที่หลากหลาย รูปแบบ ท้ังน้ีต้องดูความเหมาะสมระหว่างเน้ือหาสาระกับวิธีการจัดการเรียนรู้ 3.6) ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรม ตา่ ง ๆ ท่ีเชื่อมโยงเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน เช่น การจัดประกวดการแสดงบทบาท สมมติเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน การโต้วาที และในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรใช้คาถามหรอื การสรา้ งสถานการณเ์ พอื่ ช่วยกระต้นุ ใหน้ ักเรียนไดแ้ สวงหาวิธีการในด้านการอนุรักษ์ และสืบทอดภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และหาความสาคัญว่าเหตใุ ดต้องทาเช่นน้ัน หากไม่ทาจะเป็นเช่นไร เป็นต้น โดย ครูผสู้ อนจะเปน็ คนคอยให้ความช่วยเหลือ แนะนา ให้คาปรึกษาและให้ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการอนุรักษ์ และสืบทอดภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ทน่ี ักเรียนสนใจหรือเร่อื งทีน่ ักเรียนไมเ่ ขา้ ใจ 4) ด้านการวัดและประเมินผล ได้แก่ 4.1) ควรดาเนินการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการ จัดการเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตรใ์ นสถานศกึ ษา โดยพฤติกรรมทต่ี อ้ งวัดและประเมินผลการเรียนการสอน วิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย ความรู้ความเข้าใจในวิชาประวัติศาสตร์หรือด้านสติปัญญา เจตคติและ ค่านยิ มในวิชาประวัตศิ าสตร์และทักษะในวิชาประวัติศาสตร์ 4.2) ควรมีเคร่ืองมือในการวัดและประเมินผลการ เรียนการสอนในวิชาประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย เช่น แบบทดสอบเพ่ือประเมินความรู้และทักษะ การสังเกต และวิธีการที่ให้นักเรียนรายงานตนเองเพ่ือวัดและประเมินด้านเจตคติและค่านิยม หรือด้านความรู้สึกและ อารมณ์ 5) ด้านตาราเรียน สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ ได้แก่ 5.1) ควรใช้สื่อการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์อย่างหลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเข้าใจเน้ือหาประวัติศาสตร์มากยิ่งข้ึน ได้แก่ สือ่ ประเภทโสตทัศนส์ ือ่ สิ่งพิมพ์ส่ือภาพ และเสียง และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5.2) ควรให้นักเรียนรู้จักใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเปน็ ส่อื ในการหาข้อมูลเกีย่ วกับประวัติศาสตร์จากเว็บไซต์ท้ังภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพ่ือให้ นักเรยี นมคี วามรู้ทท่ี ันสมยั 25

  1. ด้านแหล่งเรียนรู้ ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้แหล่งการเรียนรู้ทั้งที่ปรากฏในประเทศและใน ท้องถ่ินสาหรับการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ จรงิ 7) ด้านการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานภายนอก ควรมีการส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน จัดแหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ให้มีความพร้อม พอเพียงและมีคุณภาพ นอกจากน้ี สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาควรมีงบประมาณสนับสนุนการจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้สอน เน่ืองจากปัจจุบันมีครูหลายโรงเรียนไม่ได้สอนตรงตามวิชาเอกที่เรียนมาแต่ต้องสอนในสาระการเรียนรู้ที่ตนไม่ ถนดั 8) ประเด็นอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ 8.1) ควรมีนโยบายเพ่ิมอัตรากาลังศึกษานิเทศก์ สรรหา ศึกษานิเทศก์ท่ีมีความเชี่ยวชาญเพิ่มข้ึนให้เพียงพอ พัฒนาศักยภาพของศึกษานิเทศก์ให้มีความรู้ในเน้ือหาและ ความเชีย่ วชาญในการนิเทศ ลดภาระงานอ่นื ลงทไ่ี มใ่ ชก่ ารศึกษานิเทศ จดั ระบบการนิเทศงานวิชาการภายในให้ เข้มแข็ง รวมถึงพัฒนาผู้บริหารทุกระดับและครูผู้นิเทศให้มีความสามารถในการนิเทศ นาผลการนิเทศมาใช้ใน การพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน 8.2) สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ให้มกี ารรวบรวมข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิน่ โดยจดั ตัง้ เป็นโรงเรียนแกนนาด้านข้อมูลประวัติศาสตรท์ ้องถน่ิ ท้ายที่สุดแล้ว การพัฒนาอย่างครอบคลุมในทุกด้านจะส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียน ความต้องการที่จะ เรยี นรู้ และเห็นความสาคัญของการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 26

ผลการศกึ ษาวิจัย คณะศึกษาวิจัยฯ ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ด้วยแบบสอบถาม ครูผู้สอนและผู้เรียนจากสถานศึกษาทุกสังกัดท่ัวประเทศ ระหว่างเดือนกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2564 มี ครผู สู้ อนและผู้เรยี นใหค้ วามสนใจตอบแบบสอบถามฯ เป็นจานวนมาก ประกอบด้วย ครูผู้สอนจานวน 10,884 คน ผู้เรียนจานวน 60,887 คน โดยแบบสอบถามฯ แบง่ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลออกเป็น 3 สว่ น คือ ข้อมูลทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลสภาพปจั จุบนั ของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ และข้อเสนอแนะ เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากนี้ ได้ดาเนินการ สนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) เพ่ือรับฟังสภาพปัญหาจริงจากครูผู้สอนและผู้เรียน ระหว่างวันท่ี 7 – 8 สิงหาคม 2564 การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 คน ได้แก่ 1) ดร.เฉลิมชัย พันธ์เลิศ 2) ผศ.ดร. พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ และ 3) อาจารย์ปิง เจริญศิริวัฒน์ (อาจารย์ปิง ดาว้องก์) ระหว่างวันท่ี 16 – 18 สิงหาคม 2564 รวมถึงการปรึกษาหารือผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ อาทิ 1) ศาสตรจารย์พิเศษ ธงทอง จนั ทรางศุ 2) ดร.วเิ ชยี ร เกตุสงิ ห์ 3) ดร.เฉลิมชัย พันธ์เลิศ เพื่อให้ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นในการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งผลการศึกษาวิจัยแบ่งการนาเสนอข้อมูล ออกเปน็ 2 ส่วน คอื การศึกษาวิจยั เชงิ ปรมิ าณ และการศกึ ษาวิจัยเชิงคุณภาพ รายละเอยี ดดังนี้ การศกึ ษาวจิ ัยเชงิ ปริมาณ การศึกษาวจิ ัยเชงิ ปริมาณ สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน แบ่งการนาเสนอข้อมูลออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อมูลจากครูผู้สอนและผู้เรียน ซ่ึงข้อมูลดังกล่าวมาจากการ วิเคราะห์ข้อมูลในส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามฯ และส่วนท่ี 2 ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการ จัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ของแบบสอบถามฯ จากนั้นนาเสนอในรูปแบบกราฟและตาราง ประกอบคาอธบิ าย ผลการศึกษาวิจยั ดังนี้ 1. ข้อมลู จากครผู ู้สอน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากครูผู้สอน ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในหลากหลายประเด็น ได้แก่ 1) ข้อมูลทั่วไปของครูผู้สอน ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทางาน สังกัดโรงเรียนท่ี สอน ระดับชนั้ ที่สอน การใช้เอกสาร/หนังสือเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ภาระงานอ่ืน/งานอ่ืนท่ีได้รับมอบหมาย 2) ข้อมูลสภาพปัจจุบันฯ ประกอบด้วย การเห็นถึงความสาคัญ/จาเป็นของวิชาประวัติศาสตร์ ความชอบ อยาก สอนและพรอ้ มในการสอน การผ่านการศึกษา/เรียนรู้/ฝึกอบรมเก่ียวกับการสอนประวัติศาสตร์ ความคิดเห็นที่ มีตอ่ นโยบายของกระทรวงและหลกั สตู รประวตั ศิ าสตร์ การจดั การเรียนรใู้ นรายวิชาประวัติศาสตร์ในช่วง 3 ปีที่ ผา่ นมา (ปี 2562 – 2564) รายละเอียดดังนี้ 1.1 ข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 74) อายุระหว่าง 25 – 30 ปี (ร้อยละ 27.2) และ มากกว่า 50 ปี (ร้อยละ 27.2) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 75.3) วิชาเอกที่จบ คือ สังคมศึกษา (ร้อยละ 33.2) และอื่น ๆ (บรรณารักษศาสตร์ คอมพิวเตอร์ คหกรรมศาสตร์ หลักสูตรและการสอน บริหาร 27

การศึกษา อุตสาหกรรม สุขศึกษา นาฏศิลป์ ศิลปศึกษา ฯลฯ) (ร้อยละ 29.6) ส่วนใหญ่เป็นครูผู้สอนในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (ร้อยละ 77.2) และสอนในระดับชั้นประถมศึกษา มี ประสบการณ์การทางานต้ังแต่เร่ิมสอนระหว่าง 1 – 5 ปี (ร้อยละ 31.8) และมากกว่า 20 ปี (ร้อยละ 22.3) ครูผู้สอนส่วนใหญ่ใช้เอกสาร/หนังสือเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของสานักพิมพ์เอกชน องค์การค้าของ สกสค. สถาบนั พฒั นาคุณภาพวิชาการ สานกั พิมพ์อักษรเจริญทศั น์ และสานักอ่ืน ๆ นอกจากน้ี เมื่อสอบถามถึงงานอื่น ที่ได้รับมอบหมายพบว่า มากกว่าร้อยละแปดสิบ (ร้อยละ 89.1) ได้รับมอบหมายให้สอนวิชาอื่น ได้แก่ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา การงานอาชีพ สอนทุกวิชา และวิชาอ่ืน ๆ ภาระงานอ่ืน ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน งานวิชาการ งานแนะแนว งานการเงิน/พัสดุ งานปกครองนักเรียน งานอาคาร สถานท่ี งานทะเบยี นวัดผล งานกีฬา และงานอืน่ ๆ ขอ้ มลู แสดงดังกราฟและตารางประกอบคาอธบิ ายดงั นี้  เพศ 26 เพศหญงิ เพศชาย 74 ภาพที่ 9 เพศของผูต้ อบแบบสอบถาม จากภาพท่ี 9 แสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ถึงร้อยละ 74 ขณะท่ี เพศชาย มเี พยี งร้อยละ 26  อายุ 4.1 นอ้ ยกว่า 25 ปี 20.4 27.2 25 - 30 ปี 8.9 31 - 35 ปี 36 - 40 ปี 12.5 13.5 41 - 45 ปี 13.4 46 - 50 ปี ภาพที่ 10 อายุของผูต้ อบแบบสอบถาม จากภาพที่ 10 แสดงให้เห็นว่า มีการกระจายอายุของผู้ตอบ อายุระหว่าง 25 – 30 ปี ร้อยละ 27.2 รองลงมาอายุมากกว่า 50 ปีข้ึนไป ร้อยละ 20.4 อายุระหว่าง 31 - 35 ปี , 36 – 40 ปี และ 41 – 45 ปี 28

คดิ เป็นสดั สว่ นเทา่ ๆ กนั คอื ร้อยละ 13.5 , 13.4 และ 12.5 ตามลาดับ ขณะท่ีอายุระหว่าง 46 - 50 ปี คิดเป็น รอ้ ยละ 8.9 และอายุนอ้ ยกว่า 25 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.1  ระดับการศึกษา 0.6 0.7 ปรญิ ญาตรี 23.3 ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก 75.3 ไมร่ ะบุ ภาพที่ 11 ระดบั การศึกษาของผตู้ อบแบบสอบถาม จากภาพที่ 11 แสดงให้เห็นวา่ ผู้ตอบแบบสอบสว่ นใหญ่มกี ารศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 75.3 รองลงมาคือ ระดับปริญญาโท ร้อยละ 23.3 ไม่ระบุระดับการศึกษาและปริญญาเอก คิดเป็นสัดส่วนเท่าๆ กัน คือ รอ้ ยละ 0.7 และ 0.6 ตามลาดบั  ประสบการณก์ ารทางาน (ตัง้ แตเ่ รม่ิ สอน) 22.3 5.5 น้อยกวา่ 1 ปี 31.8 1 - 5 ปี 6.6 6 - 10 ปี 13.2 11 - 15 ปี 16 - 20 ปี มากกว่า 20 ปี 20.6 ภาพที่ 12 ประสบการณ์การทางานของผตู้ อบแบบสอบถาม จากภาพที่ 12 แสดงให้เห็น การกระจายค่าเฉล่ียของผู้ตอบแบบสอบถามได้อย่างครอบคลุม โดย ผู้ตอบที่มีประสบการณ์การทางาน 1 – 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 31.8 รองลงมาคือประสบการณ์การทางาน มากกวา่ 20 ปี รอ้ ยละ 22.3 ประสบการณ์การทางาน 6 – 10 ปี ร้อยละ 20.6 ขณะที่ประสบการณ์การทางาน 11 – 15 ปี , 16 – 20 ปี และน้อยกว่า 1 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.2 , 6.6 และ 5.5 ตามลาดับ 29

 ขอ้ มลู โรงเรียน 6.3 1.7 0.3 สพฐ. 14.3 สช. โรงเรียนสาธติ ฯ อปท. อน่ื ๆ 77.2 ภาพที่ 13 ขอ้ มูลโรงเรยี นของผู้ตอบแบบสอบถาม จากภาพท่ี 13 แสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นครูในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน คิดเปน็ ร้อยละ 77.2 รองลงมาคือสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน รอ้ ยละ 14.3 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ รอ้ ยละ 6.3 สงั กดั อ่ืน ๆ รอ้ ยละ 1.7 และโรงเรียนสาธิต ร้อยละ 0.3  สาขาวชิ าเอกท่จี บ 29.6 33.2 สงั คมศกึ ษา 11.4.8 ภาษาไทย การประถมศกึ ษา 3.4 5.5 ภาษาอังกฤษ 4.60.74.9 3.5 3.9 4.2 2.8 ประวัตศิ าสตร์ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ปฐมวยั ภาพที่ 14 สาขาวิชาเอกทจ่ี บของผู้ตอบแบบสอบถาม จากภาพที่ 14 แสดงให้เห็นถึงการกระจายของข้อมูลในสัดส่วนที่มีค่าเฉล่ียไม่ห่างกันว่า ครูผู้สอนที่สอน ประวัติศาสตร์จบการศึกษาในสาขาวิชาสังคมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 33.2 รองลงมาคือ จบสาขาวิชาอื่น ๆ (บรรณารักษศาสตร์ คอมพิวเตอร์ คหกรรมศาสตร์ หลักสูตรและการสอน บริหารการศึกษา อุตสาหกรรม สุข ศึกษา นาฏศิลป์ ศิลปศึกษา ฯลฯ) ร้อยละ 29.6 ขณะท่ีจบสาขาวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ รัฐศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 5.5 , 4.9 , 4.6 และ 4.2 ส่วนจบสาขาวิชาประวัติศาสตร์โดยตรงมีน้อย คิดเป็น ร้อยละ 3.9 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 3.5 สาขาวิชาการจัดการ คิดเป็นร้อยละ 3.4 สาขาวิชา 30

ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 2.8 สาขาวิชาพลศึกษา ร้อยละ 1.8 สาขาวิชาพัฒนาชุมชน คิดเป็นร้อยละ 1.4 และสาขาวชิ าปฐมวัย คิดเป็นรอ้ ยละ 0.7  ระดบั ชัน้ ที่สอน 10.6 27.1 ป.1 - 6 ม.1 - 3 ม.4 - 6 76.1 ภาพท่ี 15 ระดับช้ันท่ีสอนของผู้ตอบแบบสอบถาม จากภาพที่ 15 ครทู ่ตี อบแบบสอบถามสว่ นใหญส่ อนในระดับชน้ั ประถมศึกษา ร้อยละ 76.1 รองลงมาคือ สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 27.1 และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ร้อยละ 10.6  งานอน่ื ที่ไดร้ บั มอบหมาย 10.9 ไดร้ บั มอบหมาย ไมไ่ ด้รับมอบหมาย 89.1 ภาพท่ี 16 งานอ่ืนท่ีได้รบั มอบหมายของผตู้ อบแบบสอบถาม จากภาพที่ 16 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญไ่ ด้รบั มอบหมายให้สอนวชิ าอนื่ หรอื งานอน่ื ควบคู่ไปกับการ สอนวิชาประวัติศาสตร์ด้วย คิดเป็นร้อยละ 89.1 ขณะที่ไม่ได้รับมอบหมายให้สอนวิชาอื่น หรืองานอื่นมีส่วน น้อย คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.9 โดยวชิ าอื่นทีส่ อน ได้แก่ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา การงาน 31

อาชีพ สอนทุกวิชา และวิชาอื่น ๆ สาหรับภาระงานอ่ืน ๆ ที่ครูได้รับมอบหมาย ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน งานวชิ าการ งานแนะแนว งานการเงิน/พัสดุ งานปกครองนักเรียน งานอาคารสถานท่ี งานทะเบียนวัดผล งาน กฬี า และงานอ่ืน ๆ ตามลาดับ 1.2 ขอ้ มลู สภาพปจั จบุ นั การจัดการเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1) ภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ (ความสาคัญ/ จาเป็น ความชอบสอน ความอยาก สอน) 2) การผ่านการศึกษา เรียนรู้ หรือ การฝึกอบรม 3) ความพร้อมในการสอนวิชาประวัติศาสตร์ 4) ความ เหมาะสมของนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ 5) ดา้ นความเหมาะสมของหลักสตู รวิชาประวัติศาสตร์ 6) ทักษะท่ีผู้เรียนจะได้จากการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ 7) การจดั การเรียนรใู้ นรายวิชาประวัตศิ าสตร์ในช่วง 3 ปกี ารศกึ ษาท่ผี ่านมา (2562 – 2564) ขอ้ มูลแสดงดังตาราง และคาอธบิ ายดังน้ี โดย การแปลความหมายของค่าเฉลี่ยทั้ง 5 ระดบั ดังนี้ คา่ เฉลย่ี 4.50 – 5.00 หมายถึง มีสภาพปจั จุบันอยใู่ นระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง มสี ภาพปจั จบุ นั อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 2.50 – 3.49 หมายถงึ มสี ภาพปัจจบุ นั อยู่ในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง มสี ภาพปัจจุบนั อยูใ่ นระดับน้อย ค่าเฉลย่ี 1.00 – 1.49 หมายถงึ มีสภาพปจั จุบนั อย่ใู นระดบั น้อยท่ีสุด (1) ภาพรวมของการจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตร์ ตารางที่ 2 ความสาคัญ/จาเป็น ความชอบ ความต้องการสอนในวิชาประวตั ิศาสตร์ ดา้ น/สภาพปัจจุบัน ค่าเฉล่ยี ความ ระดบั ความ เบ่ยี งเบน พึงพอใจ ภาพรวม 4.34 ความสาคัญ/จาเป็นของวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 4.00 0.78 มาก ความชอบในการสอนวิชาประวัติศาสตร์ 3.92 0.91 มาก ความตอ้ งการสอนในวิชาประวตั ศิ าสตร์ 0.98 มาก จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามเห็นวา่ วชิ าประวตั ิศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสาคัญและมีความ จาเป็น ( = 4.34, S.D.=0.78) ชอบสอน ( = 4.00, S.D.=0.91) และต้องการสอน อยู่ในระดับมาก ( = 3.92, S.D.=0.98) 32

(2) การไดร้ ับความรู้ หรือ การฝกึ อบรมเกี่ยวกบั การสอนประวตั ิศาสตร์  ภาพรวม 30 ได้รบั ไม่ไดร้ บั 70 ภาพท่ี 17 การไดร้ ับความรู้ หรอื การฝกึ อบรมเก่ียวกบั การสอนประวัติศาสตร์ จากแผนภาพที่ 17 แสดงใหเ้ หน็ ว่า ภาพรวมในการได้รับความรู้หรือการฝึกอบรมอ่ืนๆ เก่ียวกับการสอน ประวัติศาสตร์ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ได้ผา่ นการศึกษา เรียนรู้ หรือ การฝึกอบรม คิดเป็นร้อยละ 70.0 ที่ เหลอื อีกรอ้ ยละ 30.0 ไมไ่ ด้ผ่านการศึกษา เรยี นรู้ หรือ การฝกึ อบรม  ด้านการออกแบบการสอนและวิธีการสอนของวชิ าประวตั ิศาสตร์ 36.2 ไดร้ บั ไม่ไดร้ ับ 63.8 ภาพที่ 18 การได้รับความรู้/การฝึกอบรมด้านการออกแบบการสอนและวธิ ีการสอนของวิชาประวัตศิ าสตร์ จากแผนภาพที่ 18 แสดงให้เห็นว่า ครูผู้สอนส่วนใหญ่ได้รับความรู้หรือการฝึกอบรมด้านการออกแบบ การสอนและวิธีการสอนของวิชาประวัติศาสตร์ ร้อยละ 63.8 ที่เหลืออีกร้อยละ 36.2 ไม่ได้ผ่านการศึกษา เรียนรู้ หรอื การฝกึ อบรม 33

 ด้านการฝกึ ปฏบิ ัติ กจิ กรรมในช้นั เรยี น การนาความรทู้ ่ีเรยี นไปปฏบิ ตั ใิ นช้ันจรงิ หรอื การฝึกสอน 28.9 ไดร้ ับ ไม่ได้รบั 71.1 ภาพท่ี 19 การไดร้ บั ความรู้/การฝึกอบรมดา้ นการฝกึ ปฏิบัติ กจิ กรรมในชั้นเรียน การนาความรู้ท่ีเรียนไป ปฏิบตั ิในชน้ั จรงิ หรือ การฝกึ สอน จากแผนภาพท่ี 19 แสดงให้เหน็ วา่ ครูผสู้ อนส่วนใหญไ่ ด้รับความรู้/การฝึกอบรมด้านการปฏิบัติกิจกรรม ในชั้นเรียนและมีการนาความรู้ท่ีเรียนไปใช้ปฏิบัติจริงหรือฝึกสอนจริง ร้อยละ 71.1 และไม่ได้ผ่านการศึกษา เรยี นรู้ หรือ การฝกึ อบรม ร้อยละ 28.9  การผลิตและใชส้ อื่ การสอนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 31.6 ไดร้ บั ไม่ได้รับ 64.8 ภาพที่ 20 การได้รับความรู้/การฝึกอบรมด้านการผลิตและใช้ส่ือการสอนวิชาประวัติศาสตร์ จากแผนภาพที่ 20 แสดงให้เห็นว่า ครูผู้สอนท่ีตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ได้รับความรู้ ผ่านการศึกษา เรียนรู้ หรือ การฝึกอบรมด้านการผลิตและใช้สื่อการสอนวิชาประวัติศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 68.4 ท่ีเหลืออีก รอ้ ยละ 31.6 ไมไ่ ด้ผา่ นการศึกษา เรียนรู้ หรือ การฝึกอบรม 34

 ดา้ นการวดั และประเมนิ ผลในวชิ าประวตั ิศาสตร์ 22.4 ได้รบั ไม่ได้รับ 77.6 ภาพท่ี 21 การได้รบั ความรู้/การฝึกอบรมดา้ นการวดั และประเมนิ ผลในวชิ าประวตั ิศาสตร์ จากแผนภาพที่ 21 แสดงให้เห็นว่า ครูผู้สอนส่วนใหญ่ได้รับความรู้/การฝึกอบรมด้านการวัดและ ประเมินผลวิชาประวัติศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 77.6 ขณะครูที่เหลือไม่ผ่านการศึกษา ได้รับความรู้ด้านการวัด และประเมินผลวชิ าประวัติศาสตร์ ร้อยละ 22.4 (3) ความพรอ้ มในการสอนวชิ าประวัติศาสตร์ ตารางที่ 3 ความพรอ้ มในการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ด้าน/สภาพปัจจุบัน ค่าเฉลย่ี ความ ระดับความ เบ่ยี งเบน พึงพอใจ ความพร้อมในการสอนวิชาประวัติศาสตร์ 3.07 ด้านความรู้ เน้ือหาของวชิ าประวัตศิ าสตร์ 2.96 0.67 ปานกลาง ด้านการออกแบบการสอนและวิธีการสอนของวิชา 0.69 ปานกลาง ประวตั ศิ าสตร์ 2.98 ด้านการฝึกปฏิบัติ กิจกรรมในช้ันเรียน การนาความรู้ที่ 0.70 ปานกลาง เรยี นไปปฏบิ ตั ใิ นชั้นจริง หรอื การฝกึ สอน 2.91 ด้านการผลิตและใชส้ ื่อการสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ 3.08 0.72 ปานกลาง ด้านการวดั และประเมินผลในวิชาประวัติศาสตร์ 0.68 ปานกลาง จากตารางท่ี 3 ด้านความพร้อมของผู้ตอบแบบสอบถามในการสอนวิชาประวัติศาสตร์ พบว่า ทุกด้านมี ค่าเฉล่ียในระดับปานกลาง ท้ังด้านความรู้ เน้ือหาของวิชาประวัติศาสตร์ ( = 3.07, S.D.=0.67) ด้านการ ออกแบบการสอนและวิธีการสอนของวิชาประวัติศาสตร์ ( = 2.96, S.D.=0.69) ด้านการฝึกปฏิบัติ กิจกรรม ในช้ันเรียน การนาความรู้ท่ีเรียนไปปฏิบัติในช้ันจริง หรือ การฝึกสอน ( = 2.98, S.D.=0.70) ด้านการผลิต 35

และใช้ส่ือการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ( = 2.91, S.D.=0.72) และด้านการวัดและประเมินผลในวิชา ประวตั ิศาสตร์ ( = 3.08, S.D.=0.68) (4) ความเหมาะสมของนโยบายขของกระทรวงศึกษาธิการที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน วชิ าประวตั ศิ าสตร์ ตารางที่ 4 ความเหมาะสมของนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัตศิ าสตร์ ดา้ น/สภาพปัจจุบัน ค่าเฉลี่ย ความ ระดับความ 3.62 เบ่ยี งเบน พึงพอใจ นโยบาย ความเหมาะสมของนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ี 0.95 มาก เกี่ยวขอ้ งกบั การจดั การเรียนการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ จากตารางท่ี 4 พบว่า ความเหมาะสมของนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ เรียนการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ ครผู ู้สอนให้คา่ เฉลยี่ อย่ใู นระดับมาก ( = 3.62, S.D.=0.95) (5) ความเหมาะสมของหลกั สตู รวชิ าประวัตศิ าสตร์ 25.7 เหมาะสม ไม่เหมาะสม ควรปรับ 74.3 ภาพที่ 22 ความเหมาะสมของหลกั สูตรวิชาประวัตศิ าสตร์ จากแผนภาพท่ี 22 แสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความเห็นว่า หลักสูตรวิชา ประวัติศาสตร์ มีความเหมาะสม ร้อยละ 74.3 ขณะที่ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่า หลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์ ไม่เหมาะสมและควรปรบั ร้อยละ 25.7 โดยใหเ้ หตุผลว่า ด้านตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัดไม่สอดคล้องกับบริบทและการเปล่ียนแปลง ไม่สอดคล้องกับระยะเวลาการ เรยี นการสอน ไมส่ อดคล้องกับเนอื้ หา ไม่สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ และมีมากเกินไป ด้านเน้ือหา เนื้อหาท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรไม่สอดคล้องกับบริบทและการเปลี่ยนแปลง ควรเน้น 36

เนอ้ื หาประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ ประวตั ศิ าสตร์สากล และประวัติศาสตร์อาเซียน เน้ือหาท่ีครูต้องสอนมีมากเกินไป ควรปรบั ปรุงเนื้อหาสาระท่ีเป็นข้อมูลใหม่ทางประวัติศาสตร์ท่ีค้นพบใหม่และเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ เน้น เนื้อหาการสอนแบบคู่ขนาน (Parallel History) และการบูรณาการให้เข้ากับสังคมปัจจุบัน เน้นกระบวนการ ทางประวัตศิ าสตร์เป็นสาคัญ และมุง่ เน้นด้านแนวคิด การแกป้ ัญหา การนาไปประยุกต์ใช้ ด้านระยะเวลาในการเรียนการสอน ประกอบด้วย จานวนชั่วโมงที่สอนต่อสัปดาห์น้อยเกินไปแต่ เนื้อหาสาระวิชามมี ากทาให้สอนไมท่ ัน จดั สรรการสอนยากเนื่องจากต้องสอนร่วมกับรายวชิ าอื่น (6) ทักษะทผ่ี เู้ รยี นจะได้จากการเรยี นวชิ าประวัตศิ าสตร์ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ มีความเห็นว่า ทักษะท่ีผู้เรียนจะได้จากการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการ สื่อสาร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ วิพากษ์ (7) การจัดการเรียนรใู้ นรายวชิ าประวตั ศิ าสตรใ์ นชว่ ง 3 ปีการศกึ ษาท่ีผ่านมา (2562 – 2564) ตารางที่ 5 การจดั การเรยี นรใู้ นรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ในชว่ ง 3 ปีการศกึ ษาท่ผี ่านมา (2562 – 2564) ด้าน/สภาพปจั จบุ ัน คา่ เฉล่ยี คา่ ระดบั การ เบ่ียงเบน ปฏบิ ัติ การศึกษาหลักสูตรและตัวช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลาง/สถานศึกษา 3.76 ก่อนการจัดทาแผนการเรยี นรู้ 0.80 มาก การจัดทาแผนการเรียนรู้และแผนรายคาบที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดและ 3.70 หลกั สตู รแกนกลาง/ สถานศึกษา 3.72 0.87 มาก การบรู ณาการความรตู้ ่าง ๆ ในการเรยี นรู้ 3.66 0.80 มาก การจดั กิจกรรมใหผ้ ้เู รียนอย่างหลากหลาย 3.69 0.80 มาก การใช้สื่อและเทคโนโลยที หี่ ลากหลาย 3.56 0.82 มาก การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางการ 3.70 0.89 มาก ประเมินผล 0.78 มาก การวดั และประเมินผลท่หี ลากหลาย 3.68 การสอดแทรกการสอนเรื่อง ภูมิปัญญาไทย/ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน หรือ 0.82 มาก แหล่งเรียนรู้ รวมถึงใช้แหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญาท้องถ่ินในการจัดการ 3.28 เรยี นการสอน 1.06 ปานกลาง การได้รับการสนบั สนนุ จากหน่วยงานต้นสังกัดในการจัดการเรียนการ 2.80 สอนวิชาประวัตศิ าสตร์ 1.24 ปานกลาง การได้รับการสนับสนนุ จากหนว่ ยงานภายนอกในการจัดการเรียนการ สอนวชิ าประวัตศิ าสตร์ จากตารางท่ี 5 การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาประวัติศาสตร์ในช่วง 3 ปีการศึกษาท่ีผ่านมา (2562 – 2564) ในรายด้านพบว่า มีจานวน 8 ด้านที่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ได้แก่ การศึกษาหลักสูตรและตัวชี้วัด 37

ตามหลกั สตู รแกนกลาง/สถานศึกษากอ่ นการจัดทาแผนการเรียนรู้ ( = 3.76, S.D.=0.80) การจัดทาแผนการ เรียนรู้และแผนรายคาบที่สอดคล้องกับตัวช้ีวัดและหลักสูตรแกนกลาง/ สถานศึกษา ( = 3.70, S.D.=0.87) การบูรณาการความรู้ต่าง ๆ ในการเรียนรู้ ( = 3.72, S.D.=0.80) การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนอย่างหลากหลาย ( = 3.66, S.D.=0.80) การใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีหลากหลาย ( = 3.89, S.D.=0.62) การเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางการประเมินผล ( = 3.56, S.D.=0.89) การวัดและประเมินผลที่ หลากหลาย ( = 3.70, S.D.=0.78) การสอดแทรกการสอนเร่ือง ภูมิปัญญาไทย/ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน หรือ แหล่งเรียนรู้ และการใช้แหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอน ( = 3.68, S.D.=0.82) นอกจากนี้ มจี านวน 2 ด้านทีม่ ีการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั ปานกลาง ได้แก่ การได้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงานต้น สังกัดในการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ( = 3.28, S.D.=1.06) การได้รับการสนับสนุนจาก หนว่ ยงานภายนอกในการจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตร์ ( = 2.80, S.D.=1.24) 2. ขอ้ มลู จากผู้เรยี น การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เรียน ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในหลากหลายประเด็น ได้แก่ 1) ข้อมูล ทั่วไปของผู้เรียน ประกอบด้วย เพศ ระดับช้ันที่ศึกษา 2) ข้อมูลสภาพปัจจุบันฯ ประกอบด้วย ความสาคัญ จาเปน็ และความชอบท่ีมีตอ่ วชิ าประวัตศิ าสตร์ ความมุง่ หมายของการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ความพึงพอใจท่ี มตี ่อการจดั การเรยี นการสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ รายละเอยี ดดังน้ี 2.1 ข้อมลู ท่วั ไป  เพศ 39.2 เพศหญงิ เพศชาย 60.8 ภาพท่ี 23 เพศของผตู้ อบแบบสอบถาม จากแผนภาพที่ 23 แสดงข้อมูลข้างต้น พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60.8 ทเ่ี หลอื เปน็ เพศชาย คดิ เปน็ ร้อยละ 39.2 38

 ระดบั ชน้ั ทศี่ ึกษา 22.7 34.4 ป.1 - 6 ม.1 - 3 ม.4 - 6 49.9 ภาพท่ี 24 ระดับชน้ั ท่ศี กึ ษาของผตู้ อบแบบสอบถาม จากแผนภาพที่ 24 แสดงข้อมูลข้างต้น พบว่า ผู้เรียนที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ กาลังศึกษาอยู่ใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) ร้อยละ 42.9 รองลงมากาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษา (ป.1 - 6) รอ้ ยละ 34.4 และระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) รอ้ ยละ 22.7 ตามลาดับ 2.2 ข้อมลู สภาพปจั จุบนั การจดั การเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1) ความสาคญั จาเป็น และความชอบที่มีต่อวิชาประวัติศาสตร์ 2) ความมุ่งหมายของการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ข้อมูลแสดงดังกราฟและตารางประกอบ คาอธิบายดงั น้ี (1) ความสาคญั จาเปน็ และความชอบท่มี ตี อ่ วชิ าประวตั ิศาสตร์  ความสาคัญของวิชาประวัตศิ าสตร์ 5.5 สาคัญ ไมส่ าคัญ 94.5 39

ภาพท่ี 25 การเห็นความสาคัญของวชิ าประวัติศาสตรข์ องผ้ตู อบแบบสอบถาม จากแผนภาพท่ี 25 แสดงข้อมูลข้างต้น พบว่า ผู้เรียนท่ีตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 90 เหน็ วา่ วิชาประวตั ศิ าสตร์มีความสาคัญ (ร้อยละ 94.5) โดยมีผู้เรียนที่เห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์ไม่มีความสาคัญ เพยี งร้อยละ 5.5 ทง้ั นี้ ผเู้ รยี นที่ตอบแบบสอบถามท่ีเหน็ ว่าวิชาประวัติศาสตร์มีความสาคัญให้เหตุผลว่า เพราะ การเรียนวิชาประวัติศาสตร์ทาให้ได้ความรู้ ได้รับรู้เร่ืองราวประวัติความเป็นมาของเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ตั้งแต่อดตี เช่ือมโยงสู่ปัจจุบัน ได้รับรู้ถึงความเป็นมาของประวัติศาสตร์ชาติไทยในแต่ละยุคสมัย ประวัติศาสตร์ ยังช่วยให้เกิดความเข้าใจในมรดกวัฒนธรรมของมนุษยชาติ เข้าใจในความคิดได้อย่างกว้างขวาง ทัน เหตุการณ์ และสามารถเข้าใจคุณค่าในสิ่งต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น สามารถนาความรู้ทางประวัติศาสตร์มาเป็น บทเรียน นาไปปรับใช้และเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตในปัจจุบันได้ นอกจากนี้ การเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ ยังทาให้ทราบถึงประวัติความเป็นมาของบุคคลสาคัญ/สถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์ และ ยังทาให้เกิดทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูล พิจารณาไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ รู้จักตีความเหตุการณ์ต่าง ๆ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุมีผล และเห็นว่าวิชาประวตั ศิ าสตร์นับเป็นปัจจัยหน่ึงในการสร้าง คุณค่าทางคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและปลกู ฝงั ให้เกดิ ความรักและสามัคคีต่อถิ่นกาเนิดและประเทศชาติสู่คนรุ่นหลัง สืบไป สาหรับผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์ไม่มีความสาคัญ เพราะเนื้อหาสาระวิชา ประวัติศาสตร์ค่อนข้างยาก ซับซ้อน ไม่สนุก และไม่น่าสนใจ เนื้อหาสาระบางเร่ืองยังขาดความชัดเจน ทาให้ เรียนแล้วเกิดความไม่เข้าใจ และมองว่าวิชาประวัติศาสตร์ไม่ได้จัดอยู่ในวิชาหลักพ้ืนฐานที่จาเป็นต้องเรียนรู้ สามารถศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมได้ด้วยตนเอง จึงเห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์ไม่มีความสาคัญ เมื่อเรียนแล้วไม่ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการสอบหรือต่อยอดทางการศึกษาหรือนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และยังคงมี ผู้ตอบแบบสอบถามบางส่วนที่เห็นว่า เน้ือหาสาระวิชาประวัติศาสตร์เป็นเรื่องราวในอดีตที่ผ่านไปแล้ว ไม่ สามารถเปลยี่ นแปลงหรอื แก้ไขได้ จึงไมม่ คี วามสาคญั ทจี่ ะต้องศกึ ษาเรอื่ งราวเหล่านน้ั  ความจาเปน็ ของวิชาประวตั ศิ าสตร์ 10.6 จาเป็น ไมจ่ าเปน็ 89.4 ภาพท่ี 26 การเหน็ ความจาเปน็ ของวิชาประวตั ิศาสตร์ของผตู้ อบแบบสอบถาม จากแผนภาพที่ 26 แสดงข้อมูลข้างต้น พบว่า ผู้เรียนท่ีตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร้อยละ 89.4 หรือ เกือบร้อยละ 90 เห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์มีความจาเป็น คิดเป็นจานวน 54,459 คน และเห็นว่าวิชา 40

ประวตั ิศาสตรไ์ มม่ ีความจาเปน็ ร้อยละ 10.6 หรือคดิ เป็นจานวน 6,428 คน ทั้งนี้ ผู้เรียนทตี่ อบแบบสอบถามที่ เห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์มีความจาเป็น เพราะส่วนใหญ่เห็นว่าการเรียนวิชาประวัติศาสตร์จะได้เรียนรู้ถึง ข้อผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นในอดีตแล้วนามาเป็นบทเรียนในการดาเนินชีวิตทั้งในปัจจุบันและอนาคต ส่วนผู้ตอบ แบบสอบถามทเ่ี ห็นวา่ วิชาประวตั ิศาสตร์ไม่มีความจาเป็น เพราะเห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์นามาใช้ประโยชน์ได้ เพียงการทาขอ้ สอบเพื่อเก็บคะแนนเท่าน้ัน แต่ไม่ได้ถูกนามาใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตประจาวัน เร่ืองราว ทางประวัติศาสตร์เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและยากต่อการทาความเข้าใจ เนื้อหาสาระค่อนข้างมากและนาไปใช้ ประโยชน์ได้น้อย หน่วยกิตรายวิชาค่อนข้างน้อยหากเปรียบกับวิชาอื่น ปัจจุบันสามารถศึกษาหาข้อมูลทาง ประวตั ิศาสตรไ์ ด้ดว้ ยตนเองผา่ นทางสือ่ ออนไลน์จงึ ไมจ่ าเป็นตอ้ งเรียนในชั้นเรียน และเห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์ ควรจดั ไวใ้ นหมวดหมูข่ องรายวชิ าเลอื กท่ีสามารถเลือกเรียนได้ตามความชอบและความสนใจแตล่ ะบุคคล  ความชอบที่มีต่อวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 17.6 ชอบ ไม่ชอบ 82.4 ภาพท่ี 27 ความชอบทม่ี ตี ่อวิชาประวัติศาสตร์ของผูต้ อบแบบสอบถาม จากแผนภาพที่ 27 แสดงข้อมูลข้างต้น พบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่ชอบเรียนวิชาประวัติศาสตร์จานวน 50,194 คน คิดเป็นร้อยละ 82.44 และไม่ชอบเรียนวิชาประวัติศาสตร์ จานวน 10,693 คน คิดเป็นร้อยละ 17.60 โดยผู้ท่ีชอบเรียนวิชาประวัติศาสตร์ให้เหตุผลว่า วิชาประวัติศาสตร์เรียนแล้วสามารถนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ได้ วิชาประวัติศาสตร์มีเน้ือหาสนุกน่าสนใจ ชอบเรียนเพราะครูผู้สอนและวิธีการสอนของครูมีความ น่าสนใจ ขณะที่ผู้ท่ีไม่ชอบเรียนวิชาประวัติศาสตร์ให้เหตุผลว่า เน้ือหาวิชาประวัติศาสตร์ยาก ไม่น่าสนใจ รองลงมาคอื เรยี นแล้วไมส่ ามารถนาเอาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ วิธีการสอนของครูไม่น่าสนใจ และอ่ืน ๆ เช่น เน้ือหาสาระมากเกนิ ไป ซับซอ้ น เข้าใจยาก เรยี นแลว้ ไมเ่ ข้าใจ เปน็ ตน้ (2) ความมงุ่ หมายของการเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ผู้เรียนท่ีตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เรียนวิชาประวัติศาสตร์ เพ่ือรับรู้ถึงความเป็นมา วิวัฒนาการความ เปล่ยี นแปลงของสังคมในอดีตสู่ปัจจุบัน และนาความรู้ท่ีได้มาปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ประวัติศาสตร์ จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพ่ือเป็นบทเรียนสาหรับปัจจุบัน เพ่ือเข้าใจถึงปัญหา สาเหตุของปัญหาและ ผลกระทบจากปัญหานน้ั นาสกู่ ารแก้ไขปญั หา เตรียมพร้อมในการรับมือกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้น เพ่ือ ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ พิจารณาไตร่ตรอง ใช้เหตุผลในการเปรียบเทียบส่ิงต่าง ๆ จากหลักฐานและ 41

แหล่งข้อมูลอ้างอิงสู่การทาความเข้าใจกับเรื่องราวที่เกิดข้ึนในแต่ละยุคสมัย เพ่ือช่วยให้มนุษย์เกิดความ ตระหนัก สานึก และเข้าใจสังคมมากยิ่งขึ้น สร้างความภาคภูมิใจและความรู้สึกในชาติหรือเผ่าพันธุ์ตลอดจน ตระหนักถงึ คุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษส่ังสมไว้ และประวัติศาสตร์ยังช่วยสร้างแรงบันดาลใจสู่การ ตอ่ ยอดในสายอาชพี สาหรบั ผู้ทต่ี อ้ งการประกอบอาชพี เก่ียวกับประวัติศาสตร์ได้ (3) ความพงึ พอใจทม่ี ตี อ่ การจดั การเรียนการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1) ภาพรวมของความพึงพอใจ 2) การจัดการเรียนการสอนในรายด้าน ได้แก่ ด้านครูผู้สอน ด้านส่ือ/เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ 3) ด้านการวัดและประเมินผลวิชาประวัติศาสตร์ ข้อมูลแสดงดังตาราง ประกอบคาอธิบายดังน้ี โดย การแปลความหมายค่าเฉลี่ย ดังน้ี คา่ เฉลีย่ 4.50 – 5.00 หมายถงึ มสี ภาพปัจจุบันอย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ ค่าเฉล่ีย 3.50 – 4.49 หมายถงึ มีสภาพปจั จบุ นั อยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 2.50 – 3.49 หมายถงึ มีสภาพปัจจุบันอยู่ในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมายถงึ มสี ภาพปจั จุบนั อยใู่ นระดับน้อย ค่าเฉลีย่ 1.00 – 1.49 หมายถึง มสี ภาพปจั จุบนั อยใู่ นระดบั น้อยทีส่ ุด ตารางที่ 6 ความพงึ พอใจท่ีมีต่อการจดั การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ด้าน/สภาพปัจจุบนั คา่ เฉลยี่ คา่ เบ่ียงเบน ระดับความ 3.75 0.91 พึงพอใจ ภาพรวม ดา้ นการเรียนการสอนวิชาประวตั ิศาสตร์ 4.29 0.82 มาก 1) ด้านครผู ้สู อน 3.98 0.93 1.1) ความรใู้ นเน้ือหาวิชาที่สอน 4.44 0.80 มาก 1.2) เนอ้ื หาท่ีสอนมีความนา่ สนใจ 4.27 0.88 มาก 1.3) ความตง้ั ใจและมงุ่ ม่ันในการสอน มาก 1.4) การรับฟังความคดิ เหน็ ของผู้เรยี น 4.36 0.84 มาก 1.5) การเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น การถามตอบในห้องเรียน การรวมกลุ่มระดมความ 3.96 0.99 มาก คิดเหน็ เป็นต้น 3.83 0.96 1.6) กจิ กรรมการเรยี นการสอนสนกุ น่าสนใจ 4.14 0.87 มาก 1.7) บรรยากาศการเรียนการสอนมีชีวิตชีวาไม่ 4.11 0.89 มาก เครง่ เครียด มาก 1.8) การใหค้ าแนะนาในการทากิจกรรมอย่างชัดเจน 4.18 0.86 มาก 1.9) การสรุปบทเรียน/เน้ือหา และทาให้ง่ายต่อการ เข้าใจ มาก 2) ดา้ นสอ่ื /เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้วิชาประวตั ศิ าสตร์ 2.1) การเตรียมส่ือและใช้สื่อการสอนท่ีเหมาะสมกับ 42

ด้าน/สภาพปจั จบุ ัน คา่ เฉล่ีย คา่ เบี่ยงเบน ระดับความ พงึ พอใจ เนื้อหา 3) ด้านการวดั และประเมนิ ผลวิชาประวัตศิ าสตร์ 4.13 0.84 มาก 3.1) การออกขอ้ สอบตรงกับเนอ้ื หาท่สี อน จากตารางที่ 6 ความพึงพอใจท่ีมีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ พบว่า ภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก ( = 3.75, S.D.=0.91) สาหรับรายด้านอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ประกอบด้วย 1) ด้านครู้ ผู้สอน ความรู้ในเน้ือหาวิชาที่ ( = 4.29, S.D.=0.82) เนื้อหาที่สอนมีความน่าสนใจ ( = 3.98, S.D.=0.93) ความต้ังใจและมุ่งม่ันในการสอน ( = 4.44, S.D.=0.80) การรับฟังความคิดเห็นของผู้เรียน ( = 4.27, S.D.=0.88) การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น การถามตอบในห้องเรียน การรวมกลุ่มระดม ความคิดเห็น เป็นต้น ( = 4.36, S.D.=0.84) กิจกรรมการเรียนการสอนสนุก น่าสนใจ ( = 3.96, S.D.=0.99) บรรยากาศการเรียนการสอนมีชีวิตชีวาไม่เครง่ เครียด ( = 3.83, S.D.=0.96) การให้คาแนะนาใน การทากิจกรรมอย่างชัดเจน ( = 4.14, S.D.=0.87) การสรุปบทเรียน/เน้ือหา และทาให้ง่ายต่อการเข้าใจ ( = 4.11, S.D.=0.89) 2) ด้านส่ือ/เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ การเตรียมสื่อและใช้สื่อการ สอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา ( = 4.18, S.D.=0.86) 3) ด้านการวัดและประเมินผลวิชาประวัติศาสตร์ การออก ขอ้ สอบตรงกบั เนอ้ื หาท่ีสอน ( = 4.13, S.D.=0.84) การศึกษาวจิ ยั เชิงคุณภาพ การศกึ ษาวจิ ยั เชิงคุณภาพ สภาพการจดั การเรยี นการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามครูผู้สอนและผู้เรียน การสนทนากลุ่มย่อยครูผู้สอน และผู้เรียน ระหว่างวันที่ 7 – 8 สิงหาคม 2564 การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน ระหว่าง วันที่ 16 – 18 สิงหาคม 2564 และการสัมภาษณ์ทางโทรศพั ทแ์ ละการแสดงความคิดเห็นผ่านแบบแสดงความ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะ ซ่ึงมรี ายละเอียด ดงั น้ี 1. ด้านผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีทั้งชอบและไม่ชอบวิชาประวัติศาสตร์ ในส่วนที่ ชอบเรียน เนื่องจาก เนอื้ หาของประวตั ศิ าสตร์มคี วามน่าสนใจ มเี รอ่ื งราวมากมายให้ติดตาม ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้คิดวิเคราะห์ ไม่ได้ให้ข้อมูลเพียงด้านเดียว นาเทคโนโลยีมาใช้ประกอบการสอน สามารถนาเร่ืองที่เรียนมา เชื่อมโยงกับชีวิตในปัจจุบันได้ ในส่วนที่ ไม่ชอบเรียน เนื่องจาก ผู้เรียนไม่เห็นถึงความสาคัญของการเรียน ไม่ สามารถนาเร่ืองทีเ่ รียนมาเชื่อมโยงกับชวี ิตในปัจจุบันได้ รวมถึงเนื้อหาสาระของการเรียนมีมากเกินไป และการ เรยี นส่วนใหญ่เน้นการท่องจาผ้สู อนไมไ่ ดเ้ ปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นได้คิดวิเคราะห์ ให้ข้อมูลเพียงด้านเดียว สอนเพียง ประวตั ิศาสตรก์ ระแสหลกั ทาให้ผูเ้ รียนเกิดความรู้สกึ เบ่ือหน่าย ไมอ่ ยากเรียนและไมม่ แี รงจูงที่จะเรยี น 2. ด้านครูผู้สอน พบว่า บุคลิกภาพ ทัศนคติ และวิธีการสอนของครูผู้สอนส่งผลโดยตรงต่อ ความสนใจ ความอยากเรียน ความชอบ แรงจูงใจ ในการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของผู้เรียน โดยประเด็นที่ ส่งผลกระทบต่อการเรียนของผูเ้ รียนน้ัน ประกอบด้วย ด้านความรู้และความเข้าในใจเนื้อหา ผู้สอนบางคนยัง มีความคิดว่าตนเองมีความรู้ในเน้ือหาสาระวิชาประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง ทาให้การถ่ายทอดความรู้หรือการ 43

ตีความอาจบิดเบือนไปจากหลักฐานความเป็นจริง ด้านทัศนคติและบุคลิกภาพ ครูผู้สอนบางส่วนไม่เข้าใจ บทบาทของตนเองว่า “ครู คือ ผู้ถ่ายทอด ผู้กากับ” ครูจึงควรต้องตระหนักเสมอว่า หน้าท่ีของครูคือการทาให้ ผู้เรยี นเขา้ ใจในเรื่องทส่ี อนและอยากที่จะเรียนรู้ รวมถึงลักษณะบุคลิกภาพของครูผู้สอน เช่น ครูผู้สอนพูดเสียง อยู่ในลาคอ ใช้นา้ เสยี งโทนเดียวในการเล่าเร่ือ เป็นต้น ด้านรูปแบบและวิธีการสอน ครูผู้สอนไม่มีการเกริ่นนา เนื้อหากอ่ นสอนเพอื่ กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน รวมท้ังมักลงรายละเอียดของเน้ือหาท่ีสอนมากเกินไปจนทา ใหล้ ะเลยประเดน็ สาคญั ของเนื้อหาที่ผู้เรียนควรจะตอ้ งรู้ ซ่ึงอาจทาให้ผู้เรียนเกิดความสับสนในเน้ือหา ประเด็น อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ครูผู้สอนบางส่วนไม่เห็นความสาคัญของวิชาประวัติศาสตร์ สอนไม่ตรง วชิ าเอก ขาดประสบการณ์และความรคู้ วามเข้าใจในวิชาประวัตศิ าสตรท์ ีช่ ัดเจน สง่ ผลให้ไม่สามารถจัดการเรียน การสอนในรปู แบบหรอื วธิ กี ารท่เี หมาะสมกบั โครงสร้างของหลักสตู รได้ ประกอบกับมีข้อจากัดเร่ืองงบประมาณ และการสนับสนุนให้เข้ารับการอบรมเก่ยี วกบั การจัดการเรยี นการสอนวิชาประวตั ิศาสตร์ 3. ด้านหลักสูตร พบว่า มีทั้งส่วนที่คิดเห็นว่าหลักสูตรมีความเหมาะสมแล้ว และส่วนท่ีคิดว่า ควรต้องปรับหลักสูตรใหม่ ในประเด็นต่าง ๆ ดังน้ี จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หลักการ/แนวคิดของหลักสูตร และเนือ้ หาสาระของหลักสูตร สะท้อนว่า (1) หลกั สูตรเนน้ ประวัติศาสตรข์ องส่วนกลางเปน็ หลัก ไม่ได้มีการบูร ณาการประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ประวตั ศิ าสตร์ของชนกล่มุ นอ้ ยในชาติ หรอื ประวัติศาสตร์อย่างอ่ืนที่เกี่ยวข้องกับ ผู้เรียน มีเน้ือหาการสอนที่สร้างความขัดแย้งอยู่ รวมถึงบางเน้ือหายังซ้าซ้อน มีการเรียนเร่ืองเดียวกันในหลาย ระดบั (2) หลักสูตรเน้นเพอ่ื ให้ความรู้ มีรายละเอียดและขอบเขตเนื้อหาความรู้ที่กว้างมากเกินไป ไม่สอดคล้อง กบั บรบิ ทที่เปลี่ยนแปลง ชีวิตประจาวันและความแตกต่างของผู้เรียน บางเน้ือหาไม่สามารถถ่ายทอดให้ผู้เรียน เห็นภาพได้ เน้นความจาและเนื้อหามากกว่าวิธีคิด เน้ือหาบางเรื่องขาดความน่าเช่ือถือเนื่องจากขาดแหล่ง อ้างอิงทช่ี ดั เจน (3) คาอธิบายหลักสูตรไม่ชัดเจน เช่น จุดประสงค์รายวิชา บอกเรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ แตห่ ลกั สตู รไมไ่ ด้มกี ารอธิบายว่าจะต้องนาวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ในบทต่อไปด้วย ครูผู้สอนจึงสอนแยก และไมไ่ ดส้ อนให้ประยกุ ต์ใช้กับเนอื้ หาอ่ืน เป็นตน้ รวมถึงในระดับมหาวิทยาลัย หลักสูตรเน้นที่เน้ือหา/การวิจัย ซึ่งอาจารย์แต่ละท่านมีความถนัดแตกต่างกัน จึงเกิดมุมมองคนละทิศทางและเข้าใจหลักฐานคนละมุมมอง มาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตร สะท้อนว่า (1) หลักสูตรไม่เหมาะสมกับช่วงวัยและระดับของการเรียน เน้ือหาและตัวชี้วัดไม่สอดคล้องกัน หลักสูตรกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้บางข้อยากต่อการนาปฏิบัติได้จริง เน้นการการสร้างมาตรฐาน จึงเกิดอุปสรรคที่หนีไม่พ้นกรอบเน้ือหาและการวัดประเมิน ไม่สามารถออกนอก กรอบได้มากกว่านี้ รวมถึงยังเป็นหลักสูตรที่ไม่เข้าใจสภาพบริบทและความแตกต่างของสถานศึกษา (2) การ กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดไว้มากและกว้างเกินไป ไม่สอดคล้องกับเนื้อหา เนื้อหาสาระบางส่วนไม่ได้ รับการตรวจทานอยา่ งเข้มขน้ และอธิบายให้ถูกต้อง มีบางส่วนบิดเบือนความจริง (3) บางโรงเรียนแยกรายวิชา ประวัติศาสตร์จากวิชาสังคมศึกษา ส่งผลให้เน้ือหาสาระการเรียนรู้ของแต่ละชั้นปีค่อนข้างแตกต่างกัน ขาด ความสอดคล้องเชื่อมโยงของเน้ือหาสาระและส่งผลต่อความเข้าใจของนักเรียน และสุดท้ายจานวนช่ัวโมงใน การเรียนวิชาประวัติศาสตร์ สะท้อนว่า การเรียนการสอนมีช่ัวโมงเรียนน้อยเกินไป (สัปดาห์ละ 1 คาบ) เนอ่ื งจากถูกมองวา่ เปน็ สาระรองเลยไม่ใหค้ วามสาคัญ และเวลาเรียนอาจตอ้ งใช้ร่วมกับวชิ าสังคมศกึ ษา 4. ด้านการจัดการเรียนการสอน พบว่า ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ประวัติศาสตร์เป็นปัญหาต่อเนื่องมาจากหลักสูตร หนังสือหรือตาราเรียน รวมท้ังยังพบว่าการสอนปัจจุบันยัง ไม่ได้เน้นการให้เด็กคิดวิเคราะห์เท่าที่ควร สอนแบบ chalk and talk สอนตามแบบเรียนและท่องจา เน้น เน้ือหามากว่าวิธีการ ส่งผลให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับประวัติศาสตร์เป็นแบบท่องจามากกว่าความเข้าใจ ไม่สามารถลาดับเหตุการณ์เชื่อมโยงกับทางประวัติศาสตร์ได้ ขาดการเรียนรู้จากสถานที่จริงและแหล่งข้อมูลท่ี หลากหลาย แต่มีผู้เรียนบางส่วนท่ีสะท้อนว่า ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้ได้คิดวิเคราะห์ ต้ังคาถาม หาหลักฐานมา ยืนยัน นามาถกกันในห้องเรียน สามารถแสดงความคิดเห็นส่วนตัว และเปิดกว้างรับฟังความคิดเห็นของผู้เรียน 44

นอกจากน้ียังพบว่า กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีผู้เรียนชอบ คือ การออกไปศึกษานอกสถานที่ การได้ร่วม พูดคุยกับครูผู้สอน การดูวิดีทัศน์ต่าง ๆ การได้เรียนรู้เร่ืองราวแปลกใหม่ ต่ืนเต้น รวมถึงการเรียนผ่านการเล่า เรอ่ื งโดยครผู สู้ อน เปน็ ตน้ 5. ด้านการวัดและประเมินผล พบว่า เป็นเป็นปัญหาต่อเน่ืองมาจากหลักสูตร ตาราเรียน/ หนังสือ (เช่นเดียวกับปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน) โดยส่วนใหญ่สะท้อนว่า รูปแบบ / แนวทางการวัด และประเมินผลยังไม่หลากหลาย เปน็ การวดั ประเมินผลทีม่ คี าตอบเดียว ประเมินเพียงความรู้ความเข้าใจ ไม่ได้ มีการวัดทักษะของผู้เรียนเท่าท่ีควร รวมถึงบุคลากรไม่มีความรู้ในการวัดและประเมินผล สาหรับผู้เรียนระดับ มัธยมศึกษา บางส่วนสะท้อนว่า การวัดประเมินผลยังเป็นการให้ท่องจาและนาไปสอบ ข้อสอบออกไม่ตรงกับ เนื้อหาทีส่ อน บางครงั้ ครูผู้สอนใช้วิธีการบอกแนวข้อสอบก่อนสอบ ผู้เรียนระดบั ประถมศึกษา บางส่วนสะท้อน ว่า ครูผูส้ อนไมไ่ ดช้ ี้แจงแนวทางในการวัดและประเมินผล ซึ่งผู้เรียนต้องการให้มีแนวทางการวัดและประเมินผล ที่หลากหลาย เช่น การสอบย่อย / ทดสอบระหว่างเรียน - หลังเรียน (มีทั้งข้อกากบาทและข้อเขียน) สอบกลางภาค สอบปลายภาค การเกบ็ คะแนนจากใบงาน / รายงาน (แบบรายบุคคลและรายกล่มุ ) Portfolio สะสมผลงาน เปน็ ตน้ 6. ดา้ นตาราเรียน สอื่ และอปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ พบปัญหาสาคัญตงั้ แตห่ นงั สอื เรียนหรือตารา เรียนไม่ได้มาตรฐาน เน่ืองจากถูกผลิตข้ึนมาจากหลากหลายสานักพิมพ์ จะเห็นได้ว่า หนังสือหรือตาราเรียนมี ความแตกต่างกันท้ังในด้านของเนื้อหาและข้อมูล เช่น เนื้อหาเรื่องเดียวกันแต่ให้ข้อเท็จจริงในรายละเอียด แตกต่างกนั ผูเ้ รียนระดบั ช้นั เดียวกนั แตเ่ นือ้ เรอ่ื งที่ใชส้ อนต่างกัน เป็นต้น รวมถึงเน้ือหาในตาราเรียนไม่ได้มีการ ใหข้ อ้ มูลในลักษณะเรื่องเล่า ซึ่งวิชาประวัติศาสตร์เทคนิคสาคัญของการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ คือ การเล่าเรื่อง แต่หนังสือเรียนที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่ได้มีการไล่ข้อมูลตามเหตุการณ์ แต่เป็นเนื้อหาที่ ระบุผลลัพธ์สุดท้ายของเรื่องราว เช่น สาเหตุของการเสียกรุงฯ ในความเป็นจริงแล้วควรเล่าเร่ืองราวตั้งราวแต่ เร่ิมต้น จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและอยากเรียนรู้มากย่ิงข้ึน ยกตัวอย่างหนังสือเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ใส่รายละเอียดเน้ือหาสาระท่ีผู้เรียนต้องรู้มากเกินไปและไม่สาคัญ เน้ือหาตาราเรียนใน บางสานักพิมพ์ไม่ได้มีการใส่เนื้อหาของพระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี 9 พระพันปีหลวง บุคคลสาคัญของประเทศ ไทย บุคคลสาคัญท่ีทาคุณงามความดี มีคุณธรรม เสียสละเพ่ือประเทศ ซ่ึงหนังสือเรียนควรใส่ข้อมูลบุคคล สาคัญในการสร้างชาติก็ยังจาเป็นต้องคงไว้เน่ืองจากเป็นแก่นสาระสาคัญของการสร้างความเป็นชาติไทย ขณะทบี่ ุคคลท่ที าคุณงามความดที ่ัวไปก็สามารถทาได้ นอกจากนี้ สอื่ การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ท่ีดีอยู่ ภายใต้กระทรวงวัฒนธรรม ทาให้เกิดปัญหาในการนาสื่อมาใช้ เพราะกระทรวงวัฒนธรรมมุ่งเก็บอย่างเดียวไม่ แลกเปล่ยี นในวงการการศกึ ษา สาหรับการใช้ตาราเรียน สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ พบว่า มีการใช้ตาราเรียน ส่ือและอุปกรณ์ การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับระดับช้ันของผู้เรียน ความถนัดของครูผู้สอน และความพร้อมของ โรงเรียน ระดับประถมศกึ ษา พบว่า ส่วนใหญ่มีการใช้สื่อพื้นฐาน เช่น การสอนผ่านเพลง “บางระจัน” (ผู้เรียน สะท้อนว่า การสอนผ่านเพลงดังกล่าวช่วยให้รู้สึกรักชาติมากย่ิงข้ึน) มีการให้หาข้อมูลเก่ียวกับประวัติศาสตร์ จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ ห้องสมุดแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เว็บไซต์ Youtube, Wikipedia, google etc. ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นการหาข้อมูลจาก เว็บไซต์ google และจะมีวิธีการตรวจสอบข้อมูลโดยตรวจสอบข้อมูลใน หนังสือเรียนประกอบกับทางเว็บไซต์ ท้ังนี้ ผู้เรียนจะเลือกเช่ือข้อมูลตามที่มีอยู่ในหนังสือเรียนมากกว่า ระดับ มัธยมศึกษา ผู้เรียนสะท้อนว่า หนังสือและตาราเรียน ยังมีเน้ือหาท่ีไม่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของ ประวัติศาสตร์ และให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์เพียงด้านเดียว การเข้าถึงสื่อ แหล่งการเรียนรู้ วิชา ประวัติศาสตร์ยังเข้าถึงได้ยาก ไม่หลากหลายหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ยิ่งส่งผล กระทบต่อการเรยี นรู้ การเข้าถงึ การเรยี นร้ขู องผู้เรยี น 45

นอกจากน้ี พบปัญหาการขาดสื่อการเรียนท่ีน่าสนใจ/ขาดแคลนอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียน เช่น ขาดอินเทอร์เน็ต โทรทัศน์สาหรับเปิดส่ือการเรียนมีไม่เพียงพอต่อห้องเรียน/ระดับ รวมถึงขาดงบประมาณใน การซ่อมบารุงสอ่ื และอปุ กรณ์การเรียนรู้ 7. ด้านแหล่งเรียนรู้ บางส่วนสะท้อนว่า แหล่งเรียนรู้มีน้อยและขาดความหลากหลาย ไม่มี แหล่งเรียนรู้ที่ตรงกับตัวช้ีวัด ไม่มีงบประมาณสาหรับศึกษาแหล่งเรียนรู้ มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เข้ากับยุค สมัยแต่ยังไม่มากเท่าที่ควร ในต่างจังหวัดผู้เรียนเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ได้ยาก เน่ืองจากแหล่งเรียนรู้อยู่ไกล นอกจากนี้ แหลง่ ข้อมลู ทางประวัตศิ าสตร์ขาดความเช่ือมโยงกนั 8. ด้านการสนับสนุน บางส่วนสะท้อนว่า ยังขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร รวมถึงขาดการ จดั สรรงบประมาณ เพื่อศกึ ษาเรียนรู้ในรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ และการไปศึกษาจากแหล่งเรียนร้จู รงิ 9. ประเดน็ อื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสภาพปัจจุบัน ปัญหา และอุปสรรคของการจัดการเรียนการ สอนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ (1) คะแนนรายวิชาประวัตศิ าสตร์อยู่ในระดับต่ามาก จากผลคะแนน O-NET ใน รายวิชาสังคมศึกษา ท่ีเน้ือหาข้อสอบออกคละกันในวิชาภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หน้าท่ีพลเมือง ศาสนา และ ประวตั ิศาสตร์น้ัน พบว่า คะแนนในส่วนของศาสนา เด็กทาได้มากที่สุด รองลงมาคือ หน้าท่ีพลเมือง ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ แตใ่ นวชิ าประวัตศิ าสตรเ์ ดก็ ได้คะแนนน้อยที่สุด เฉลี่ยแล้วไม่เกิน 30 คะแนน (ปี 61 = 29.68 ปี 62 = 28 คะแนน ปี 63 = 29.30 คะแนน) (2) ขาดการบูรณาการและเช่ือมโยงให้มีความสอดคล้องกันต้ังแต่ การพัฒนาหลักสูตร หนังสือเรียน การจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล และการพัฒนาครู เช่น หลกั สตู รของไทยลดบทบาทและความสาคัญของรายวิชาประวัติศาสตร์ เน้ือหาสาระของหนังสือเรียนลดข้อมูล บุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ลง เช่น พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ บุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ บุคคล สาคัญของประเทศไทย บุคคลสาคัญท่ีทาคุณงามความดี มีคุณธรรม เสียสละเพื่อประเทศ เป็นต้น ซึ่งเป็น เน้ือหาสาคัญของการสร้างชาติ (3) ปัญหาอ่ืน ๆ ท่ีไม่เกี่ยวข้องทางตรงแต่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการเรียน การสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ เช่น การน่ังในตาแหน่งของผู้บริหารระดับสูงยังไม่สอดคล้องกับความรู้และ ความเชี่ยวชาญของตาแหน่ง หรือในประเด็นที่ สพฐ. มี obec contents center แต่เกิดปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ ส่งผลให้ไม่สามารถเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ ได้ เป็นต้น (4) นโยบายเร่งด่วนจากส่วนกลาง ซ่ึงขัดกับนโยบายของ หน่วยงานต้นสงั กดั ส่งผลใหต้ ้องยึดนโยบายจากส่วนกลาง และกจิ รรมอย่างอ่ืนไป เช่น ในวิชาหน้าท่ีพลเมือง มี คาสง่ั ใหเ้ รยี นหนา้ เสาธงแบบบูรณาการ ไม่มีการสอนในห้องเรียน ส่งผลให้โรงเรียนต้องจัดการเรียนการสอนใน วิชาเพิ่มเติม และตัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ไป (5) ขาดการเอาใจใส่และการให้ความสาคัญอย่าง จริงจัง เช่น ลดการสอบระดับชาติ เป็นต้น นอกจากนี้ ไม่ได้มีการกาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจนของการเรียน ประวัติศาสตร์ ว่าประเทศไทยต้องการให้เด็กเรียนประวัติศาสตร์เพ่ืออะไร รวมถึงการปลูกฝังประวัติศาสตร์ท่ี ถูกบิดเบือนไปจากความจริง และขาดการเชื่อมโยงอดีตให้เขา้ ถงึ ปจั จบุ ัน (6) การรับรู้ กรอบแนวคิดและมุมมอง ที่มีต่อประวัติศาสตร์ในแต่ละช่วงวัยแตกต่างกัน เช่น กลุ่มผู้ใหญ่เดิมมักอยู่ในมโนทัศน์ชาตินิยม เด็กอยู่ในกลุ่ม หลงั ชาตนิ ิยม ทม่ี องประชากรเท่าเทยี มกัน เป็นต้น 46

ข้ อ เ ส น อ แ น ะ เ พื่ อ พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น วิ ช า ประวตั ิศาสตร์ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม การสนทนากลุ่มย่อย รวมถึงการปรึกษาหารือ ผทู้ รงคุณวฒุ ิเพ่อื ให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ สามารถสรุปข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกอบด้วย ด้านผู้เรียน ด้านครูผู้สอน ด้านหลักสูตร ด้านการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผล ด้านตาราเรียน ส่ือและอุปกรณ์การเรียนรู้ ด้านแหล่งเรียนรู้ ด้านการสนับสนนุ และประเดน็ อืน่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง รายละเอียดดังนี้ 2.1 ดา้ นผู้เรยี น ขอ้ เสนอเพื่อพัฒนาดา้ นผ้เู รียน ไดแ้ ก่ ควรมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะให้เกิดข้ึนแก่ผู้เรียน นอกเหนือจากความจาและความเข้าใจ เช่น ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ ความสามารถในการเชื่อมโยงวิเคราะห์ปัญหา หรือ หาวิธีแก้ปัญหาในปัจจุบัน สามารถ เรียงลาดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ได้ เป็นต้น นอกจากน้ี ควรการสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเห็น ความสาคัญ คุณค่า เข้าใจในแก่นของวิชา สนุกและอยากเรียน สามารถบอกความสาคัญและเห็นคุณค่าของ ประวัติศาสตร์ชุมชน ความเป็นมาเป็นไปของชุมชนตนเอง มุ่งสู่จังหวัดและประเทศ รวมถึงเข้าใจว่าบุคคล สาคญั ส่ิงประดิษฐ์ ภูมิปัญญาของคนในอดีต นามาซึ่งร่องรอยของปัจจุบัน สามารถนาความรู้ท่ีได้มาปรับใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั และปรับตัวให้เข้ากบั สภาพสงั คมปัจจุบันได้ 2.2 ด้านครูผสู้ อน ขอ้ เสนอเพอ่ื พัฒนาครผู ู้สอน ได้แก่ (1) การผลิตครู ควรเพ่ิมความสาคัญของวิชาประวัติศาสตร์ โดยอาจบรรจุให้สาขาวิชา ประวัติศาสตร์เป็นหน่ึงในวิชาเอกของหลักสูตรการผลิตครูสอนสังคมศึกษา และผลิตครูสอนสังคมศึกษาเอก ประวัติศาสตร์ให้มีมโนทัศน์ กระบวนการคิด กระบวนการสอน ท่ีสอดคล้องกับความต้องการและยุคสมัยที่ เปล่ียนแปลง (2) การใช้ครู ควรจัดสรรบุคลากรครูที่ครบวิชาให้แก่ทุกโรงเรียน นอกจากน้ี ควรลดภาระงาน อื่น ๆ ท่เี ข้ามาเปน็ อุปสรรค เพื่อให้ครูได้สอนอย่างเต็มท่ี โดยโรงเรียนต้องให้ความสาคัญ และตระหนักว่า วิชา ประวัติศาสตร์คือศาสตร์สาคัญท่ีไม่ใช่ใครก็สอนได้ ไม่ใช่วิชาง่าย ๆ แค่ท่องจา ไม่ใช่วิชาที่ครูแค่เปิดหนังสือก็ สอนได้ (3) การพัฒนาครู ควรเพิ่มเติมในเรื่องของการอบรมและพัฒนาครูให้เท่าทันกับการสอนยุคใหม่ ความต้องการของผู้เรียนและสังคมมากย่ิงขึ้น อาทิ การนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน วิชาประวัติศาสตร์ การมคี ูม่ อื ครู หรอื ตาราครู (มาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ) เพื่อใช้เป็นแนวทางจัดการเรียน การสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ เป็นต้น นอกจากนี้ ควรพัฒนาครูท่ีไม่ได้จบตรงเอกให้ได้รับแนวทางการ จัดการเรียนการสอนท่ีถูกต้อง พร้อมมอบสื่อการเรียนการสอน วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน และ ควรจดั อบรมและพฒั นาครูอย่างตอ่ เน่อื ง. 47

2.3 ด้านหลกั สูตร (นโยบายฯ และมโนทัศน์เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน ประวัตศิ าสตร์) ข้อเสนอเพ่อื พฒั นาหลกั สตู ร คอื การรือ้ /ปรับ/จัดทาหลักสูตรใหม่ โดยปรับเนื้อหา มาตรฐาน และตัวช้ีวัดให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง สอดคล้องกับยุคสมัย เป็นเน้ือหาที่สามารถนาพาผู้เรียนไปสู่การคิด วิเคราะห์และการพัฒนาตนเองเพ่ือนาไปสู่วิชาชีพของตนเอง ปรับเน้ือหาให้เหมาะสมกับช่วงวัยและระดับช้ัน ของผู้เรียน เน้ือหากระชับ นาไปใช้ได้จริง ไม่เอนเอียงและสะท้อนความจริง เรียงลาดับเหตุการณ์อย่างถูกต้อง เพ่ิมประวัติศาสตร์ให้ครอบคลุมในทุกมิติ ทั้งประวัติศาสตร์หลัก ประวัติศาสตร์สากล ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์บุคคลสาคัญในแต่ละภูมิภาค เช่น ภาคเหนือเรียนประวัติศาสตร์ล้านนา ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเรียนประวัติศาสตร์อีสาน และภาคใต้เรียนประวัติศาสตร์มุสลิม-มลายู เป็นต้น โดย คานึงถึงการบรู ณาการเน้อื หาร่วมกบั รายวิชาอ่ืน การประยุกต์ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการ สอน นอกจากนี้ ควรมีคณะทางานหลายส่วนเข้ามาร่วมดาเนินการในการพัฒนาหลักสูตรใหม่ เช่น นักประเมิน ผู้จัดการเรียนการสอน คนจัดทาหลักสูตร หนังสือเรียน สานักพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ ผู้เรียน เป็นต้น เพ่ือให้ หลกั สูตรเกิดความหลากหลายและตอบโจทย์บริบทสังคมท่เี ปลีย่ นแปลงไปมากย่ิงข้ึน ข้อเสนอเพอ่ื พฒั นามโนทศั น์การเรียนการสอนประวตั ศิ าสตร์ ดังน้ี (1) ควรใหค้ วามสาคญั กับวิชาประวัติศาสตร์ โดยกาหนดเป็นวาระสาคัญระดับชาติท่ีทุกภาคส่วน ตอ้ งรว่ มดาเนินการแกไ้ ข พฒั นา และปรบั ปรงุ ให้สอดคลอ้ งกบั ยุคสมัยมากยง่ิ ข้ึน (2) ควรปรับมโนทัศน์ กรอบความคิดของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ใหม่ที่ไม่ใช่ การสร้างชาติจากความเกลียดชัง ไม่นาสังคมในปัจจุบันไปตัดสินสังคมในอดีต การสร้างความรู้ความเข้าใจท่ี ถูกต้อง ยอมรับความจริงว่า ปัจจุบันไม่สามารถควบคุมการรับรู้ของนักเรียนได้ท้ังหมด ทุกภาคส่วนทาได้เพียง อานวยความสะดวกและกาหนดขอบเขตในการเรยี นรูแ้ กผ่ เู้ รยี น (3) ประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์ป่าล้อมเมืองในการดาเนินงาน คือ หาจุดร่วมตรงกลาง หรือ หลัก 4c Continue คือ เร่ืองหรือเน้ือหาท่ีดีอยู่แล้วให้ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง Combine คือ การรวบรวมหรือ ผสมผสานเนื้อหาท่ีกระจัดกระจายเข้าด้วยกัน Collect คือ การปรับปรุงหรือพัฒนาเน้ือหาให้ถูกต้องมากข้ึน Create คือ สร้างสรรค์เน้ือหาใหม่ ๆ ข้ึนมา นอกจากนี้ ควรส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายครูให้เกิดข้ึน มีพ่ีเล้ียง หรือ collective teacher Efficiency ให้เกิดข้ึนจริง รวมถึงการทางานเชิงโครงสร้างตาม พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาตฉิ บับใหม่ ควรให้สมัชชาการศึกษาจังหวัดเป็นเจ้าภาพประวัติศาสตร์ในระดับ ทอ้ งถน่ิ เช่อื มโยงประสานการทางานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือมุ่งเน้นการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ของ ผู้เรียน (4) ผลักดันให้เกิดแผนแม่บท หรือ Master Plan ของวิชาประวัติศาสตร์ โดยแต่งต้ัง คณะกรรมการทปี่ รกึ ษาทางวิชาการท่ีมีองค์ประกอบจากผู้รู้หลายภาคส่วน เพื่อให้ลงลึกถึงเนื้อหาและแก่นทาง ความคิดของความเป็นศาสตร์ในวิชาประวัตศิ าสตร์ 2.4 ด้านการจัดการเรยี นการสอน ขอ้ เสนอเพ่อื พัฒนาการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ (1) ควรปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนให้สอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ความ พร้อมของนักเรียนแต่ละกลุ่ม/แต่ละบุคคล ให้ความสาคัญกับการเรียนการสอนอย่างมีความสุขไม่กดดันท้ัง ผเู้ รียนและผูส้ อน สอดแทรกบูรณการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ การสอนประวัติศาสตร์ในแง่อื่นให้ครอบคลุมทุก มติ ิ รวมถงึ การสอนให้ผ้เู รยี นเห็นว่าประวัติศาสตร์อยใู่ กล้ตัวของผเู้ รียน หรอื ประวตั ิศาสตร์สามารถกนิ ได้ 48

(2) ควรจัดการเรียนรู้ ออกแบบวิธีการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย รปู แบบทนี่ า่ สนใจ เหมาะสมกบั วยั และระดับชั้นของผู้เรียน คานึงถึงการเรียนรู้ในระดับที่สูงข้ึนไปให้ครอบคลุม ในระดับอุดมศึกษา ใช้สื่อประกอบการสอนท่ีให้ผู้เรียนติดตามการเรียนได้อย่างต่อเนื่องและเข้าใจในวิชา ประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ ควรมุ่งพัฒนาทักษะแก่ผู้เรียนผ่านการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติจริง รวมถงึ การประยกุ ต์ใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนและการสอนที่บูรณาการนาความรู้ไป ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ยกตัวอย่างการจดั การเรยี นการสอนในแตล่ ะระดบั ไดแ้ ก่ (1) ระดับมธั ยมศกึ ษา (1.1) การสอนที่ไม่เน้นว่าเรื่องใดถูกเร่ืองใดผิด แต่ควรเน้นว่านักเรียนได้เรียนรู้อะไรจาก ประวัติศาสตร์ จากประวัติเรื่องน้ี ส่งผลอะไรกับนักเรียน และนักเรียนจะสามรถนาไปใช้ได้อย่างไร นอกจากนี้ ไม่ควรสอนแต่ผล แต่ควรสอนให้เห็นว่ากว่าท่ีจะประสบความสาเร็จต้องทาอย่างไรบ้าง มีปัจจัยใดบ้าง เช่น ทาไมพระเจ้าถึงกอบกู้บา้ นเมอื งใด ต้องผ่านอะไรมาบา้ ง ปัจจยั ใดทท่ี าให้ประสบความสาเร็จ (1.2) ควรเน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างรอบด้าน ท้ังด้านเศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคม เพื่อมาพิจารณาร่วมกัน การนาวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์มาใช้ การให้ข้อมูลหลายด้าน หลายมุมมอง เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และหาหลกั ฐานอา้ งองิ พจิ ารณาว่าหลักฐานนั้นมีความน่าเช่ือถือ มาก นอ้ ยแคไ่ หน เพียงพอหรือไม่ เช่น การยกกรณีศึกษา (case-study) หรือ problem-based ให้เกิดแนวคิดการ นาไปใช้ต่อในอนาคต มีพื้นท่ี debate หรือนาเรื่องสถานการณ์ชีวิตจริงมา debate เพ่ือให้เรื่องประวัติศาสตร์ เปน็ เรอ่ื งในชีวติ จรงิ ท่ีใกล้ตัวทุกคน (1.3) ควรสอนให้นักเรียนเรียนรู้ประวัติด้วยความเข้าใจ ไม่ใช่ท่องจา โดยใช้เทคนิควิธีที่ หลากหลาย เช่น ใช้เทคโนโลยีการจาลองภาพเสมือนจริง ทาให้เด็กเห็นภาพมากข้ึน ใช้ APP เกม อินโฟรก ราฟิค พาไปทัศนศึกษา มีคลิปประกอบ มัธยมปลายเน้นการสัมมนาวิชาการ เป็นต้น รวมถึงการสร้างให้มี บรรยากาศทนี่ า่ เรียน เรยี นแล้วรู้สึกสนกุ 49

(2) ระดับประถมศกึ ษา (2.1) ผู้เรียนระดับประถมยังจาเป็นต้องเรียนประวัติศาสตร์แบบไล่ลาดับเหตุการณ์ เพื่อ วางพ้ืนฐานให้รู้ว่าประเทศไทยมีอะไรบ้าง โดยไม่ละเลยประวัติศาสตร์ท้องถ่ินเพื่อให้พื้นท่ีท้องถิ่นมีตัวตน เป็น muti-linear history แล้วเพิม่ หลักการ historical method ตามระดบั ชั้น (2.2) ควรเน้นการเรียนรู้จากสถานที่จริง การมีใบงานที่หลากหลาย และเน้นกิจกรรม มากกว่าเน้ือหาวิชาการท่ีมากเกินไป รวมถึงออกแบบการเรียนการสอนที่ครอบคลุมท้ัง online และ onsite โดย online ใช้ใบงาน รายงาน ทดสอบหลังเรียน ไม่มีสอบ และทางานกลุ่ม onsite ใช้การเก็บคะแนน สอบ ยอ่ ย และงานกลุ่ม เป็นตน้ 2.5 ด้านการวดั และประเมนิ ผล ข้อเสนอเพ่ือพฒั นาการวัดและประเมนิ ผล ไดแ้ ก่ (1) ควรมีเปา้ หมายท่ีชดั เจนในการพัฒนาผูเ้ รียน ออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย ให้สอดคล้องกับเป้าหมายและทักษะที่ต้องการให้ผู้เรียนเป็น สอดรับความถนัดรายบุคคลและระดับช้ันของ ผ้เู รยี น เนน้ การวิเคราะหห์ ลักฐานและใหเ้ หตผุ ลประกอบหลักฐาน (2) ควรมีข้อสอบกลางในระดับชาติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีหลักเกณฑ์การให้คะแนนท่ีชัดเจน เนน้ ให้นกั เรยี นได้รจู้ ักคดิ วเิ คราะห์ สามารถนาความรู้และทักษะท่ีมีอยู่มาสื่อสารใช้ในชีวิตประจาวันได้ โดยไม่ ติดกรอบตวั ชี้วดั ตามมาตรฐานของหลกั สูตรแกนกลาง 2.6 ด้านตาราเรียน สอ่ื และอุปกรณ์การเรียนรู้ ขอ้ เสนอเพอ่ื พัฒนาตาราและหนงั สือเรยี น ได้แก่ (1) ประเทศไทยควรใช้หนังสือเรียนเล่มเดียวกันและเป็นหนังสือเรียนที่ได้รับการตรวจสอบ การ เขียนอย่างถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญ โดยร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและคณะผู้เชี่ยวชาญท่ี หลากหลาย จากสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างรอบด้าน ทั้งอาจารย์ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษาในมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน และสมาคมวิชาการ รวมถึงนักวิชาการอิสระ เพ่ือเป็นแนวทางสาหรับการพัฒนาตารา หนังสือแบบเรียน และสื่อการเรียนการสอน และเพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานของหนังสือเรียน กระทรวงศึกษาธกิ ารควรแตง่ ต้งั คณะทางานที่มีความเชี่ยวชาญจากหลายภาคส่วนเพื่อจัดทาต้นแบบตาราเรียน หรอื พมิ พ์เขยี ว (Blueprint) สาหรบั เป็นคู่มือครูท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอน และเป็นหนังสือ/ตาราเรียนท่ี ได้มาตรฐานใช้ร่วมกันในภาพรวมของประเทศ (2) กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ควรพัฒนาความ ร่วมมอื อยา่ งจริงจังรว่ มกบั หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบด้านประวตั ศิ าสตร์และวัฒนธรรมของประเทศ เพ่ือให้สามารถ นาส่ือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์มาใช้ได้ พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงถึงกัน รวมถึงมีงบประมาณ สนับสนนุ อย่างจริงในการเข้าถึงและพัฒนาหนังสือ/ตาราเรียน/หลักฐาน/ส่ือและอุปกรณ์การเรียนรู้ในรายวิชา ประวัตศิ าสตร์ 2.7 ด้านแหล่งเรียนรู้ ควรมีความหลากหลายในการให้ครูผู้สอนและผู้เรียนเข้าถึง แหล่งการเรียนรู้ ฐานข้อมูลของแหล่งการเรียนรู้มีการเชื่อมโยงถึงกัน รวมทั้งควรพัฒนาความร่วมมือระหว่าง 50

ภาครัฐ แหล่งเรียนรู้และพิพิธภัณฑ์ และภาคส่วนอ่ืน เพ่ือขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้อย่าง กว้างขวางและหลากหลายข้นึ ในทกุ บริบทพนื้ ท่ี 2.8 ด้านการสนับสนุน (1) ทุกฝ่ายท้ังภาครัฐ ท้องถิ่นและเอกชนควรร่วมมือและให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง ตั้งแต่ บุคลากร หลกั สูตร ตัวชี้วดั เนอื้ หา การจดั การเรียนการสอน สือ่ และองคค์ วามรู้ จัดการสื่ออย่างเป็นระบบ การ พัฒนาฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ (โดยศึกษาตัวอย่างท่ีดีจากต่างประเทศเพ่ิมเติม เช่น ประเทศนิวซีแลนด์ เป็นต้น) การสนับสนุนงบประมาณ อุปกรณ์เครื่องมือท่ีทันสมัย โดยคานึงถึงความพร้อม ความต้องการของ ครผู ้สู อนและผู้เรยี น (2) ควรมีการช่วยเหลือให้ครูผู้สอนเข้าถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีหลากหลาย มีการ เช่ือมโยงการเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้ท้ังครูผู้สอนและผู้เรียน และมีคู่มือสาหรับครูผู้สอนในต่างจังหวัด รวมถึงมี หน่วยงานรับผิดชอบหลักทเี่ ป็นศนู ย์รวมภาคีเครอื ขา่ ยกับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซ่ึงเป็นฐานข้อมูลท่ีจะสามารถช่วย ในการจัดการเรยี นการสอนของครูผ้สู อน (3) ภาครัฐควรจัดทาระบบคลังข้อมูลท่ีเกี่ยวกับครู (web portal connect) เป็นศูนย์กลางใน การเช่ือมโยงครูเข้าด้วยกัน (Online community) เพ่ือให้ครูได้ร่วมถ่ายทอด แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น เติมเตม็ แนวทางการจดั การเรยี นการสอน โดยมีคณาจารย์/ผูท้ รงคุณวุฒชิ ว่ ยตรวจสอบอนุมตั ขิ ้อมูล 2.9 ประเดน็ อน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้อง กระทรวงศึกษาธิการควรมีแนวนโยบายท่ีชัดเจน นาทุกข้อเสนอไปปฏิบัติให้เกิดสัมฤทธิผลอย่าง เป็นรปู ธรรม โดยอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน อาจเป็นการร่วมมือกับองค์กรท่ีผลักดันเร่ืองการศึกษา ซ่ึงขับเคล่ือนด้วยครูหรือภาคประชาชน เช่น การให้ทุนสนับสนุน การดึงเข้ามาเพ่ือมีส่วนร่วมในการจัดทาสื่อ และอปุ กรณจ์ ดั การเรียนการสอน เปน็ ต้น. 51

เอกสารอา้ งองิ ณัฐหทัย มานาดี และขจรศักด์ิ สิทธิ. การจัดการเรียนการสอนวิชาสิทธิหน้าที่พลเมืองใน ประเทศเยอรมนี. [ออนไลน์]. 2563. แหล่งทม่ี า file:///C:/Users/User.DELL-58-30/Downloads/242587.pdf วรินทร บญุ ย่ิง. การวิเคราะหจ์ ุดเนน้ หลักสตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานของสาธารณรฐั เกาหลี. [ออนไลน์]. 2556. แหล่งท่ีมา file:///C:/Users/User.DELL-58-30/Downloads/9231-Article%20Text-19274-1-10- 20130612.pdf สุรยิ านนท์ พลสิม. การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมอื งในระดบั โรงเรียนของญ่ีปุ่น. [ออนไลน์]. 2563. แหล่งทมี า https://www.academia.edu/43372576/_Civic_Education_in_Japanese_School_ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หลักสูตร. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา https://library.ipst.ac.th/handle/ipst/5560 สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. รายงานการวิจยั เพ่ือจัดทาขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการพัฒนาการศึกษาเพ่ือ สร้างความเปน็ พลเมือง. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/290808 สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ . เพ่ือนคู่คิด มิตรคู่ควร “แนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์”. [ออนไลน์]. 2554. แหล่งท่ีมา http://academic.obec.go.th/images/document/1562725676_d_1.pdf 52

ส ภ า พ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น วิ ช า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ใ น ตา่ งประเทศ  สภาพการจัดการเรียนการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ในต่างประเทศ คณะศึกษาวิจัยฯ ได้ศึกษาค้นคว้าหลักการ ทฤษฎี แนวคิด เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับ สภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพลเมือง รวมถึงการ พัฒนาความเป็นพลเมืองในต่างประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสหรัฐอเมริกา เยอรมนี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สิงคโปร์ เวียดนาม และสาธารณรัฐเกาหลี เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวคิดและแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนวิชาประวัติศาสตร์ให้มีความหลากหลาย สอดคล้องและตอบโจทย์สภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปมาก ยิ่งขึน้ รายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 7 สภาพการจัดการเรียนการสอนในต่างประเทศ ประเทศ สภาพการจัดการเรยี นการสอน ประเทศสหรฐั อเมรกิ า  มีการนิยามความหมายของการศึกษาเรื่องพลเมืองไว้อย่างชัดเจน เช่น หมายถงึ การศึกษาเกย่ี วกับรฐั บาลของประเทศ (วชิ า หน้าทีพ่ ลเมอื ง)  มีการกาหนดมาตรฐานเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือ เป็นแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนหนา้ ทพ่ี ลเมอื งและรัฐบาลมีการจดั ทามาตรฐาน เนื้อหา  กลไกและวิธีการสร้างความเป็นพลเมือง มีการจัดตั้งศูนย์การศึกษาหน้าที่ พลเมืองและการสร้างความเป็นพลเมืองของสหรัฐอเมริกามีอยู่ท้ังในรูปแบบทางการ และไมท่ างการ  ปจั จยั การสร้างความเปน็ พลเมือง 1) หลักสูตร เนื้อหาของหลักสูตรการศึกษาพลเมือง ปรากฏอยู่ในวิชา ประวัติศาสตรจ์ ดั การเรยี นการสอนในระดบั ชั้น K5 (ป. ๔ หรอื ๕) K8 (ม.ตอนตน้ หรอื ม. ปลาย) และ K11 (ม.ปลาย) 2) ครู ในบางมลรัฐมกี ารทดสอบผทู้ ส่ี มคั รเข้าทางานเป็นครู ก่อนรับเข้าทางาน เพอื่ ให้ไดค้ รูที่มคี ุณสมบัติของครวู ชิ าพลเมือง 3) ผู้บริหาร ผู้เรียน ครอบครัว และชุมชน มีอิทธิพลสาคัญเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในหลักสูตรอย่างไมเ่ ป็นทางการ 4) ภาครัฐ เอกชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน มสี ว่ นในการจัดทาเนื้อหา วางแผนการสอนและโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพสาหรับครู การจัดทามาตรฐาน หลักสูตร การฝึกอบรม พัฒนาการเพ่ิมคุณภาพเน้ือหาหลักสูตร การประเมิน การวิจัย ของครู ในระดบั ชาติ หลายภาคส่วนมสี ว่ นรว่ มในโครงการระดับชาติที่จัดขึ้นโดยองค์กร วิชาชีพต่างๆ  กระบวนการสร้างความเป็นพลเมือง 1) การมีส่วนร่วม องค์กรต่างๆ ท้ังภาครัฐบาลและที่ไม่ใช่รัฐบาลมีส่วนสาคัญ ในการศึกษาพลเมอื ง 2) การส่งเสริมสนับสนุน สภาคองเกรสได้ออกพระราชบัญญัติการคุ้มครอง การศึกษาแห่งชาติข้ึน ต่อมามีการจัดทาพระราชบัญญัติการพัฒนาวิชาชีพการศึกษา ท้ังน้ี ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้พลเมืองและการมีส่วนร่วมประชาธิปไตยรุ่นใหม่ใน 54

ประเทศ สภาพการจัดการเรยี นการสอน ประเทศเยอรมนี โรงเรียนวิทยาลยั และมหาวิทยาลยั (วชิ า ประวตั ศิ าสตร์) 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตา่ งกนั ไปในแตล่ ะมลรัฐและโรงเรียน ได้แก่ จัด ประเทศญ่ีป่นุ สภาการศกึ ษา เป็นตน้ 4) การประเมินผล ผู้เรียนในระดับต่ากว่ามัธยมศึกษาการให้คะแนนพลเมือง (วชิ า ประวตั ศิ าสตร์) จัดทาขึ้นพร้อมกับการให้คะแนนในรายวิชาทั่วไป สาหรับในระดับมัธยมศึกษา ศูนย์ สาหรบั การประเมนิ การศึกษาระดบั ชาติและการให้ความช่วยเหลือภูมิภาคสร้างคาถาม ในการสารวจผเู้ รียนในระดับมธั ยมศึกษา  ณัฐหทัย มานาดี และขจรศักดิ์ สิทธิ (2563) ศึกษาวิจัยเรื่อง การจัดการ เรียนการสอนวิชาสิทธิหน้าท่ีพลเมืองในประเทศเยอรมนี ระบุถึง การจัดการเรียนการ สอนวิชาประวตั ศิ าสตรใ์ นประเทศเยอรมนไี วด้ งั นี้  ในชั้นเรียนประวตั ศิ าสตร์ของโรงเรียนในเยอรมนีจะมีการสอนเหตุการณ์ ในอดีตอยา่ งละเอียดและเน้นช่วงสาคัญ ในวิชาสังคมนิยมและการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และ ประวัติศาสตร์ศาสนาและวัฒนธรรมยิว เร่ิมต้ังแต่ปีค.ศ. 1918 ที่มีการเปลี่ยนรูปแบบ การปกครองจากระบอบกษัตริย์มาเป็นประชาธิปไตยและเปล่ียนมาเป็นเผด็จการนาซี จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกคร้ังที่ 2 ที่เกิดการแยกประเทศเยอรมนีออกเป็นตะวันตก และตะวันออก จนสามารถกลับมารวมเป็นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีได้ในปี ค.ศ. 1990 จากการศึกษาประวัติศาสตร์ ในช่วงเวลาไม่ถึง 100 ปีจะเห็นได้ถึงความไม่มี เสถียรภาพของการเมืองการปกครอง และความสุดโต่ง ท้ังด้านนโยบาย อุดมการณ์ เศรษฐกจิ รวมถึงการกระทาการต่าง ๆ ในชว่ งเวลาน้ีท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศเยอรมนี และประชาคมโลกอยา่ งรนุ แรง ทง้ั ด้านความสาเร็จและความผดิ พลาดล้มเหลว ดงั น้ันจงึ เป็นนโยบายด้านการศึกษาของรฐั ที่มุ่งเน้นใหป้ ระชาชนเขา้ ใจท่มี าทไ่ี ปของเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขึน้ ดังกล่าว ทงั้ นี้เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ให้เกิดเหตุการณร์ นุ แรงและการตัดสินใจที่ ผดิ พลาดเกิดข้ึนซ้าอีกโดยใช้กระบวนการสอนประวัติศาสตร์อย่างตรงไปตรงมา เปิด โอกาส ให้ นั กเรียน ไ ด้ต้ังคาถา มแล ะยอม รับใน สิ่ งท่ี เกิด ร วมไ ปถึงเข้าใ จนโ ยบาย ที่ พยายามจะชดเชยความผดิ พลาดในอดตี ทีเ่ ปรียบเสมอื นเป็นตราบาปของชาวเยอรมนั  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการปลูกฝังและพัฒนาจากประสบการณ์ ทักษะ และชีวิตประจาวัน ทั้งนี้ เนื่องจากความเชื่อท่ีว่า ความเป็นพลเมืองน้ันไม่ สามารถสอนกันอย่างเดียวได้ ผู้เรียนต้องเรียนเอง โดยการเรียนดังกล่าวไม่ได้เป็นการ เรียนโดยการฟังการบรรยาย การอ่าน หรือท่องตารา ต้องเรียนรู้โดยการลงมือ ปฏิบัติการ เพ่ือสร้างความเข้าใจสะท้อนผ่านออกมาสู่ความเชื่อ และนาไปสู่การปฏิบัติ ตามความคิด ความรู้ และความเชือ่ นั้น หาใช่การเรียนเพ่ือตอบข้อสอบ (ปริญญา เทวา นฤมติ รกุล, 2555, น.55) โดยในส่วนน้ีจะพิจารณาบริบทการจัดส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน หรือ รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมเสริมหนุน ได้แก่ การใช้เกม การทัศน ศึกษาในพิพธิ ภณั ฑ์และสถานที่ทางประวตั ิศาสตร์ เปน็ ต้น  วิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่คนญี่ปุ่นต้องเรียนต้ังแต่ก่อนสมัยปฏิรูป การศกึ ษา ตัง้ แต่ยคุ ศตวรรษที่ 17 ที่เรียนเป็นชนช้ันในวัด และไม่เคยละท้ิงแม้จะมีการ ปฏริ ูปการศึกษามาถึง 3 ครั้ง เป็นวิชาที่จัดการเรียนการสอนต้ังแต่ประถมศึกษาจนจบ มัธยมศึกษา เน้ือหาการเรียนจะไม่ซ้ากันในแต่ละระดับช้ัน เป็นวิชาท่ีนาไปทดสอบ ระดับชาติ เทียบเคียงกับ National Test หรือ NT ของประเทศไทย เรียนรู้อดีตเพ่ือ เป็นบทเรียนสาหรบั การพัฒนาประเทศในปจั จุบันและอนาคต  การจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ของประเทศญ่ีปุ่นใช้หนังสือ แบบเรียนเปน็ หลกั ซงึ่ หนงั สือแบบเรยี นท่ปี ระเทศญป่ี นุ่ ใชน้ นั้ เป็นหนงั สือท่มี คี ุณภาพผา่ น การตรวจสอบคุณภาพและรับรองโดยกระทรวงศึกษาธิการฯ ของประเทศ ผู้แต่งคือ 55

ประเทศ สภาพการจัดการเรยี นการสอน ประเทศออสเตรเลีย ผู้เชี่ยวชาญซ่ึงไม่ได้มีคนเดียว มีหลายคน เรียนท้ังประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นและเรียน ประวัติศาสตร์สากล โดยประวัติศาสตร์ของประเทศเน้นให้ความสาคัญกับเร่ืองหลัง (วชิ า หนา้ ท่ีพลเมือง) สงครามโลกครั้งท่ี 2 ท่ปี ระเทศแพ้สงคราม ซ่ึงเรื่องดงั กลา่ วถกู บรรจไุ วใ้ นหนังสอื เรยี นให้ เดก็ ได้เรียนตามเหตกุ ารณ์จริงว่า อเมริกาท้ิงระเบิดที่เมืองฮิโรชิมากับนางาซากิเมื่อไหร่ อย่างไร เพราะเหตุใด มีการวิเคราะห์ วิพากษ์ เพื่อสรุปบทเรียนและหาทางนาข้อสรุป หรอื ความรู้ไปใชใ้ นการพฒั นาสังคมและประเทศตอ่ ไป  การเรียนการสอนในห้องใช้วิธีการ active learning เน้นการเรียนจาก หนังสอื เรยี น พดู คยุ วิพากษ์ ระหว่างครูกับนักเรียน จากสถานการณ์จริง มีการพาไปดู อนุสาวรีย์ท่ีญ่ปี ุ่นแพส้ งครามโลกคร้ังที่ 2 เพ่ือราลึกและวิพากษ์ วิเคราะห์ เป็นบทเรียน สาหรับการแก้ปัญหาเมื่อเกิดวิกฤตของประเทศจากสถานการณ์ดังกล่าว โดยการไป เยีย่ มอนสุ าวรีย์ทญี่ ีป่ ุ่นแพ้สงครามโลกนั้นเป็นเร่ืองสาคัญเชิงสัญลักษณ์ที่นายกรัฐมนตรี ของญี่ปุ่นทุกคนต้องไปราลึกทุกปี รวมทั้งศึกษาประวัติศาสตร์สากลว่าในโลกประเทศ สาคัญ ๆ เช่น อเมริกา อังกฤษ เยอรมัน เกิดอะไรขึ้น ทาอะไรในอดีต เพ่ือวิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนร้ใู นการนาประเทศญ่ปี ุ่นสู่การพฒั นาต่อไป  วิชาประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ จะถูกแยกออกมาจากวิชาสังคมศึกษา นบั ต้งั แตส่ มัยศตวรรษท่ี 17 เป็นตน้ มา ถงึ แมส้ มยั ศตวรรษที่ 17 วิชาประวัติศาสตร์จะ ให้ผ้ชู ายเรยี นโดยเฉพาะกต็ าม ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประวัติศาสตร์ถูกแยกให้ อยใู่ นสว่ นของสายศลิ ปศาสตร์  หลักสูตรการสอนวชิ าสงั คมศึกษาและประวตั ิศาสตร์ในประเทศญ่ปี ุ่น  ป.1 - ป.2 วชิ าสงั คมศกึ ษาจะเรียนสอดแทรกอยใู่ นวิชา Life studies  ป.3 - ม.3 เรียนเปน็ วิชาสังคมศกึ ษา  ม.1 - ม.6 เรียนเรอื่ งภมู ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และพลเมือง  การเรียนในระดับอนุบาลและประถมศึกษา เน้นเรียนแบบสนุกสนาน (fun) เรียนปนเล่น เน้นการช่วยเหลือตนเอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นท้ังเพ่ือนและครู เน้นเรื่อง ความสะอาด ความมีระเบียบวินัย รับผิดชอบ เคารพผู้อื่น ฝึกคิด ฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ ฝึกตั้งเป้าหมายในแต่ละวันและทาเป้าหมายให้สาเร็จ ฝึกแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง เร่ิมสอบเกบ็ คะแนน ตั้งแตร่ ะดบั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 เปน็ ตน้ ไป  มัธยมศึกษาตอนต้น เน้นการค้นหาเป้าหมาย ค้นหาตัวเอง หรือ find ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เน้นการเรียน การฝกึ ปฏิบัติด้วยความมุ่งมั่นไปสู่เป้าหมาย หรือ focus ในระดับอดุ มศึกษาเน้นการเรียนเพื่อทาเป้าหมายใหส้ าเรจ็ หรอื fulfill เน้น การฝกึ ฝนความรู้และทกั ษะต่าง ๆ เพ่อื ความพรอ้ มในการทางานและรากฐานที่มั่นคงใน ชวี ติ  ครูมีหน้าท่ีสอนความรู้ ดูแลเอาใจใส่ สนับสนุนการต้ังเป้าหมายของ นกั เรียน กระตนุ้ ให้ทุกคนไปถงึ เปา้ หมายของตนท่ีตั้งไว้  ประเทศญี่ปุ่นไม่เน้นผลิตคนเก่งอย่างเดียว แต่เน้นผลิตคนที่มี ความสามารถในการเรียนรู้ มีความพยายาม ความขยัน อดทน ซ่ือสัตย์ มีระเบียบวินัย ต่อตนเอง มคี วามรับผิดชอบ ออ่ นน้อมถ่อมตน การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม การทางาน เป็นทีม และทางานกับผู้อ่ืนด้วยความกระตือรือร้น ทุกระดับชั้นครูจะต้องดึงศักยภาพ และจุดเด่นของแต่ละบุคคลโดยนาความสามารถ ความถนัดมาพัฒนาอย่างต่อเน่ืองใน แตล่ ะวัยของการเรียนเพือ่ ใหไ้ ดค้ นคุณภาพของประเทศ  มีการกาหนดเป้าหมายของการพัฒนาท่ีชัดเจน ออสเตรเลียได้กาหนด เป้าหมายของการศึกษาโดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถขั้นพ้ืนฐาน 7 ประการ ได้แก่ 56

ประเทศ สภาพการจัดการเรยี นการสอน ประเทศสิงคโปร์ 1. การฉลาดรู้ (Literacy) 2. การรูพ้ ้นื ฐานทางการคานวณ (Numeracy) (วิชา หน้าทพ่ี ลเมอื ง) 3. ความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology (ICT) capability) 4. ความคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์ (critical and creative thinking) 5. การรับรู้ตนเองและความสามารถทางสังคม (Personal and social capability) 6. ความเขา้ ใจทางจรยิ ธรรม (Ethical understanding) 7. ความเขา้ ใจระหวา่ งวัฒนธรรม (Intercultural Understanding)  วิธีการสอน การประเมินไม่ถูกกาหนดไว้ชัดเจนในหลักสูตร กาหนดเป็น กรอบกว้าง ๆ ไว้ ให้ครมู อี สิ ระในการเลือกวิธีการที่เหมาะสมท่ีสุดสาหรับผู้เรียน โดยใช้ ประสบการณ์หรอื แนวทางทีห่ ลากหลายของครู  มีการกาหนดเป้าหมายของการพัฒนาที่ชัดเจน โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนไปสู่ คนท่ีมีบุคลิกภาพเข้มแข็ง เป็นพลเมืองดี มีคุณค่า โดยได้กาหนดกรอบสมรรถนะของ ผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 และผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา ท่ีจะต้องพัฒนาให้เกิด ขน้ึ กบั คนสงิ คโปร์  ประเทศสิงคโปร์ใช้ DOE เป็นกรอบในการกาหนดนโยบายการศึกษา ของประเทศ โดยได้กาหนดรายวิชาเพ่ือการพัฒนาผู้เรียนไว้ 7 วิชาหลัก และกิจกรรม การเรียนรู้ 2 กิจกรรม ซ่ึงแต่ละวิชาและกิจกรรมจะต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีค่านิยม สมรรถนะ และทักษะทป่ี ระเทศกาหนดไว้  การประเมิน ครจู ะตอ้ งประเมนิ วชิ าสังคมใน 3 รูปแบบ คือ ความรู้ ทักษะ และคา่ นิยม วธิ ีการประเมนิ มีการประเมินจากข้อสอบ ทากจิ กรรม  การจดั การศึกษาเพอื่ สรา้ งความเปน็ พลเมือง  การศึกษาเพ่ือสร้างคุณลักษณะและความเป็นพลเมือง : นักเรียนทุก คนต้องมีความรับผิดชอบต่อครอบครัวและชุมชน และมีความเข้าใจบทบาทความ เปล่ียนแปลงในอนาคตของชาติสิงคโปร์ รวมทั้งผลกระทบของแนวโน้มและการพัฒนา สังคมโลก  วิธกี ารสอน : เดก็ จะได้เรยี นการสร้างคุณลกั ษณะและความเป็นพลเมอื ง จากครูท้ังเรื่องคุณค่า ความรู้ และทักษะ โดยใช้ภาษาแม่ในการสอน ครูจะต้องให้ คาแนะนาหรือแนะแนวเด็กมีสมรรถนะทางอารมณ์และสังคมรวมเรื่องด้านการศึกษา และอาชพี และการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู ซึ่งวิธีในการสร้างคุณลักษณะ และความเป็นพลเมือง มีทั้งการเรียนเป็นบทเรียน การให้คาแนะนาหรือแนะแนว การ ใช้โรงเรียนเปน็ ฐานในการพัฒนาความเป็นพลเมอื ง  ครูจะต้องพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้มีประสบการณ์ชีวิต โดยสอน ความรู้ที่เก่ียวข้อง ทักษะ และคุณค่า/ค่านิยม โดยสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องได้รับการสร้าง คุณลักษณะและความเป็นพลเมือง มี 6 เร่ือง คือ เร่ืองตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ชมุ ชน ชาติ โลก เนอื้ หาความรูใ้ นแตล่ ะระดบั ทเี่ ดก็ ควรรู้  ครูจะต้องทาให้เด็กเกิดการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านการตั้ง คาถามวา่ “ทาไม” “อย่างไร” แทนคาวา่ “อะไร” ครูจะเปน็ ผ้อู านวยความสะดวกผ่าน การสะท้อนความคิดในทันทีให้กับผู้เรียนเม่ือพวกเขาทากิจกรรมเสร็จส้ิน ใช้ละครเป็น การสร้างกระบวนการเรยี นรใู้ ห้ผ้เู รยี น โดยเลอื กสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่ใกล้เคียงที่ สามารถช่วยพฒั นาเดก็ ใหเ้ กิดผลลัพธก์ ารเรียนร้ทู ่เี หมาะสม สาหรับการประเมนิ : ใช้ทั้ง 57

ประเทศ สภาพการจัดการเรยี นการสอน ประเทศเวยี ดนาม การประเมนิ ตนเอง การประเมินเพื่อนด้วยกัน และการประเมนิ ครู (การพฒั นาความเปน็ พลเมอื ง)  สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2561) ศึกษาวิจัยเรื่อง รูปแบบและ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี กลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานของประเทศ สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวียดนาม ระบถุ ึงการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาความมีวินัย (การพัฒนาความเป็นพลเมอื ง) และความเปน็ พลเมอื ง สรปุ ใจความสาคญั ได้ดงั น้ี  รัฐบาลเวียดนาม ภายใต้นโยบายพรรคคอมมิวนิสต์จะมอบนโยบาย ให้กับกระทรวงศึกษาและฝึกอบรมทาหน้าท่ีหลักให้แก่รัฐบาลในการเสริมสร้างความมี วินัยให้แก่นักเรียน โดยมีหลักสูตรท่ีมีรายวิชาบังคับเพ่ือพัฒนาความมีวินัยแก่นักเรียน โดยตรงคือ รายวิชาศีลธรรม (Moral education) สาหรับจัดการเรียนการสอนใน ระดับชัน้ ประถมศึกษาและรายวชิ าหน้าท่ีพลเมือง (Citizen education) ใช้จัดการเรียน การสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาสาหรับวัตถุประสงค์ของวิชาศีลธรรมจะมีเป้าหมาย หลัก ๆ คอื 1) เพอื่ ใหร้ จู้ ักศีลธรรมและกฎหมายทเ่ี หมาะสมกบั วยั ความสัมพนั ธ์กับดา้ น ต่าง ๆ เช่น ความสัมพันธ์กับครอบครัวโรงเรียน ชุมชน ส่ิงแวดล้อมและการปฏิบัติตัว ตามบรรทัดฐาน 2) เพอื่ ให้รูจ้ กั พจิ ารณาหนา้ ทขี่ องตนเอง ประเมินพฤตกิ รรมของตนเองและ คนรอบข้าง มีทักษะในการสรรหาและปฏิบัติตนให้เหมาะสม และเรียบง่าย รู้จัก ตักเตอื นเพ่ือนตามบรรทัดฐานทเ่ี รยี นมา 3) เพอื่ ใหเ้ รียนรคู้ วามสาเร็จตามลาดบั ขัน้ ตอนเก่ียวกับกริ ิยาทา่ ทาง แนวคดิ ความม่ันใจ ความรักใคร่ ความเคารพนบั ถอื มนุษย์ รกั ความถกู ตอ้ ง ไม่เห็นด้วยกับส่ิงชั่ว ร้ายและในระดับมัธยมศึกษาที่เรียนในรายวิชาหน้าท่ีพลเมืองจะมีเป้าหมายเพ่ือให้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการดาเนินชีวิตและนาไปสร้างเป็น บุคลกิ ภาพที่สอดคล้องกบั สภาพการเปล่ยี นแปลงทางสงั คม ซึ่งการจัดการเรยี นการสอน จะแบ่งเน้ือหาออกเป็นบท ๆ ในแต่ละบทจะมีกิจกรรมท่ีเป็นการมอบหมายงานหรือ การบา้ นให้นักเรยี นไดฝ้ กึ หัดทาจากความง่ายไปหายากตามระดับชั้นของผู้เรียน เช่น ใน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เน้ือหาท่ีเรียนประกอบไปด้วยการทาความสะอาด ความ เป็นระเบียบ การดูแลน้อง การไม่คุยเสียงดัง ฯลฯ ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 เน้ือหาท่ีเรียนประกอบไปด้วย ความรักและเคารพลุงโฮ (โฮ จิ มินห์) คาสัตย์ การดูแล ผู้สูงอายุในครอบครัว การร่วมงานในชั้นเรียน ฯลฯ ซึ่งเน้ือหาหรือมาตรฐานการศึกษา ของเวียดนามจะถูกกาหนดตายตัวจากรัฐบาลกลาง ดังนั้นจะพบว่ารายละเอียดใน เนื้อหาของบทเรียนจะไม่มีการเปล่ียนแปลงมากนัก และเน้ือหาในหนังสือเรียน เวยี ดนามจะมเี นอื้ หาไม่มากเทา่ กับหนังสอื เรียนของนกั เรียนไทย  วรินทร บุญย่ิง (ม.ป.ป.) ศึกษาวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์จุดเน้นหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสาธารณรัฐเกาหลี สรุปแนวทางการพัฒนาความเป็นพลเมือง ได้ดังนี้  ภาพรวมของการจัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 1) นโยบายรัฐบาล เน้นการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างทรัพยากรมนุษย์อันเป็น การเตรียมการเพื่ออนาคต โดยใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใน ฐานะเป็นฐาน 2) ใชร้ ะบบการศึกษาท่ีมีฐานกว้างและการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3) จุดเน้นของหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้มีความรู้ในวิชาหลัก ซึ่ง บูรณาการเปน็ สหวิทยาการ เพอ่ื ใหม้ ที ักษะทส่ี าคัญ เช่น ชวี ติ /ทักษะ อาชีพ มีทักษะการ เรยี นรูแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมใหม่ และทักษะดา้ นสอื่ สารสนเทศและเทคโนโลยี  สาธารณรัฐเกาหลีมีแนวโน้มในการพัฒนาความเป็นพลเมืองเกาหลีใน 58

ประเทศ สภาพการจัดการเรยี นการสอน สงั คมยุคโลกาภวิ ัฒน์ทเี่ น้นการพฒั นาทรัพยากรมนุษยม์ งุ่ ท่ีระบบการศึกษาเพ่ือศตวรรษ ท่ี 21 ควบคู่กับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ดังเช่นการวิจัยของ วรินทร บุญย่ิง (2553, หน้า 36-69) พบว่า สาธารณรัฐเกาหลีมีนโยบายท่ีเด่นชัดเก่ียวกับการจัดกิจกรรมเพื่อ สังคมและสาธารณประโยชน์มีการกาหนดไว้ในหลักสูตรอย่างชัดเจน และให้แต่ละ ท้องถิ่นจัดทาคู่มือการดาเนินงาน หลักการ กฎเกณฑ์ และแนวทางการบริหารจัดการ กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ ซึ่งกาหนดเวลาให้ทากิจกรรมนี้ในระดับประถมศึกษาปีละ ประมาณ 10 ช่ัวโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายปีละประมาณ 20 ชั่วโมง ท้ังน้ีได้มี การบูรณาการกับวิชาความฉลาดในการดารงชีวิต (Life Intelligence) ในชีวิตและ สงั คม เพอื่ ให้เดก็ เรียนร้หู น้าท่ีต่อตนเองและสังคมทอี่ ยู่รอบตวั ในชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 2 แล้วยังกาหนดให้เรียนรู้วิชาสังคมศึกษาต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นต้นไป โดยถือว่าการสร้างชาติเริ่มที่เด็กและเยาวชน และให้ยึดหลักความร่วมมือระหว่าง ผูป้ กครอง หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชนท่ีเป็นภมู ลิ าเนาของนักเรยี น  จุดเน้นการพัฒนาผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษา เน้นการปลูกฝังทักษะและการฝึกฝนเบื้องต้นท่ีจาเป็น ในการใช้ชีวิตประจาวันและการเสริมสร้างลักษณะนิสัยในการใช้ชีวิตข้ันพื้นฐานของ นักเรียน โดยเน้นการใช้ชีวิตท่ีถูกต้อง การใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาด การใช้ชีวิตอย่างมี ความสุข ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เน้นการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะพ้ืนฐานท่ี จาเป็นในการใช้ชีวิตประจาวันของนักเรียน ปลูกฝังความเป็นตัวตนของตนเองในฐานะ พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยเน้นสิทธิและหน้าท่ีของพลเมืองภายใต้ระบอบ ประชาธิปไตย (เคารพศักด์ิศรีและเกียรติภูมิของมนุษย์ เคารพกฎหมายบ้านเมือง การ ตดั สินใจทช่ี อบด้วยเหตุและผล เปน็ ตน้ ) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ไปสู่ อนาคตที่เหมาะกับความถนัดและพรสวรรค์ของนักเรียนตลอดจนเสริมสร้างความเป็น ตวั ตนของตนเองในฐานะประชาคมโลก (ความเข้าใจอันดีต่อวัฒนธรรมอื่น ๆ สันติภาพ ศกึ ษา มรรยาทสากล เป็นต้น)  จุดเน้นของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสาธารณรัฐเกาหลี พบว่า มีจุดเน้นเพ่ือสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการสร้างทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีสร้างสรรค์โดยการปลูกฝังคุณธรรมอย่างเป็นระบบ และเหมาะสมกับนักเรียนแตล่ ะระดับช้ันโรงเรยี นมกี ารลดรายวชิ าทไี่ ม่สาคญั และบรู ณา การการปลูกฝังคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์เข้าไปในทุกรายวิชา เช่นอนุบาลถึง ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เนน้ ปลกู ฝังความเป็นระเบียบในสังคม กฎจราจร และจิตสานึกการ อยู่ร่วมกันในชุมชน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ถึงมัธยมศึกษาตอนต้นเน้นสิทธิและหน้าที่ ของพลเมืองภายใต้ระบอบ ประชาธิปไตย (เคารพศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของมนุษย์ เคารพกฎหมายบ้านเมือง การตัดสินใจที่ชอบด้วยเหตุและผล เป็นต้น) ชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย เน้นสิทธิและหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองของโลก (ความเข้าใจอันดีต่อ วัฒนธรรมอื่น ๆ สันติภาพศึกษา มรรยาทสากล เป็นต้น) มีการประเมินผลที่เป็นระบบ เช่ือมโยงสู่การเขา้ ศึกษาในระดับที่สงู ขึน้ ในระดับวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั อีกท้ัง กิจกรรม ในระดับวิทยาลัย มหาวิทยาลัยท่ีต้องสนับสนุนกิจกรรมบาเพ็ญสาธารณประโยชน์แก่ สงั คม การพัฒนาคนที่สมบรู ณท์ กุ ด้าน มคี วามสามารถเชิงสร้างสรรค์บนฐานความรู้และ ทักษะพื้นฐานท่ีจาเป็น สามารถประกอบอาชีพบนฐานความรู้ทางวิชาการที่กว้างขวาง และทกั ษะที่หลากหลาย เข้าใจวฒั นธรรมของชาติ อุทศิ ตนเพื่อ พัฒนาประเทศและเป็น พลเมอื งดขี องสังคมประชาธปิ ไตย 59

ข้อมูลจากครผู สู้ อน และผู้เรยี น  ข้อมูลจากครูผสู้ อน และผู้เรียน ผลการศกึ ษาข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม สภาพการจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตร์ ระดับการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน จากแบบสอบถามครูผู้สอน ผู้เรียน และการสนทนากลุ่มย่อยครูผู้สอน ผู้เรียน ในระหว่างวันท่ี 7 – 8 สิงหาคม 2564 ในการจัดทาข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานให้มีประสิทธภิ าพ รายละเอยี ดดงั น้ี ตารางที่ 8 ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมของครูผู้สอนท่ีมีต่อสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัตศิ าสตร์ ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ดา้ น ข้อคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม ดา้ นผเู้ รยี น ขอ้ มลู จากแบบสอบถามและสนทนากลมุ่ ยอ่ ย ด้านครูผู้สอน 1) ควรทาให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของวิชาประวัติศาสตร์ สร้างความตระหนักรู้ มุ่งให้ ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการศึกษาประวัติศาสตร์ เข้าใจในแก่นของวิชา และนามาเช่ือมโยง วเิ คราะหป์ ญั หา หรือ หาวธิ แี กป้ ัญหาในปัจจุบัน รวมถงึ ควรมีการปลกู ฝงั จิตสานึกให้แก่ผู้เรียน มีความรกั ชาติ สามารถบอกความสาคญั และเหน็ คุณคา่ ของประวัติศาสตร์ชุมชน ความเป็นมา เปน็ ไปของชุมชนตนเอง มุ่งส่จู งั หวัดและประเทศ 2) ควรทาให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกและเห็นว่าวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาท่ีน่าสนใจ อยู่รอบตัว ผู้เรียนตลอดเวลา เพราะเม่ือผู้เรียนมีความสนใจ จะทาให้อยากรู้ในส่ิงน้ันและอยากเรียนรู้ สง่ ผลตอ่ บรรยากาศโดยรวมในการเรียนประวัติศาสตร์ทไ่ี มน่ า่ เบ่ือ 3) สงิ่ ท่ีจะทาใหก้ ารเรยี นการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตรป์ ระสบความสาเร็จ คือ ผู้เรียนเข้าใจ อธิบายและนาไปใช้ประโยชน์ได้ สามารถเรยี งลาดับเหตุการ์ต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ได้ เข้าใจ ว่าบุคคลสาคัญ สิ่งประดิษฐ์ ภูมิปัญญาของคนในอดีต นามาซึ่งร่องรอยของปัจจุบัน รวมถึง สามารถนาความรทู้ ี่ได้มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวันและปรบั ตวั ให้เข้ากับสภาพสงั คมปัจจุบนั ขอ้ มูลจากแบบสอบถามและสนทนากลุม่ ย่อย 1) การผลิตครู ปัจจุบันไม่ได้เรียนประวัติศาสตร์ ไม่มีวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอกใน หลักสูตรการผลิตครู การไม่ให้ความสาคัญต้ังแต่การผลิต ส่งผลต่อความลึกซึ้งในเนื้อหาวิชา ครทู ่สี ามารถบูรณาการทุกเรอ่ื งหาได้ยากและครูสอนเก่งคอื ครทู ่คี น้ คว้าเอง 2) การใช้ครู ควรใช้ครูที่ตรงเอก ตรงสาขา และจัดสรรบุคลากรครูที่ครบวิชาให้แก่ทุก โรงเรียน นอกจานี้ ควรลดภาระงานอน่ื ๆ ท่เี ข้ามาเป็นอปุ สรรค เพ่อื ให้ครไู ดส้ อนอย่างเต็มท่ี 3) การพัฒนาครู ควรจัดอบรมและพัฒนาครูอย่างต่อเน่ือง พาครูไปศึกษาประวิติศาสตร์ จากสถานที่จริง รวมถึงพัฒนาครูทีไ่ ม่ไดจ้ บตรงเอกให้ได้รบั แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ ถกู ต้อง พร้อมมอบส่ือการเรยี นการสอน วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการจัดการเรยี นการสอน 4) ด้านการพัฒนาตนเองของครูผู้สอน ครูผู้สอนควรมีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหา มี ความรู้รอบด้าน เตรียมการสอน เอาใจใส่และตั้งใจในการสอน ควรมีการส่ือสาร ทาความ เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายของการเรียนให้ผู้เรียนทราบก่อนการเรียน มีการจูงใจ กระตุ้นและสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน ให้มีความน่าสนใจ ไม่น่าเบ่ือ ออกแบบการเรียนการ สอนและมีเทคนิคการสอนใหม่ ๆ ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย มีสื่อการเรียนการสอนที่ดีที่ สามารถบูรณาการเชื่อมโยงเหตุการณ์ในอดีตกับปัจจุบันได้ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถนามา วิเคราะห์เหตุการณ์ รวมถึงการปลูกจิตสานึกในการใฝ่รู้ใฝ่เรียนในวิชาประวัติศาสตร์ให้เกิด ข้นึ กับผเู้ รียน 60

ดา้ น ข้อคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม ด้านหลกั สูตร ขอ้ มูลจากแบบสอบถามและสนทนากล่มุ ย่อย 1) การจดั ทาหลกั สตู ร ควรเร่มิ ต้นจากการมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับหลกั สตู รแตล่ ะ รายวิชาอย่างแทจ้ รงิ มกี ารกาหนดม่งุ หมายของหลกั สูตรท่ตี ้องสามารถตอบคาถามไดว้ า่ เรียน ประวัติศาตรเ์ พราะอะไร จะใช้ประวตั ศิ าสตรม์ องสงั คมอยา่ งไร จะสอนอยา่ งไร และผสู้ อนและ ผ้เู รยี นมีมมุ มองต่อประวตั ิศาสตรอ์ ยา่ งไร 2) การจัดทาเน้ือหาหลักสูตร ควรปรับเนื้อหาให้เหมาะสมกับช่วงวัยและระดับชั้นของ ผู้เรยี น เนือ้ หากระชับ นาไปใช้ได้จริง ไม่เอนเอียงและสะท้อนความจริง ปรับเนื้อหาให้ทันต่อ การเปล่ียนแปลง สอดคล้องกับยุคสมัย เป็นเน้ือหาที่สามารถนาพาเด็กไปสู่การคิดวิเคราะห์ และการพัฒนาตนเองเพื่อนาไปสู่วิชาชีพของตน ควรเพิ่มประวัติศาสตร์เร่ืองพระมหากษัตริย์ ไทย ประวัติศาสตร์สากล ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน เน้ือหาที่ผู้เรียนสนใจ การบูรณาการเน้ือหา รว่ มกบั รายวิชาอน่ื รวมถงึ ประยกุ ต์ใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะในการจัดการเรยี นการสอน 3) การจัดทาตัวชี้วัด จานวนหน่วยกิต และจานวนช่ัวโมง ควรนาวิชาประวัติศาสตร์รวม กบั วิชาสังคมศึกษา กาหนดตวั ชี้วัดให้ชดั เจนและเป็นรูปธรรม ลดตัวช้ีวดั ให้นอ้ ยลงในแต่ละช้ัน มุ่งเนน้ เฉพาะความสาคัญและเปา้ หมายของการจัดสอนวิชาประวัติศาสตร์ ปรับตัวช้ีวัดให้ตรง กับยุคสมยั สอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลง และครอบคลุมประวตั ิศาสตร์แตล่ ะยุคสมัยของไทย รวมถึงควรให้ความสาคัญเพิ่มข้ึน เช่น การกาหนดเวลาเรียนที่แน่นอนชัดเจน เพิ่มคาบการ เรียน มีชัว่ โมงเพม่ิ เติม ใหเ้ วลาตอ่ คร้ังการสอนมากขนึ้ เป็นตน้ ด้านการจัดการเรียน ข้อมูลจากแบบสอบถามและสนทนากล่มุ ยอ่ ย การสอน 1) ควรปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนให้สอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ความพร้อมของนักเรียนแต่ละกลุ่ม/แต่ละบุคคล ให้ความสาคัญกับการเรียนการสอนอย่างมี ความสขุ ไมก่ ดดนั ทง้ั ผเู้ รียนและผู้สอน สอดแทรกบูรณการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพ่ือปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรมและสอดแทรกในวชิ าอ่นื ๆ 2) ควรเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนไดค้ น้ พบความหมายของการเรียนประวัติศาสตร์จากการศึกษา ข้อมูลหลายด้าน ไม่ควรเน้นเน้ือหาเป็นหลัก แต่ควรเน้นท่ีวิธีการ การให้ผู้เรียนรู้เท่าทัน ประวตั ิศาสตร์ เนน้ การต้ังคาถาม และหาคาตอบจากหลักฐานในหลายแง่มุม เน้นการสอนให้ ผูเ้ รยี นมที กั ษะการคิดวิเคราะห์ สามารถคดิ และถ่ายทอดผ่านมุมมองทหี่ ลากหลาย 3) ควรจัดการเรียนรู้ วิธีการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย รูปแบบ น่าสนใจ เหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ การลงมือปฏิบตั ิจริง ฝึกทกั ษะ รวมถึงการสอนบรู ณาการนาไปใช้ในขีวิตประจาวัน เน้น สื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น ท่ี ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ติ ด ต า ม ก า ร เ รี ย น ไ ด้ อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ใ น วิ ช า ประวัติศาสตร์ เน้นให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกทางความคิดเห็น แลกเปล่ียนความคิดเห็น และ เรียนรู้อย่างเป็นข้ันตอน เช่น การ์ตูน วีดีทัศน์ แหล่งเรียนรู้และสถานที่จริง มีผู้เชี่ยวชาญ/ ปราชญ์ท้องถิ่นมาให้ความรู้ ศึกษาจากแหล่งประวัติศาสตร์จริง มีการยกตัวอย่างให้เห็นภาพ การท่ีใหน้ ักเรยี นศกึ ษาดว้ ยตนเองจากแหล่งข้อมลู ทห่ี ลากหลาย การแสดงละครประวัติศาสตร์ การแสดงบทบาทสมมุติ สถานการณ์จาลอง เด็กเก่งช่วยสอนเด็กอ่อน การสอนผ่านเกม การ สอนแบบโครงงาน สอนโดยใช้เพลง การสอนผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นต้น นอกจากนี้ ควรใช้วิธีเสริมแรงจูงใจ เสริมความรู้ ช้ีแนะให้นักเรียนรู้และเข้าใจในทางท่ีถูกที่ ควร ด้านการวดั และประเมินผล ขอ้ มลู จากแบบสอบถามและสนทนากลมุ่ ย่อย 1) ควรเริม่ ต้นจากการตัง้ เป้าหมายของการพัฒนาผูเ้ รยี นให้ชัดเจน เว้นทวี่ า่ ง เปดิ โอกาสให้ ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะอย่างอ่ืน นอกเหนือจากความจาความเข้าใจ และออกแบบวิธีการวัด และประเมินให้มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย ทักษะ ที่ต้องการให้ผู้เรียนเป็น รวมถึงมี เป้าหมายทิศทางชัดเจน และมุ่งเน้นการเข้าถึงของเด็กอย่างทั่วถึง และสอดรับต่อความถนัด 61

ดา้ น ขอ้ คิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ด้านตาราเรียน สอ่ื และ รายบคุ คล อุปกรณก์ ารเรยี นรู้ 2) ควรมีรูปแบบท่ีหลากหลายมากขึ้น เช่น ข้อสอบท่ีเป็นคาถามปลายเปิด คาตอบไม่ ด้านแหลง่ เรยี นรู้ จาเป็นต้องมีคาตอบเดียว ข้อสอบท่ีเป็นสถานการณ์ เหตุการณ์ และจากสถานการณ์น้ัน ด้านการสนับสนนุ รูปแบบโครงงาน หรือ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานในรปู แบบตา่ ง ๆ ประเดน็ อื่น ๆ 3) ควรมีข้อสอบกลางท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีหลักเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน ออกแบบในลักษณะคาถามปลายเปิด โดยเน้นให้นักเรียนได้รู้จักคิด วิเคราะห์ สามารถนา ความรแู้ ละทักษะท่ีมีอย่มู าสือ่ สารได้ ข้อมลู จากแบบสอบถามและสนทนากล่มุ ย่อย 1) ควรใชส้ อ่ื ท่ีหลากหลาย มีเน้ือหาที่สอดคล้องกับยุคสมัย เหมาะสมกับวัยและระดับชั้น ของผ้เู รียน สื่อให้ผเู้ รยี นเห็นความสาคัญของเนอื้ หาประวัตศิ าสตร์ สือ่ ทเ่ี รา้ ความสนใจ กระตุ้น ให้เกิดการเรียนรู้และอยากเรียนรู้ เช่น ยูทูป การ์ตูนอิมนิเมช่ัน สื่อประเภทวิดีโอ สารคดี ประวัติศาสตร์ ใบงานและดูหนังเก่ียวกับประวัติศาสตร์ เร่ืองราวท่ีน่าสนใจ สื่อแบบนิทาน ละคร การแสดง คลังความรู้ที่หลากหลาย แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน สื่อการสอนเสมือนจริง เปน็ ตน้ 2) ควรปรับปรุงตาราเรียนให้เอ้ือสาหรับผู้สอน โดยด้านหลังของตาราเรียนควรมีข้อมูล สาหรับค้นหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์เพ่ิมเติม รวมถึงการมีคู่มือสาหรับครูผู้สอนที่เป็น มาตรฐานเดียวกัน นอกจากน้ี ตาราเรยี นควรมีมาตรฐาน ไม่สร้างความสับสนหรือบิดเบือน 3) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ควรมีที่มาชัดเจน เป็นหลักฐานท่ีมีหลากหลายเพื่อให้เห็น มมุ มองทางประวัตศิ าสตรใ์ นหลายมุมมอง ขอ้ มลู จากแบบสอบถามและสนทนากลุ่มยอ่ ย 1) ควรมีความหลากหลายในการเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ เหมาะสมและมีผู้ให้ความรู้ได้ อย่างแท้จริง เชน่ พพิ ิธภณั ฑอ์ อนไลน์ มีการแนะนาแหลง่ ข้อมลู ทสี่ ามารถไปศึกษาตอ่ ได้ แหล่ง เรยี นร้ภู มู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ แหลง่ เรียนรขู้ องชมุ ชน เปน็ ต้น ขอ้ มูลจากแบบสอบถามและสนทนากลุ่มย่อย 1) ทุกฝ่ายท้ังภาครัฐ ท้องถิ่นและเอกชนควรร่วมมือและให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง ตั้งแต่บุคลากร หลักสูตร ตัวชี้วัด เน้ือหา การจัดการเรียนการสอน ส่ือ องค์ความรู้ งบประมาณการจัดนทิ รรศการและทศั นศกึ ษา อปุ กรณ์เครือ่ งมอื ทที่ นั สมัย 2) ควรมีการชว่ ยเหลือใหค้ รูผสู้ อนเขา้ ถงึ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีมีหลากหลาย มีการ เช่ือมโยงการเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้ท้ังครูผู้สอนและผู้เรียน และมีคู่มือสาหรับครูผู้สอนใน ตา่ งจงั หวดั รวมถึงมีหน่วยงานรับผดิ ชอบหลักทีเ่ ปน็ ศูนย์รวมภาคีเครือข่ายกับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซง่ึ เปน็ ฐานข้อมูลท่ีจะสามารถช่วยในการจดั การเรียนการสอนของครูผ้สู อน ขอ้ มูลจากแบบสอบถามและสนทนากล่มุ ย่อย 1) ควรให้ความสาคัญกับวิชาประวัติศาสตร์ โดยกาหนดเป็นวาระสาคัญระดับชาติ เช่น การสร้างหนังระดับชาติ จัดนิทรรศการคร้ังใหญ่ มีหน่วยงานท่ีสอบข้อมูลก่อนเผยแผ่ไปสู่ ผู้เรียนหรือสังคมการให้ความสาคัญกับความดี มีสานึกทางคุณธรรม จริยธรรม สามารถ แยกแยะผิดถูก ไมต่ กเป็นเหยอื่ ไดง้ ่าย มจี ิตสาธารณะเพือ่ สว่ นรว่ มและชาติบ้านเมืองเป็นสาคญั 2) ควรปรบั มโนทศั น์ กรอบความคิดของการจัดการเรียนการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ใหมท่ ี่ ไม่ใช่การสร้างชาติจากความเกลียดชัง ต้องไม่นาเอาสังคมในปัจจุบันไปตัดสินสังคมในอดีต การสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง ยอมรับและเกิดความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ นอกจากน้ี ต้องยอมรับความจริงว่า ประวัติศาสตร์ในยุคปัจจุบัน ครูผู้สอนไม่สามารถควบคุม การรับรู้ของนักเรียนได้ท้ังหมด นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมในสิ่งที่สนใจได้ ครผู สู้ อนเปน็ เพยี งผูอ้ านวยความสะดวก กาหนดขอบเขตในการเรยี นรแู้ ก่ผเู้ รยี น 3) การใหค้ วามสาคญั กบั การมเี จตคตทิ ่ีดตี อ่ วชิ าประวตั ิศาสตร์ เหน็ ถงึ ความสาคญั ของวิชา 62

ด้าน ขอ้ คิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม ประวัติศาสตร์ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง เกิดการวิเคราะห์และเรียนรู้จาก สถานการณใ์ นอดีต 4) ควรมีแนวนโยบายทีช่ ัดเจน นาทุกขอ้ เสนอไปปฏิบตั ิใหเ้ กดิ สัมฤทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม ตารางท่ี 9 ข้อคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติมของผู้เรียนที่มีต่อสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ดา้ น ข้อคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ ด้านผเู้ รยี น ด้านครูผูส้ อน ข้อมลู จากแบบสอบถามและสนทนากล่มุ ย่อย - ด้านหลกั สูตร ขอ้ มูลจากแบบสอบถามและสนทนากลมุ่ ย่อย ด้านการจดั การเรยี น 1) ควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนว่าต้องการให้ผู้เรียนรู้อะไร และเลือกวิธีการท่ีสอดคล้องกัน การสอน นอกจากนี้ ควรคานงึ ถงึ ธรรมชาตขิ องผเู้ รียนท่ปี รับเปลีย่ นไปตามยุคสมัย ต้องปรับเปล่ียนให้ทัน เด็ก หรือปรบั เปลยี่ นวธิ ีการสอนใหส้ อดคล้องกบั ผเู้ รียน 2) อยากให้ครูผู้สอนมีความสุขในการสอน สอนและส่ังงานให้ชัดเจนมากขึ้น เขียน ตัวหนังสือให้พอเหมาะ สอบถามถามและตรวจทานความเข้าใจของนักเรียนมากขึ้น มีการ ค้นคว้าข้อมูลนอกเหนือจากหนงั สือเรยี น 3) สถาบันผลิตครู ควรสอนให้ครูมีวิธีการสอนที่หลากหลายเข้ากับยุคสมัยที่เปล่ียนแปลง และอบรมครูในโรงเรยี นใหเ้ ท่าทันกับการสอนยุคใหม่ 4) ควรเพิม่ เตมิ การจดั อบรมครูเก่ียวกับกระบวนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ให้มากข้ึน เช่น การนาเทคโนโลยีเขา้ มาใช้ในการจดั การเรียนการสอน การใช้เทคโนโลยี VR เป็นต้น ข้อมูลจากแบบสอบถามและสนทนากลุม่ ย่อย 1) ควรปรับเน้ือหาให้หลากหลายมากข้ึน มีมุมมองในหลายด้าน การทาหลักสูตรควรมี ผเู้ ชี่ยวชาญหลายกลุ่มมาชว่ ยกันทา และยกเลิกเนื้อหาทไ่ี มจ่ าเป็น 2) เนื้อหาสาระการเรยี นรู้ ควรมคี วามเหมาะสมกับระดับชนั้ ไมย่ ากจนเกินไป หากเร่อื งราว มากเกินไปจะส่งผลต่อความสับสนที่เกิดขึ้นในการเรียน และมีเน้ือหาอื่นที่ผู้เรียนสนใจ เช่น ประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศญ่ีปุ่น ยคุ หิน ยุคไดโนเสาร์ ตานานเมอื ง สตั ว์ที่สูญพันธุ์ เป็นต้น ขอ้ มูลจากแบบสอบถามและสนทนากลมุ่ ยอ่ ย 1) ควรมีการจัดการเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย เชน่ การสรุปเนอ้ื หาใจความเข้าใจง่าย เน้น การประยุกต์ให้เข้ากับสมัยปัจจุบัน มีรูปภาพประกอบ เล่าเรื่องอดีต ปัจจุบัน จดบันทึกลงใน สมุดและมีภาพบรรยายประกอบ คลิบวีดีโอ สอนแบบบทบาทสมมุติและการจาลองเหตุการณ์ จดั กิจกรรมนานกั เรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานที่ พบเห็นแหล่งประวัติศาสตร์จริง ให้ทาช้ินงาน และค้นควา้ ข้อมลู ใช้รปู แบบเกมสเ์ ข้ามาสอดแทรก การสอนแบบมีการปฎิบตั ลิ งมอื ทา กจิ กรรม กลุ่ม การต้ังคาถามปลายเปิดในช้ันเรียน ให้นักเรียนได้มีการคิดวิเคราะห์ มีวิทยากรมาสอน ภาพยนตร์ สอดแทรกบูรณาการกับวิชาอ่ืน ๆ มีกิจกรรมหรือมีการค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับ ประวตั ิศาสตร์ เป็นตน้ 2) ระดบั มัธยมศกึ ษา - ไม่จาเป็นต้องเน้นว่าเร่ืองใดถูกเรื่องใดผิด แต่ควรเน้นว่านักเรียนได้เรียนรู้อะไรจาก ประวัติศาสตร์ จากประวัติเร่ืองน้ี ส่งผลอะไรกับนักเรียน และนักเรียนจะสามรถนาไปใช้ได้ อย่างไร - การสอนประวัติศาสตร์ ไม่ควรสอนแต่ผล แต่ควรสอนให้เห็นว่ากว่าท่ีจะประสบ ความสาเร็จตอ้ งทาอย่างไรบ้าง มปี จั จยั ใดบ้าง เช่น ทาไมพระเจา้ ถึงกอบกบู้ ้านเมืองใด ต้องผ่าน 63

ดา้ น ข้อคดิ เห็น ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม อะไรมาบ้าง ปัจจัยใดที่ทาใหป้ ระสบความสาเร็จ - ควรเน้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างรอบด้าน ทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคม เพ่อื มาพจิ ารณาร่วมกนั การนาวิธกี ารศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์มาใช้ การให้ข้อมูลหลายด้าน หลาย มมุ มอง เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และหาหลักฐานอ้างอิง พิจารณาว่าหลักฐาน นัน้ มคี วามนา่ เชือ่ ถือ มากนอ้ ยแคไ่ หน เพียงพอไหม - ควรสอนให้นักเรียนเรียนรู้ประวัติด้วยความเข้าใจ ไม่ใช่ท่องจา โดยใช้เทคนิควิธีที่ หลากหลาย เช่น ใช้เทคโนโลยีการจาลองภาพเสมือนจริง ทาให้เด็กเห็นภาพมากขึ้น ใช้ APP เกม อนิ โฟรกราฟคิ พาไปทัศนศกึ ษา มีคลปิ ประกอบ มัธยมปลายเน้นการสัมมนาวิชาการ ฯ,ฯ รวมถงึ การสรา้ งใหม้ ีบรรยากาศทน่ี ่าเรยี น เรยี นแลว้ รสู้ ึกสนกุ 3) ระดบั ประถม - ควรเน้นการเรียนรู้จากสถานท่ีจริง การมีใบงานที่หลากหลาย และเน้นกิจกรรมมากกว่า เน้ือหาวชิ าการที่มากเกนิ ไป - ควรออกแบบการเรียนการสอนท่ีครอบคลุมท้ัง online และ onsite โดย online ใช้ใบ งาน รายงาน ทดสอบหลงั เรียน ไม่มสี อบ และทางานกลมุ่ onsite ใช้การเก็บคะแนน สอบย่อย และงานกลมุ่ เป็นต้น ด้านการวัดและประเมนิ ผล ข้อมูลจากแบบสอบถามและสนทนากลุ่มย่อย 1) ควรมีรูปแบบการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย และตรงกับสิ่งท่ีเรียนในห้องเรียน เช่น ข้อสอบแบบปรนัยและอัตนัย ใบงาน ออกข้อสอบเป็นภาพให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ประเมินผลโดยการใหท้ างานแล้วส่งอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การแสดงความคดิ เห็นหรอื โต้วาทกี ลุ่ม เก็บคะเเนนตามชิน้ งานเเละสอบปลายภาค แผนผงั ความคดิ ประเมนิ จากความรู้และพฤติกรรม ออกขอ้ สอบโดยเน้นกิจกรรมท่ีนักเรียนได้ปฏิบัติจริง การเข้าเรียน/เช็คช่ือ ทารายงานและสรุป ตามความเข้าใจของผู้เรยี น เปน็ ต้น 2) ระดับมัธยมศึกษา ควรเน้นใหผ้ ู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นมากขึ้น ให้อิสระ ทางความคิด เช่น มีข้อมูลท่ีหลากหลายให้ไปศึกษา และมานาเสนอกับเพ่ือนในช้ันเรียน หา หลกั ฐานยนื ยันความคดิ ความเชือ่ คะแนนไดจ้ ากข้อมูลท่หี ามา วธิ กี ารหาข้อมูล หลักฐานอ้างอิง เป็นตน้ 3) ระดบั ประถมศึกษา ควรมีรูปแบบการวัดประเมินผลท่ีหลากหลาย เช่น kahoot word- war ใบงาน google form open book เกมส์ รวมถงึ การออกขอ้ สอบใหต้ รงกบั ทไี่ ด้เรยี นไป ดา้ นตาราเรยี น สอื่ และ ขอ้ มลู จากแบบสอบถามและสนทนากลมุ่ ยอ่ ย อุปกรณก์ ารเรยี นรู้ 1) ระดบั มัธยม - ควรปรับตาราเรียนให้น่าสนใจมากข้ึน มีข้อมูลหลากหลายด้าน มีแหล่งอ้างอิง มี ผ้เู ช่ียวชาญหลายดา้ นมาชว่ ยกันทา - ควรประยุกต์นาเทคโนโลยีมาใช้เป็นสอ่ื มากขึ้น เพ่ือใหเ้ ห็นภาพมากขนึ้ 2) ระดับประถม - ควรมีสื่อการเรียนการสอนทหี่ ลากหลายมากขึน้ มีทัง้ วีดโิ อคลิป สอ่ื กิจกรรมตา่ ง ๆ ที่ช่วย กระตุ้นความสนใจ การเล่าเรื่องโบราณสถานและเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนกัน มีใบงาน และสอ่ื ออนไลนอ์ น่ื ๆ เช่น powerpoint google form ด้านแหลง่ เรียนรู้ ข้อมูลจากแบบสอบถามและสนทนากลุ่มยอ่ ย - ด้านการสนบั สนนุ ข้อมูลจากแบบสอบถามและสนทนากลุ่มย่อย - ควรสนับสนนุ ให้สอดคลอ้ งกับความพร้อมและความตอ้ งการของผเู้ รียน ประเดน็ อื่น ๆ ข้อมูลจากแบบสอบถามและสนทนากล่มุ ย่อย - 64

ขอ้ มลู จากการสมั ภาษณ์เชิงลึก  อาจารยป์ ิง เจริญศิรวิ ัฒน์ จากการประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ปิง เจริญศิริวัฒน์ (อาจารย์ปิง ดาวองก์) วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม 2564 เวลา 16.30 – 18.30 น. มีข้อคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย ภาพรวมของปัญหา ด้านตาราเรียน ดา้ นหลักสูตร ดา้ นครูผู้สอน ด้านการวดั และประเมินผล ด้าน การจดั การเรยี นการสอน รายละเอยี ดดงั น้ี  ภาพรวมปัญหาของรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ 1) คะแนนรายวิชาประวัติศาสตร์อยู่ในระดับต่ามาก จากคะแนน O-NET ในรายวิชาสังคมศึกษา ท่ีเน้ือหาข้อสอบต้องออกคละกันในวิชาภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศาสนา และประวัติศาสตร์ พบว่า คะแนนในสว่ นของศาสนา เด็กทาได้มากท่ีสุด คิดเป็นคะแนนประมาณ 45 คะแนน รองลงมาคือ หน้าที่ พลเมือง ภูมิศาสตร์ คิดเป็นคะแนนประมาณ 36 คะแนน เศรษฐศาสตร์ คิดเป็นคะแนนประมาณ 35 คะแนน โดยประวตั ศิ าสตรเ์ ด็กได้คะแนนนอ้ ยที่สุด เฉลี่ยแลว้ ไมเ่ กิน 30 คะแนน (ปี 61 = 29.68 ปี 62 = 28 คะแนน ปี 63 = 29.30 คะแนน) 2) ขาดการบูรณาการและเชอ่ื มโยงใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกันตัง้ แต่การพัฒนาหลักสูตร หนังสือเรียน การจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล และการพัฒนาครู เช่น หลักสูตรของไทยลดบทบาทและ ความสาคญั ของรายวิชาประวัตศิ าสตร์ เนอ้ื หาสาระของหนงั สอื เรยี นลดขอ้ มูลบุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ลง เช่น พระมหากษตั ริย์ พระราชวงศ์ บุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์ บุคคลสาคัญของประเทศไทย บุคคลสาคัญ ทท่ี าคุณงามความดี มคี ุณธรรม เสียสละเพอื่ ประเทศ เป็นตน้ ซ่ึงเป็นเนื้อหาสาคัญของการสรา้ งชาติ 3) ปัญหาอ่ืน ๆ ท่ีไม่เกี่ยวข้องทางตรงแต่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการเรียนการสอนในรายวิชา ประวัติศาสตร์ เช่น การนั่งในตาแหน่งของผู้บริหารระดับสูงยังไม่สอดคล้องกับความรู้และความเช่ียวชาญของ ตาแหน่ง เปน็ ต้น  สภาพปญั หารายดา้ นและข้อเสนอแนะ ผู้ทรงคุณวุฒิกล่าวถึงปัญหาและข้อเสนอเพ่ือการแก้ไขปัญหาที่มุ่งตรงประเด็นของการจัดการเรียนการ สอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ ได้แก่ 1) ดา้ นหนังสือเรยี น พบปญั หาสาคัญตัง้ แต่การผลิตหนังสอื เรยี นหลายสานักพิมพ์ หนังสือเรียนท่ี ไม่ได้มาตรฐานเพราะเนื้อหาเร่ืองเดียวกันแต่ให้ข้อเท็จจริงในรายละเอียดแตกต่างกัน รวมท้ังเน้ือหาของแต่ละ สานกั พมิ พไ์ ม่เหมือนกันและการไม่เข้าใจถึงจุดมุ่งหมายท่ีแท้จริงของตาราเรียน (การทาให้ผู้เรียนรู้) นอกจากนี้ เนื้อหาในตาราเรียนไม่ได้มีการให้ข้อมูลในลักษณะเร่ืองเล่า ทั้งๆ ท่ีวิชาประวัติศาสตร์เทคนิคสาคัญของการ จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ คือ การเล่าเรื่อง แต่หนังสือเรียนที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่ได้มีการไล่ ข้อมูลตามเหตกุ ารณ์ แตเ่ ปน็ เนื้อหาทรี่ ะบุผลลพั ธ์สดุ ทา้ ยของเร่อื งราว เชน่ สาเหตุของการเสียกรุงฯ ซ่ึงในความ เป็นจริงแล้วควรเล่าเรื่องราวต้ังราวแต่เร่ิมต้น จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและอยากเรียนรู้มากย่ิงขึ้น ยกตัวอย่างหนังสือเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ใส่รายละเอียดเน้ือหาสาระที่ผู้เรียนต้องรู้มากเกินไป และไมส่ าคญั เนื้อหาตาราเรยี นในบางสานกั พิมพไ์ ม่ไดม้ กี ารใสเ่ นือ้ หาของพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 9 พระพันปี หลวง บุคคลสาคัญของประเทศไทย บุคคลสาคัญที่ทาคุณงามความดี มีคุณธรรม เสียสละเพ่ือประเทศ ซึ่ง 65

หนังสือเรียนควรใส่ข้อมูลบุคคลสาคัญในการสร้างชาติก็ยังจาเป็นต้องคงไว้เนื่องจากเป็นแก่นสาระสาคัญของ การสร้างความเปน็ ชาติไทย ขณะทบี่ ุคคลทีท่ าคุณงามความดที ว่ั ไปกส็ ามารถทาได้  ข้อเสนอแนะ ท้ังประเทศควรใช้หนังสือเรียนเดียวกันและเป็นหนังสือเรียนท่ีได้รับการ ตรวจสอบ จากการเขียนอย่างถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญ เพ่ือให้เกิดความเป็นมาตรฐานของหนังสือเรียน โดย เนื้อหาสาระควรคงประวัติศาสตร์กระแสหลักไว้ มีรายละเอียดสาคัญท่ีผู้เรียนควรรู้เพื่อทาให้เด็กเห็นภาพ เกิด ความรู้ ความเข้าใจ แตไ่ มค่ วรใส่รายละเอยี ดเนือ้ หาสาระโดยละเอียดทุกเร่ือง เพราะเด็กจะไม่สามารถรับข้อมูล ได้ จากท่ีควรจะรู้ก็จะไม่รู้สักเร่ืองที่ควรรู้ และควรเพิ่มการเรียนประวัติของบุคคลที่ประสบความสาเร็จท่ีมี คณุ ธรรมและความอ่อนนอ้ มถอ่ มตน โดยปรบั วธิ ีการนาเสนอเนื้อหาใหม่เป็นการเล่าเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ ตามไลเ่ หตุการณ์และให้รายละเอยี ดพอให้ผเู้ รยี นเหน็ ภาพเพื่อได้มีโอกาสคิดวิเคราะห์ เน้ือหาควรเหมาะสมตาม วัยและระดับช้ันของผู้เรียน รวมถึงควรมีการให้ข้อมูล หรือ รายละเอียดของการศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม สาหรับประวัติศาสตร์กระแสรอง หรือ ประวัติศาสตร์ของท้องถ่ินนั้น ให้เป็นความสนใจของแต่ละบุคคลและ ของแต่ละทอ้ งถิ่นไป 2) ด้านครูผู้สอน พบปัญหาจากวิธีการสอนของครูผู้สอนที่ทาให้เด็กไม่อยากเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ คอื ครพู ดู เสยี งอยใู่ นลาคอ นา้ เสียงของครูเป็นโทนเดียวฟังแล้วน่าเบื่อ ไม่สามารถกระตุ้นความ สนใจของเด็ก การสอนของครูไม่มชี ีวิตชีวา รวมถึงไม่มีการเกริ่นนาก่อนสอนเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ครสู ่วนใหญไ่ มเ่ ขา้ ใจบทบาทของตนเองวา่ “ครู คือ ผ้ถู า่ ยทอด ผู้กากับ” ดังนั้น ครูต้องตระหนักเสมอว่า หน้าท่ี ของครูคือการทาให้ผู้เรียนเข้าใจในเร่ืองที่สอนและอยากท่ีจะเรียนรู้ โดยครูต้องมุ่งสอนประเด็นสาคัญของ เนื้อหาเพอื่ ใหผ้ ู้เรียนต้องรโู้ ดยไมต่ ้องให้รายละเอียดมากเกินไปจนละเลยประเด็นสาคัญ สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อ ความสนใจและความอยากเรียนของผเู้ รยี น  ข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มเติมในเรื่องของการอบรมและพัฒนาครู การมีคู่มือครู หรือ ตาราครู (มาตรฐานเดยี วกนั ท้งั ประเทศ) เพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ 3) ด้านการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล พบปัญหาต้ังแต่ต้นทาง คือ หลักสูตร และหนงั สอื เรียน สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อการจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล ปกติแล้วการจัดการ เรียนการสอนและการวัดประเมินผลจะต้องทาตามหลักสูตร แต่ประเทศไทยการจัดการเรียนการสอนกับการ วดั ผล ประเมนิ ผลไม่ได้เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน  ข้อเสนอแนะ กระทรวงศึกษาธิการจะต้องทาหลักสูตรให้ชัดเจน แยกออกระหว่าง ประวตั ิศาสตรห์ ลักและประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน โดยเด็กต้องเรียนประวัติศาสตร์หลักเพ่ือสร้างความเป็นชาติและ เรียนประวตั ิศาสตรท์ ้องถิ่นตามความสนใจ หลกั สตู รอาจแยกเป็นประวัติศาสตร์หลัก ประวัติศาสตร์เสริม (แบบ คณิตศาสตร์หลัก คณิตศาสตร์เสริม วิทยาศาสตร์หลัก วิทยาศาสตร์เสริม) หนังสือเรียนต้องมีความถูกต้อง ไดร้ บั การกลน่ั กรองจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้วก่อนนามาจัดพิมพ์เพื่อให้ครูใช้สอนเด็ก การวัดและประเมินผลเด็กครู จะตอ้ งวดั สง่ิ ที่เดก็ ควรจะรู้ตามท่ีเรียน อย่าออกข้อสอบในเรื่องที่ไม่มีท่ีมาท่ีไป การจัดการเรียนการสอนจานวน ช่ัวโมงในการจัดการเรียนการสอนพิจารณาให้เหมาะสมไม่ควรมาก หรือ น้อยจนเกินไป การศึกษาวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ควรจัดให้เป็นตัวเสริม เพราะในความเปน็ จริงแลว้ การเรยี นรู้ประวัติศาสตร์คือการเรียนรู้เร่ืองราว ผู้เรียนสามารถถ่ายทอด มีร่องรอยของการเรียนรู้ ถือได้ว่าประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอน เทคนิคสาคัญของการจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตร์ท่ีสาคัญคือ เน้นการเล่าเรื่อง ให้เด็กจดเพ่ือช่วยใน การจดจา มีการทบทวนเนื้อหาสาระที่ได้สอน และที่สาคัญที่สุด ครูต้องมีไหวพริบ มีจิตวิทยา มองเด็กในเชิง บวก ท้ังนี้ การเรียนการสอน การวัดประเมินผลแบบท่ีให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การทาใบงานที่ต้อง สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต ครูผู้สอนควรให้ขอบเขตท่ีชัดเจนท่ีชัดเจนแก่ผู้เรียนทุกครั้งก่อนให้ผู้เรียนไปศึกษาด้วย 66

ตนเอง ขณะท่ีสถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทศ. ต้องปรับการออกข้อสอบ ระดับชาติดว้ ย การเรียนวิขาประวัติศาสตร์คือการเรียนเพ่ือต่อยอดและพัฒนา การเรียนการสอนต้องเน้นจุดเด่น หรือ highlight ของเน้ือหาสาระแต่ละเร่ืองว่าคืออะไร ต้องเน้นให้เห็นชัดเจน อย่าหลงทางใช้วิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์เป็นเนือ้ หา จริงๆ แลว้ เดก็ ตอ้ งเรียนวิชาประวัตศิ าสตร์ไมใ่ ชเ่ รยี นวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์  อาจารย์พพิ ฒั น์ กระแจะจนั ทร์ จากการประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ วันอังคารท่ี 17 สิงหาคม 2564 เวลา 16.30 – 18.30 น. มีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบดว้ ย ภาพรวมของปญั หา ดา้ นตาราเรียน ด้านหลักสูตร ดา้ นครูผู้สอน ด้านการวัดและประเมินผล ด้าน การจดั การเรยี นการสอน รายละเอยี ดดังน้ี  ภาพรวมของปัญหา ปัญหาของวิชาน้ีอยู่ที่กรอบแนวคิด มโนทัศน์ หรือ concept ทางประวัติศาสตร์ที่เราต้องการหรือรับรู้ ต่างกัน เกิดช่องว่างระหว่างวัย หรือ generation gap ระหว่างกลุ่มเด็ก – ผู้ใหญ่ Generation x y กับ z เนอ่ื งจาก กลุม่ ผู้ใหญเ่ ดมิ มกั อย่ใู นคอนเซปท์ชาตินิยม เด็กอยู่ในกลุ่มหลังชาตินิยม ที่มองประชากรเท่าเทียมกัน รวมถึงการสอนประวัติสอนตาม timeline อาจเบ่ือและเล่ียงเร่ืองราวบางอย่างไม่ได้ นอกจากน้ี การเรียกร้อง ประวัตศิ าสตร์ท้องถิ่น แต่ขาดเรื่องราว โดยทางแก้ปัญหาควรทาประชุมเชิงปฏิบัติการผู้รู้ทุกภาคส่วนเพื่อสร้าง เนือ้ หา  ข้อเสนอเรื่องวชิ าประวตั ศิ าสตร์ การจะเปลยี่ นแปลงแนวทางหรือจัดรปู แบบการเรยี นการสอนใหม่จาเป็นต้องหาจุดสมดุลที่เป็นท่ียอมรับ ได้ท้ังผู้ใหญ่ หรือเด็ก หรือกลุ่มความคิดใหม่ ต้องประนีประนอมให้ได้ จะสอนใต้มโนทัศน์ใด ชาตินิยม หลัง ชาตินิยม หรืออีกทางเลือก อิงประวัติศาสตร์ท้องถิ่นพ้ืนที่ แนวคิดน้ีจะเป็นการให้พ้ืนที่ตัวตนของคนไปสู่การ สรา้ งชาติเหมือนหลายประเทศ 2.1 ด้านการเรยี นการสอน 1) เริ่มต้นจาก เน้นและส่งเสริมวิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการวิจัย ลดการสอน แบบไลต่ ามเหตกุ ารณ์ ให้เป็น multi linear history ท่ีเป็นการสอนที่ให้พ้ืนที่กับเรื่องรอง เช่น รัฐเล็กรัฐน้อยท่ี เปน็ ไทยในปัจจุบัน การให้เดก็ เหนือได้เรยี นประวตั ิศาสตร์ล้านนา 2) เด็กประถมจาเป็นที่จะต้องเรียนประวัติศาสตร์แบบลาดับเหตุการณ์ หรือ timeline เพ่ือวางพ้ืนฐานให้รู้ว่าประเทศไทยมีอะไรบ้าง โดยไม่ละเลยประวัติศาสตร์ท้องถ่ินเพ่ือให้พื้นที่ท้องถิ่นมีตัวตน เป็น muti-linear history แล้วค่อย ๆ เพิ่มหลักการ วิธีการทางประวัติศาสตร์ตามระดับช้ัน ส่วนระดับมัธยม เรียนแบบวิเคราะห์ วิพากษ์หลักฐานหลากหลายชุดท่ีมีเข้ากับการเรียนเป็นกรณีศึกษาหรือ problem base หรือเรียนกรณีศึกษาที่ให้เกิดแนวคิดการนาไปใช้ต่อในอนาคต เช่น เม่ือเกิดรัฐประหาร ทาไมถึงมีการเร่งฉาย พระนเรศวร ควรมีพื้นที่ debate หรือนาเรื่องสถานการณ์ชีวิตจริงมา debate เพื่อให้เร่ืองประวัติศาสตร์เป็น เร่ืองในชีวิตจริงท่ีใกล้ตัวทุกคน หรือใช้เร่ืองลอยกระทง เป็นเส้นเรื่องหรือเป็นลาดับเหตุการณ์เพ่ือสอนเป็น กรณีศกึ ษา 67

  1. สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ประวตั ศิ าสตรท์ ้องถ่ิน มีข้อมูลของวัฒนธรรมจังหวัด แต่อยู่ใน รูปเรื่องเล่าที่มีเนื้อหาไม่ชัดเจน ทาให้เนื้อหาท่ีมีกับกระบวนการเล่าที่ครูใช้ไม่ส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ส่งผลให้ทั้งครูพื้นที่และครูต่างถ่ินขาดความเข้าใจที่ชัดเจน ดังนั้น หากจะเริ่มการเรียนประวัติศาสตร์ท้องถิ่น อาจสร้างจากระบบการเรียนรู้ผ่านเทคนิคให้ค่อยๆ หาคาตอบไปตามกระบวนการ สร้างเน้ือหาท่ีอิง กระบวนการเรียนรู้ แต่ทัง้ นจ้ี าเป็นอยา่ งยิ่งทจ่ี ะตอ้ งสร้างเน้อื หาทีถ่ ูกต้อง ชัดเจน เพ่ือครูสามารถนาไปใช้จัดการ เรยี นการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4) กระทรวงศึกษาธิการ ควรมีฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ (Data base) ที่ ครู นักเรียน สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนท้ังรูปแบบเดิมและรูปแบบออนไลน์ เช่น ประวัติศาสตร์นอกตารา panorama เกา่ 5) ส่งเสริมการสอนเรื่องเปราะบางให้นักเรียนเข้าใจว่าเร่ืองผ่านไปแล้วเรียนเพ่ือเรียนรู้ รบั รยู้ อมรับมุมมองท่ตี า่ งไป เคารพผ้อู ื่น มองให้กวา้ ง เชื่อมโยงกับเรือ่ งที่ใหญ่กว่าเมืองไทย เหตุการณ์เร่ืองราวที่ เกยี่ วข้อง เชน่ การค้าโลก และ global citizen 6) หากลยทุ ธก์ ารสอนเด็กเก่ียวกับราชาชาตนิ ิยม ทาให้เดก็ และครูมอง วิเคราะห์ด้วยความ เข้าใจ เช่น อาจนารัชสมัยใดรัชสมัยหนึ่งมาเป็นกรณีศึกษาโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อลดกระแสความ กดดันและรนุ แรง 2.2 ด้านหนังสือเรียน ส่งิ ทส่ี าคัญทีส่ ดุ คือ การสงั คายนาหนังสือเรียนวิชาประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ โดยลดความซ้า ของเนอ้ื หาให้มากท่สี ดุ ต้องวางกลยทุ ธ์กับสานกั พมิ พเ์ ร่ืองของการจดั พิมพ์หนังสือเรียน เพราะหนังสือเรียนเป็น เครอื่ งมอื สาคญั ในการเรยี นการสอน โดย 1) กระทรวงศึกษาธิการต้องต้ังคณะทางานเพ่ือทา blue print หรือ ต้นแบบตารา โดย การทา blue print อาจต้องใช้เวลา 2-3 ปี ซ่ึงหนังสือเรียนที่เป็น blue print จะต้องเป็นคู่มือครูท่ีใช้ในการ จดั การเรยี นการสอน โดย 1.1) ประธานคณะทางานตอ้ งเป็นท่ียอมรบั ไม่จาเป็นต้องเป็นนักประวัติศาสตร์ แต่ ต้องมีความรู้ทางประวัติศาสตร์ มีความเป็นกลาง และเป็นผู้ใหญ่ท่ีทุกฝ่ายให้การยอมรับ สามารถเป็นผู้นาใน การนา blue print ไปสูก่ ารปฏบิ ัตจิ รงิ ได้ 1.2) องค์ประกอบของคณะทางาน ประกอบด้วย นักโบราณคดี นักมานุษยวิทยา นกั ประวัตศิ าสตร์ อาจารย์มหาลัย นักการศึกษา/นักจิตวิทยาการเรียนรู้ของเด็ก ผู้แทนสานักพิมพ์ ผู้จัดทาสื่อ/ อปุ กรณ์ 1.3) เน้ือหาควรแบ่งตามยุคสมัย นักโบราณคดีหรือนักประวัติศาสตร์ ก็มีความ เชี่ยวชาญหรือความถนัดตามยุคสมัย อาจใช้ความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยเป็นแกนของการทาหนังสือ บน พื้นฐานความตระหนักวา่ ประวัตศิ าสตร์เปน็ ศาสตร์ ไมใ่ ช่พงศาวดาร 2) หนังสือเรียนท่ีใช้สอนเด็กประถมและมัธยม เน้นเนื้อหาตามความสาคัญ และนาไปสู่ การจดั การเรียนการสอนตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ง่าย รายละเอียดครบแต่ไม่ต้องใส่รายละเอียดให้มาก จนเกนิ ไป เช่น การเรยี นการสอนเกี่ยวกับราชวงศก์ อ็ าจไมต่ ้องเรียนทกุ รัชสมัย แตน่ ามาใส่ในหนังสือบางรัชสมัย ท่สี าคญั และเน้นการสอนแบบกรณีศกึ ษาเพอื่ อยูร่ ่วมกันได้ 3) การทาหนังสือเรียนประวัติศาสตร์จะต้องมีรายงานการวิจัยแบบละเอียดเพ่ือสนับสนุน การทาหนังสือเรียนใหม่ หนังสอื เรยี นทเี่ ป็น blue print อาจมีชดุ หลักฐานแพ็คเกจ database ให้ครูดึงไปใช้ใน การสอนได้ (historical fact ไม่เปล่ยี น) 68
  1. ทา pilot project ทดลองใช้หนังสือเรียนร่วมกับหลักสูตรใหม่ (ถ้ามี) ช่วงสั้นๆ เป็น ตัวอยา่ งตน้ แบบการใช้งาน 1 ห้อง 1 เทอม 2.3 ดา้ นขอ้ สอบ 1) ต้องปลดล็อคข้อสอบ ให้มีประวัติศาสตร์ท้องถ่ินด้วย ข้อสอบควรผสมข้อเท็จจริงจาก ปรนยั สง่ ต่อไปวเิ คราะหอ์ ตั นัย เรยี นอย่างไร ออกข้อสอบอย่างนนั้ 2) ทดลองการประเมินข้อสอบ 2-3 หวั ขอ้ แบ่งกลมุ่ ชั้นเรียน  ตัวอย่างการเรยี นในต่างประเทศ 1) จีน รัฐให้ความสาคัญกับการปลูกฝังมาก นักเรียนจีนรู้ประวัติศาสตร์ดีมาก มีแหล่งเรียนรู้ รองรบั เขา้ ถึงได้ ใช้ตน้ ทนุ ทางสังคม ชมุ ชนเปน็ ฐาน 2) อังกฤษ ใช้การเรยี นแบบยกกรณีศึกษา เรอื่ งเล่าในทอ้ งถน่ิ เรียนรู้การวิพากษ์ ใช้ข้อมูลรอบตัว เป็นจัดการทัศนศึกษาแบบให้นกั เรียนได้ตัง้ คาถาม  แนวโน้มการจดั การเรยี นการสอนประวัติศาสตร์ อาจมีการประยุกต์กับศาสตร์อื่นมากข้ึน สื่อ การ คดิ สร้างสรรค์  อาจารย์เฉลมิ ชัย พนั ธเ์ ลิศ จากการประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์เฉลิมชัย พันธ์เลิศ วันพุธที่ 18 สิงหาคม 2564 เวลา 16.30 – 18.30 น. มีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย ภาพรวมของปัญหา ด้านตาราเรียน ด้านหลักสูตร ด้านครูผู้สอน ด้านการวัดและประเมินผล ด้านการจัดการ เรยี นการสอน รายละเอยี ดดังน้ี  ภาพรวมปญั หาของรายวิชาประวัติศาสตร์ 1) การจัดทาหลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์ไม่มีงานวิจัยรองรับ สมัยก่อนหน่วยงานที่ทาหลักสูตร และหนังสือเรียนคือ กรมวิชาการ แต่เมื่อมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กรมวิชาการถูกยุบ ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีจาก 200 คน เหลือเพียง 20 คน เพราะมีการโยกย้ายไปอยู่หน่วยงานอ่ืน เช่น มหาวิทยาลัย ดังน้ัน การศึกษาในปัจจุบันที่ใช้หลักสูตรปี 2551 ซึ่งจริง ๆ แล้วก็คือ หลักสูตรการศึกษาขั้น พ้ืนฐานปี 2544 ที่ได้ปรับปรุงในรายละเอียดจากเน้นเน้ือหาเป็นอิงมาตรฐาน ดังน้ัน หลักสูตรจึงเขียนขึ้นจาก การใช้ทฤษฎีอ้างอิง ประสบการคณะทางาน ไม่มีการนาข้อมูลที่ได้ติดตามตรวจสอบในแต่ละช่วงที่ผ่านมา ประกอบการเขียนหลักสูตรเพ่ือปรับใช้ให้เหมาะตามสภาพในปัจจุบัน และเหตุผลอีกประการ คือการทางาน แบบแยกฝ่าย การส่งมอบงาน ไม่ได้เกิดการทางานประสานกันตง้ั แต่ต้น 2) จากหลักสูตรท่ีเน้นการการสร้างมาตรฐาน จึงเกิดอุปสรรคไม่พ้นกรอบเน้ือหาและการวัด ประเมนิ ไมส่ ามารถออกนอกกรอบไดม้ ากกวา่ น้ี 3) คาอธิบายหลักสูตรไม่ชัด เช่น จุดประสงค์รายวิชา 4.1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ 4.2 ประวัตศิ าสตรส์ ากล และการพัฒนาการมนุษย์ 4.3 ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย โดยหลักสูตรไม่อธิบาย ต้องเอา 4.1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ไปใช้ในบทต่อ ๆ ไป ครูเลยสอนแยก ไม่ได้สอนให้ประยุกต์ใช้ประกอบ และ หลักสูตรท่ีเน้นเน้ือหา/การวิจัยในมหาลัยเป็นหลัก โดยอาจารย์แต่ละท่านถนัดคนละด้าน จึงเกิดมุมมองคนละ ทิศทาง เขา้ ใจหลกั ฐานคนละมุมมอง 69
  1. สื่อการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ที่ดีอยู่ภายใต้กระทรวงวัฒนธรรม ทาให้เกิดปัญหาใน การนาสอ่ื มาใช้ เพราะกระทรวงวัฒนธรรมมุง่ เก็บอย่างเดยี วไม่แชร์ในวงการการศึกษา 5) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานมี obec contents center เกิดปัญหาติด ลิขสิทธ์ิตา่ ง ๆ เผยแพร่ไม่ได้  ข้อเสนอ 1) จัดทาหลักสูตรฐานสมรรถนะ เพื่อแก้ปัญหาของการจัดทาหลักสูตรท่ีไม่มีเจ้าภาพหลัก (สถาบันพฒั นาหลกั สตู ร) และปญั หาอิทธพิ ล การเมอื งแทรกแซงการทางาน การทางานไม่ต่อเนื่อง และที่สาคัญ หลกั สตู รฐานสมรรถนะจะต้องแปลงเนื้อหาเป็นมโนทัศน์หลัก มุ่งสร้างมโนทัศน์หลัก ถือเป็นภาพกรอบแนวคิด หรือ Big Idea ซ่ึง Big Idea คือ มโนทัศน์สาคัญ การเข้าใจบริบทในอดีต และปัจจุบัน ไม่ตัดสินยุคนั้น ๆ และ การทราบถงึ เหตุการณท์ ีส่ ง่ ผลกระทบจากอดีตมาปัจจุบัน (historical significant) ให้การเรียนรู้เกิดมโนทัศน์น้ี มีวิสัยทัศน์ร่วม สอดคล้องหลักสูตร สมรรถนะ และการปรับตามโครงสร้าง (เป็นงานยากเน่ืองจากต้องมีการ monitoring และใชข้ อ้ มูลมาประกอบการปรบั เปลี่ยนหรือการจัดทาหลักสตู รด้วย) 2) โครงสร้างของหลักสูตรควรจะต้องกาหนดวิสัยทัศน์ให้ชัด ใช้ภาพของคนเป็นแกน คุณค่าของ ประวัติศาสตร์ จะเพ่ิมคุณค่าของคนอย่างไร แก่นการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ (โดย อาจารย์เฉลิมชัย หารือกับ อาจารย์วินัย) เรียนเพ่ือเป็นนักคิด เป็นปัญญาชน มีเหตุผลถกเถียงได้ เป็นการสร้างคุณลักษณะของนัก ประวัติศาสตร์ที่ไม่เชื่ออะไรง่าย ๆ ซ่ึงหลักสูตรสมรรถนะจะสามารถตอบโจทย์ปัจจุบัน ใช้ความรู้วิชา ประวตั ิศาสตรใ์ นการประกอบวชิ าชพี จริงได้ โดยแบ่งเกณฑ์ตามบรบิ ทชว่ งวัยของผเู้ รียน 3) การจัดการเรียนการสอน ครูควรนาหลักการวิธีการทางประวัติศาสตร์มาประยุกต์ใช้โดย ยกตัวอย่างของต่างประเทศ กรณีใช้หลักฐานจริงจากร่างกายของมนุษย์มาใช้ในการสอนหลายมิติ หลายวิชา เพอื่ หาขอ้ สรปุ ทีแ่ ตกตา่ งกัน สง่ิ ทไี่ ดค้ อื กระบวนการคดิ วิพากษ์ สบื คน้ จากหลักฐาน 4) การเรียนประวัติศาสตร์ระดับประถมควรเรียนเป็นไล่ตามลาดับเหตุการณ์ระดับมัธยมเรียน แบบถกเถยี งตามชุดหลักฐาน 5) การเรียนประวัตศิ าสตร์ซ่ึงมีเน้ือหาท่ีหลากหลาย ต้องเรียนแบบเรียนรู้ความผิดพลาดของอดีต โดยใชว้ ิธกี ารทางประวัตศิ าสตรว์ ิเคราะห์ ถกเถยี ง เปน็ กรณีศกึ ษา 6) กระทรวงศึกษาธิการโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานทาข้อตกลงความ ร่วมมือ หรอื MOU กบั กรมศลิ ปากร เพ่อื ให้สมารถนาส่อื มาใชไ้ ด้ 7) รฐั บาลตอ้ งลงทุนและจัดการเรื่องส่ืออย่างเป็นระบบ รวมท้ังเร่ืองฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ต้องมีการใช้และติดตามเก็บไว้เป็นข้อมูล โดยศึกษาตัวอย่างท่ีดีจากต่างประเทศเพิ่มเติม เช่น ประเทศ นวิ ซีแลนดท์ ม่ี ีเวบ็ ไซต์ดี ๆ 8) การพัฒนาหลักสูตร หนังสือเรียน ควรมีคณะทางานหลายส่วนเข้ามาร่วมดาเนินการ เช่น นัก ประเมิน ผู้จัดการเรียนการสอน คนจัดทาหลักสูตร หนังสือเรียน สานักพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ ฯลฯ ทุกฝ่าย ตอ้ งเข้ามารว่ มดาเนินการ 9) สร้างแหล่งเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ที่ทางานร่วมกัน รัฐร่วมลงทุนจัดการสื่อ ได้ผลประโยชน์สองฝ่าย รัฐได้ข้อมูล และตอ่ ยอดรายได้ 10) ใช้ยุทธศาสตร์ป่าล้อมเมืองในการดาเนินงาน หาจุดร่วมตรงกลางให้ได้ (ส่วนท่ีต้องเก็บรักษา ต่อก็คงไว้ ส่วนที่ปรับก็สร้างเพ่ิม) ตอบรับ การผสมผสาน การอยู่ร่วมกัน รวมทั้งเชียร์ให้เกิดชมรมเครือข่ายครู ใหเ้ กิดขน้ึ มีพเี่ ล้ียงไปชว่ ยให้เกิดจริง 9) ปัจจยั ทีส่ ่งผลสาเร็จ คอื 70

9.1) collective teacher efficacy หรือเรียกว่าเครือข่ายครู (เช่น ครูขอสอน อาสาสอน ฯลฯ) 9.2) มีข้อมูลพ้ืนฐาน การเก็บข้อมูล (solid foundation) ท่ีสามารถยกระดับไปเป็น หลักสูตรได้ 9.3) การทางานเชิงโครงสร้างตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับใหม่ จะมี สมัชชาการศกึ ษาจงั หวดั ใหส้ มัชชาการศกึ ษาจงั หวดั เป็นเจ้าภาพประวัตศิ าสตร์ในระดับท้องถนิ่ 9.4) การทางานลักษณะแบบค่ขู นาน โดย (1) การทาวิสัยทัศน์ให้ชัด การดึงคุณค่าประวัติศาสตร์การพัฒนาคน เพิ่มคุณภาพ อะไร อย่างไร (2) มองคนเป็นพลเมืองต่าง ๆ ประวัติศาสตร์ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันยังไง (ระดับ เมือง ระดับประเทศ ระดบั ภมู ิภาค ตลอดทัง้ ระดับโลกดิจทิ ลั ) ฝกึ การสร้าง platform ปรับ mind set ของคน (3) เสนอ concept โดยระดับหน่วยงานคิดแทนและนาไปใช้ก่อน โดยยึด key concept / big idea เด็กเล็กเรียนอะไร เด็กโตเรียนอะไร ใหเ้ ป็นมาตรฐาน (4) ใช้หลัก 4c Continue (เป็นการขยายความโดยใช้ของเก่าเป็นพ้ืนฐาน ไม่ตัดสิน ถูกต้อง) Combine (การรวบรวมผสมผสาน) Collect (การรับโดยไม่ตัดสินและรับในมุมมองต่าง ๆ เพื่อ ประโยชน์ ) Create (เติมมลู คา่ เพ่มิ ) ตอบโจทยส์ มรรถนะ เด็กพัฒนาตาม key concept ขอ้ มลู จากการประชุมมหกรรมการศกึ ษาไทย หวั ข้อ ขอ้ เสนอการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตร์ ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน: ความเขา้ ใจ ความเชื่อ หรอื ความม่ันคง 1) ชอื่ หวั ขอ้ การประชมุ ข้อเสนอการจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน : ความเข้าใจ ความเช่ือ หรือ ความม่ันคง 2) รายชอื่ วทิ ยากรท่เี ข้ารว่ มการประชุม 2.1) ดร.เฉลิมชยั พนั ธเ์ุ ลิศ ผ้อู านวยการสถาบนั สงั คม สพฐ. 2.2) รศ.ดร.ปรีดี พิศภูมิวิถี อาจารย์ประจาสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล 2.3) ผศ.ดร.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ อาจารย์ประจาสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2.4) ว่าที่เรอื ตรีธนวรรธน์ สุวรรณปาล ครูผสู้ อน โรงเรียนราชดาริ 2.5) นายภาคนิ นิมมานนรวงศ์ ครผู ู้สอน โรงเรยี นกาเนดิ วทิ ย์ 3) สรุปสาระสาคญั ของการประชุม (ทไ่ี ด้จากการเสวนาของวทิ ยากร) สรปุ สาระสาคัญจากการประชมุ โดยลาดบั ตามรายชือ่ วทิ ยากร ดงั นี้ 3.1) ดร.เฉลิมชยั พันธเุ์ ลศิ กลา่ วประเด็นสาคญั ที่เกีย่ วขอ้ งกับหลกั สูตร ดังนี้ การจดั ทาหลกั สูตร พฒั นาการที่สาคัญของหลักสูตรเกิดขึ้นภายหลังประกาศใช้พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ซ่ึงได้มีการกระจายอานาจไปสู่สถานศึกษาให้สามารถจัดทา “หลักสูตรสถานศึกษา” ปัจจุบันการ พฒั นาหลกั สูตรกาลังปรับเปลี่ยนสู่ “หลักสูตรฐานสมรรถนะ” (Competency Based Education) ผู้เรียน 71

ควรทาอะไรได้ What student should do? มุ่งเน้นการนาไปใช้ประโยชน์ของผู้เรียนเป็นหลัก ปรับองค์ ความรู้ไปสู่การนาไปใช้ได้จริง (Action) ในอดีตการจัดทาหลักสูตรอยู่ในลักษณะเส้นตรง ใช้ต่อเน่ืองยาวนาน (เฉลี่ย 20 ป)ี อานาจในการปรับหลักสูตรมาจากศนู ย์รวม ขาดการศกึ ษาวจิ ยั ปรับครั้งเดียวท้ังเล่ม ผลสาเร็จคือ การมีเอกสารเล่มใหม่ แต่มาภายหลังได้มีความพยายามปรับเปลี่ยนหลักสูตร โดยมองในหลากหลายมิติ มี การศึกษาวิจัยการใช้หลักสูตร ติดตามผลการใช้หลักสูตรทันทีที่เร่ิมมีการนาไปใช้ ท้ังจากครู รูปธรรมใน หอ้ งเรยี น การวดั และประเมินผล ประมวลผลนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตร ซึ่งต้องอาศัยฐานข้อมูลจานวนมากใน การพัฒนา เน้นการกระจายอานาจและการมีส่วนร่วม ผู้เรียนต้องได้คุณภาพ ไม่ใช่แค่ผลผลิตอยู่ในรูปเล่ม เอกสารอยา่ งสมยั กอ่ น ปัจจบุ ัน การนาไปสู่ หลักสูตรฐานสมรรถนะ ต้องเตรียมผู้เรียนสาหรับการทางานท่ียังไม่เกิดข้ึน โดยใช้ เทคโนโลยีท่ียังไม่ได้สร้างเพื่อแก้ปัญหาที่ยังไม่รู้ว่าคืออะไร ทิศทางการพัฒนาพลเมืองของโลก มุ่งเน้นการเป็น พลเมืองที่รับผิดชอบ มีส่วนร่วมและมีความยุติธรรม สาหรับในแง่ของมิตินอกจากมิติของการเป็นพลเมือง ท้องถิ่นแล้ว ในขณะเดียวกันบุคคลก็เป็นพลเมืองของประเทศไทย พลเมืองอาเซียน พลเมืองโลก (รวมถึงโลก ออนไลน์) ดังนั้นแนวคิดพหุสังคมนิยมที่สามารถอยู่ท่ามกลางความหลากหลายจึงมีความจาเป็นมากในยุค ปัจจุบนั แกนสาคญั ของ หลักสตู รฐานสมรรถนะ เน้นสมรรถนะท่ีผู้เรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย ขา้ มวิชาไดไ้ ม่ติดกบั เน้ือหาโดยเฉพาะ จึงจาเป็นต้องมีสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ การจัดการตนเอง การสื่อสาร การคิดข้ันสูง การรวมพลังทางานเป็นทีม การเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง การอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการ อย่างย่ังยืน ซึ่งในวิชาประวัติศาตร์ด้วยเช่นกันท่ีมีทั้งความรู้เชิงความจริง ความรู้เชิงกระบวนการ เชิงทฤษฎี เป็นต้น ท่ีจะต้องกาหนดกรอบตามสมรรถนะหลักให้ชัดเจน และในแง่การนาความรู้ประวัติศาสตร์ไปใช้ ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งไร ท้งั ในการทางาน การดาเนนิ ชีวติ การเผชิญสถานการณ์ การแก้ปัญหา หรือการสร้างสรรค์ สิง่ ตา่ ง ๆ  การตอบประเด็นคาถาม “ในกรณีท่ีแนวคิดของหลักสูตรระดับชาติและหลักสูตรระดับท้องถิ่นมี ความขดั แยง้ กัน ในมมุ ของผู้จัดทาหลกั สตู รจะทาอย่างไรให้เกิดหลกั สตู รสถานศึกษาทลี่ งตวั ได้” อาจารย์เฉลิมชัยให้คาตอบว่า “กระบวนการพัฒนาหลักสูตร (ตัดสินใจ รับผิดชอบ มุมมองหลายมิติ) ต้องอาศัยกลไกเชิงโครงสร้างในรูปแบบของคณะกรรมการ อาทิ คณะกรรมการระดับชาติการรับฟังความ คิดเห็น คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการและบริหารหลักสูตรระดับสถานศึกษา เพราะฉะนน้ั โดยตัวของหลกั สูตรเองจะมีลักษณะของความเป็นพลวัตรท่ีปรับได้ เมื่อหลายส่วนหลายฝ่ายหลาย มมุ มองมาช่วยกันดู โดยกลไกเชิงโครงสรา้ งแลว้ ก็เอ้ือให้เกดิ ความสมดุลได้” 3.2) รศ.ดร.ปรีดี พศิ ภมู ิวถิ ี สรุปใจความสาคญั ดังน้ี หน่วยงานหลักท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ยังคงขับเคล่ือนและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ต้องนาข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่ได้รับ ส่งต่อไปยังหน่วยงาน ระดับนโยบายท่ีมีอานาจสั่งการ โดยจะต้องเน้นย้าให้ผู้มีอานาจส่ังการเข้าใจและตระหนักถึงในเร่ือง 1) การ ส่งเสริมระบบการจัดการเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตร์ และ 2) เนื้อหา / กระบวนการทางประวัติศาสตร์ เมื่อสอนหรือเม่ือเรียนวิชาประวัติศาสตร์แล้วจะต้องปล่อยวางให้ได้ ไม่มีอคติ และไม่มีความแข็งกร้าวทาง วชิ าการ โดยจะตอ้ งสามารถพดู คุย / แลกเปลยี่ น / โตแ้ ย้งได้ 3.3) ผศ.ดร.พพิ ฒั น์ กระแจะจันทร์ สรปุ ใจความสาคญั ดังนี้ ผศ.พิพัฒน์ ให้ความเห็นว่า การสอนประวัติศาสตร์ กระบวนการสาคัญกว่าเน้ือหา สมัยก่อน การสอนประวัติศาสตร์แบบชาตินิยมหรือราชานิยมเป็นสิ่งท่ีเข้ายุคเข้าสมัย เพราะในช่วงน้ันยังต้องการสร้าง ความคิดร่วม รวมพลัง แต่เม่ือยุคสมัยเปล่ียน สังคมเปล่ียนไป มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทุกคนสามารถเข้าถึง 72

ข้อมูล ส่งผลให้ปัจจุบันประวัติศาสตร์เร่ิมถูกต้ังคาถามและต้องการความหลากหลายมากขึ้น การสอน ประวัติศาสตร์ที่เน้นชาตินิยมมากเกินไปอาจสร้างความเกลียดชังหรืออาจเป็นเคร่ืองมือในการสร้างความชอบ ธรรมให้คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพราะเป็นการสอนด้วยข้อมูลชุดเดียวหรือกล่าวถึงกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดียว จึงควร ปรบั เปล่ยี น โดยใหค้ วามสาคญั กบั คนทกุ กล่มุ ซงึ่ มีคนช้นั ปกครองเปน็ สว่ นหนึ่งในนนั้ สาหรับแนวทางการสอนประวัติศาสตร์ควรปรับเปล่ียนเป็นเชิง concept หรือให้แนวคิด ไม่ใช่เน้น เพียงการเล่าเร่ืองว่าเหตุการณ์เป็นอย่างไร ควรนาวิธีทางประวัติศาสตร์มาใช้ รวมถึงเปิดโอกาสให้คิดวิเคราะห์ วิพากษ์มากข้ึนเพราะการเรียนประวัติศาสตร์สามารถช่วยพัฒนาการคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจ จินตนาการ ทั้งยังสามารถเช่ือมโยงกับศาสตร์สาขาอ่ืนที่เก่ียวข้องได้ ไม่ว่าจะเป็น “โบราณคดี” ท่ีสามารถนาวิธีการทาง โบราณคดีมาใช้หาข้อมูล หลักฐานในสมัยก่อนและสามารถศึกษาจากโบราณวัตถุ โบราณสถาน “มนุษยวิทยา” ท่ีทาให้เข้าใจความหมายของชาติพันธุ์ ผลกระทบของชาติพันธุ์ท่ีมีบางกลุ่มมีอานาจนา บาง กลมุ่ เปน็ ผตู้ าม “วรรณคดี” ในวรรณคดีมกั มเี ร่อื งเลา่ ท่ีเช่ือมโยงกับประวัติศาสตร์และผูกโยงความคิดของคนใน สังคม “ภูมิศาสตร์” ท่ีทาให้ทราบสภาพภูมิประเทศ ท่ีตั้ง ขอบเขตดินแดน ซ่ึงช่วยให้เข้าใจเหตุการณ์หรือการ ตัดสินใจของคนสมัยก่อนมากข้ึน เป็นต้น “การต้ังคาถาม” เป็นอีกวิธีที่ควรนามาใช้สอน และควรเชื่อมโยงให้ เห็นว่าประวัติศาสตร์ไม่ใช่เร่ืองไกลตัว ควรสอนเรื่องท่ีใกล้ตัวเก่ียวข้องกับวิถีชีวิตมากขึ้น เช่น เร่ืองความ เป็นอยู่ การเพาะปลูก สิ่งแวดล้อม การปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น การเปล่ียนแปลงจากสังคมชนบทเป็นสังคม เมือง ปรากฏการณ์ทางการเมือง การเกิดข้ึนของ SME สภาพสังคมท่ีเกิดจากสื่อต่าง ๆ เช่น เกม ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจ และสามารถนาบทเรียนในอดีต มาปรับใช้ในอนาคต การสอน ประวัติศาสตร์แบบเดิมจะได้พลเมืองที่เช่ือง แต่ถ้าปรับการสอนแบบใหม่ เน้นให้คิดวิเคราะห์ จะได้พลเมืองท่ี คดิ เป็น มีคณุ ภาพมากขน้ึ 3.4) วา่ ทเ่ี รือตรีธนวรรณ์ สวุ รรณปาล เริ่มต้นด้วยการต้ังคาถามเพ่ือเปิดประเด็นโดยมีการเชื่อมโยงกับ การศึกษาวิจัยท่ีวา่ ...จากงานวิจยั พบประเด็นทน่ี า่ สนใจเรื่อง ตาราเรียน ในประเด็นของความถูกต้อง ต้องมีการ ทบทวนว่าเป็นความถูกต้องของใคร ใครจะเป็นคนกาหนดว่าส่ิงใดถูกต้อง ส่ิงใดใช่หรือไม่ใช่ และเน้ือหาใดควร ถูกระบุไว้ในตาราเรียนวิชาประวัติศาสตร์ รวมถึงเน้ือหาของประเด็นการสนทนาในวันนี้ ท่ีต้องกลับมาทบทวน ว่า ความมั่นคงนัน้ หมายถึงความมั่นคงของใคร รวมถึงการให้ข้อคิดเห็นว่า หากประวัติศาสตร์มีการขัดแย้งกัน เกิดความขัดแย้งระหว่างชาติและท้องถิ่น หลักฐานมีการขัดแย้งกันจะทาอย่างไร นอกจากนี้ กล่าวถึง ประวัติศาสตร์ในแง่ของการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงเม่ือลองพิจารณาทบทวนแล้วน้ัน การเปลี่ยนแปลงเกิดจากความ ขัดแย้ง ถ้าไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้นก็ไม่นาไปสู่ความเปล่ียนแปลง ความขัดแย้งถือเป็นสิ่งท่ีดี นาไปสู่การต้ัง คาถามและเปล่ียนแปลงส่ิงท่ีเกิดข้ึนในสังคม ซึ่งการมองประวัติศาสตร์ในลักษณะน้ี เรียกว่า การมอง ประวัตศิ าสตร์แบบวิภาษวธิ ี การทาความเข้าใจประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มีหลายรูปแบบ เช่น ประวัติศาสตร์สนใจความ เปล่ยี นแปลง โดยเฉพาะทมี่ คี วามหมายต่อปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ไม่ใช่ปริศนาตัดต่อ ความรู้ประวัติศาสตร์เพ่ือ หาบทเรียน หรือความรู้ประวัติศาสตร์เพ่ืออธิบายว่าเรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร ดังน้ัน ประวัติศาสตร์ท่ีพึง ปรารถนา ควรเป็นการเรียนรู้เพื่อยกระดับศักยภาพความคิดอย่างน้อยในสองมิติควบคู่กัน คือ ความสัมพันธ์ ของหลักฐานและข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพ่ืออธิบายการเปล่ียนแปลงทางสังคมและเห็นข้อเท็จจริงและปัจจัยต่าง ๆ ในบรบิ ทการเปล่ียนแปลง เชื่อมโยงไปสู่เร่ืองของอานาจและใครจะเป็นคนกาหนดชุดความคิดหลัก นอกจากนี้ หัวใจสาคญั คอื การทาความเข้าใจถึงหลักฐานและเชื่อมโยงกับความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น เมื่อมองผ่านบริบท ท่ีเปล่ียนแปลงไปเราจะมองอย่างไร ซ่ึงแน่นอนว่าเราไม่สามารถเรียนรู้ประวัติศาสตร์ได้ท้ังหมด เรารู้ส่วนหน่ึง ของอดีต รู้เพียงส่วนหนง่ึ ของการเปล่ียนแปลง และความรู้เหล่านั้นได้กลายเป็นอุดมการณ์ทางประวัติศาสตร์ท่ี กาหนดพฤติกรรม การกระทา กิจกรรม เทศกาล กิจวัตรประจาวัน ย่ิงไปกว่าน้ัน ความรู้ส่วนใหญ่ท่ีถ่ายทอดใน 73

สถานศึกษา เป็นความรู้ท่ีเป็นทางการ และเป็นการเมืองความรู้ ชุดของความรู้ ครูหลายคนจึงพยายามจะหา วิธีการถ่ายทอดความรู้ แต่ในชั้นเรียนไม่ถูกทาให้เกิดพ้ืนท่ีของการยื้อแย่งช่วงชิง การรักษาอานาจของกลุ่มคน ช้นั หลงั ไว้ ทั้งในรูปแบบของเนอื้ หา หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมินการเรียนการสอน ซ่ึงคือการรักษา อานาจครอบงาของกลุ่มและชนชั้นหลักไว้ สาหรบั การสอนและผสู้ อน ในแง่ความหมายของการสอน การสอนหมายถึง การถ่ายทอด การอบรมขัด เกลา การสนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นเรียนรู้ การสร้างการเปล่ยี นแปลงทัง้ ระดับบคุ คลและสังคม การสนับสนุนให้ผู้เรียน ค้นพบตัวเอง ทั้งนี้ ครูผู้สอนจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องทบทวนกับตัวเองว่า กระทาการอยู่บนความเชื่ออะไร พ้ืนฐานทางปรัชญาอะไร ให้น้าหนักกับอะไร เช่น ถ้าให้ความสาคัญกับผู้เรียน ห้องเรียนก็จะเทน้าหนักไปท่ี ผู้เรียน ซึ่งการเรียนการสอนต้ังอยู่บนปรัชญาพื้นฐาน ได้แก่ สารัตถนิยม นิรันตรนิยม พิพัฒนาการนิยม ปฏิรูป นิยม อัตถิภาวนิยม ครูผู้สอนเองมองออกหรือไม่ ว่าเราตั้งอยู่บนความเชื่อแบบไหน ส่ิงที่เราทาสอดคล้องไป ด้วยกันหรือไม่ นอกจากนี้ ประวัติศาสตร์เป็นส่วนหน่ึงของวิชาสังคมศึกษา และวิชาสังคมศึกษามีหัวใจสาคัญ คอื การสรา้ งพลเมอื ง ดังนน้ั เราควรตระหนกั เปน็ อยา่ งยิ่งว่า เรากาลังสร้างพลเมืองแบบไหนขึ้นในช้ันเรียนของ เรา ผูเ้ รยี นของเราตัง้ คาถามหรอื ไม่ ยกตวั อย่างการเรยี นการสอนในวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ การสอนผ่านเน้ือหาประวัติศาสตร์ การสอน ผ่านประเด็นทางสังคม historical thinking, historical empathy และ reasoning process รวมถึงทักษะ ทางประวัติศาสตร์ที่ครูควรสอน ได้แก่ ทักษะการหาแหล่งท่ีมา ทักษะการทาความเข้าใจในบริบท ทักษะการ ยืนยันหลักฐาน และทักษะการอ่านอย่างละเอียดเพื่อตีความ ตัวอย่างการสอนในรูปแบบบรรยาย มีกลยุทธ์ใน การสอน ดังน้ี close reading, create representation, critique reasoning, debate, debriefing, discussion groups, fishbowl, graphic organizer, guided discussion, jigsaw, look for a pattern, making connection, match claims and evidence, questioning a source, quickwrite, self/peer revision, socratic seminar กล่าวโดยสรปุ คอื การสอนวชิ าประวตั ิศาสตรค์ วรมงุ่ เน้นให้ผู้เรียนต้ังคาถาม เกิด การคดิ วเิ คราะหจ์ ากหลกั ฐาน ทาใหผ้ เู้ รยี นสามารถเชอ่ื มโยงกับสิง่ ท่อี ยใู่ กลต้ ัวผูเ้ รียน ชีวิตประจาวัน นาไปสู่การ อภปิ รายและสรุปการเรียนรู้ร่วมกัน 3.5) นายภาคนิ นิมมานนรวงศ์ สรุปใจความสาคัญ ดังน้ี ปัญหาของเราทุกคน ตลอดมาที่เราสอน เราไม่เคยสอนให้ตั้งคาถาม ประวัติศาสตร์มีวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ท่ีดี สอนอย่างไร เรียนไปทาไม เม่ือก่อนสอนประวัติศาสตร์บนฐานความเช่ือ ต้องออกแบบการสอนใหม่ เลิกวางการสอนประวัติศาสตร์ด้วยการสอนให้เช่ือ แต่ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ สอนให้สามารถต้ังคาถาม สอนให้คิดวิเคราะห์หาหลักฐานก่อน แล้ววิเคราะห์ตีความต่อ หาหลักฐานเมื่อเรา สงสัย สอนให้คนมุ่งหาความจริง แต่ต้องอยู่บนพ้ืนฐานของการรับฟัง เน่ืองจากเร่ือง ๆ เดียวกันมุมมองของแต่ ละคนขน้ึ อยกู่ บั ประสบการณ์ ควรใช้ประวัติศาสตร์ในฐานะเครื่องมือในการคิดวิเคราะห์หาความจริง ผ่านการใช้คาถาม 5 ข้อ ได้แก่ (1) ต้องร้เู รอ่ื งอะไร จะรเู้ ร่อื งนีต้ อ้ งรอู้ ะไรบา้ ง (2) จะรู้ได้จากทไ่ี หน มีหลักฐานอะไรบ้าง หาได้จากที่ไหน (3) จะ ร้ไู ดอ้ ยา่ งไร วธิ กี ารเรยี นรู้ เชน่ อ่าน วิเคราะห์ พูดคยุ ถกเถยี ง รบั ฟงั ฯลฯ (4) ตอ้ งรู้เมื่อไหร่ ลาดับของการสอน รู้ตอนนี้หรอื รู้ตอนหน้า เน้นสร้างความสงสัย (5) ตอ้ งรเู้ พราะเหตุใด ตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนการออกแบบตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ เช่น ก่อนการจัดการเรียน การสอน ครูควรตั้งคาถามกับสิ่งท่ีทาว่าทาไมส่วนกลางถึงต้องการให้ครูเรื่องนั้น ถ้าเราตั้งคาถาม จงตั้งคาถาม กับส่งิ ทีท่ าอยู่ แล้วจะค้นพบความสาคญั วธิ กี าร การเปล่ยี นแนวคดิ ใหม่ในการจัดการเรียนการสอน เช่น ชุมชน ในอินเทอร์เน็ต เช่น inskru ก่อการครู ครูปล่อยของ (เพ่ือนพลเรือน) จะได้เทคนิคที่เราสอน ได้ไอเดีย 74

หลากหลาย รวมถึงในบางเรือ่ งทมี่ ีความขัดแย้ง เด็กต้องแสดงให้เห็นทักษะสมรรถนะ การวิเคราะห์ สาระ ด้วย การแสดงความคิดเห็น ผ่านการตัง้ คาถามท่มี ากพอ การหาหลักฐาน ซ่งึ จะเปน็ การสอนให้เคา้ คิดเปน็ 4) สรปุ การอภปิ ราย/ข้อเสนอแนะของผเู้ ข้ารว่ มการประชุม 4.1) ดร.เฉลิมชัย พนั ธเ์ุ ลศิ สาหรับวิธีคิดในการจัดทาหลักสูตร คอื continue อะไรที่ควรดาเนินการต่อ cut/correct ตัด ลดทอน ปรับให้ดีมากข้ึนหรือทันสมัยมากข้ึน Create สร้างสรรค์เพ่ิมขึ้นในแง่ความรู้ ทักษะ เจตคติ ซง่ึ หลายประเทศนาประวตั ศิ าสตรบ์ าดแผลมาเป็นบทเรียน ไม่กลับไปทาซ้าเช่นเดิม ท้ังนี้ หลักสูตรของ ประเทศไทยได้แก่ หลักสูตรระดับชาติ (แกนกลาง) หลักสูตรระดับท้องถิ่น (จังหวัด เขตภูมิศาสตร์ ชาติพันธ์ุ วัฒนธรรม ศาสนา ภาษา อาชีพ ฯลฯ) จาเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของกลุ่มคน นาไปสู่การจัดทาหลักสูตร สถานศึกษา (การทางาน การดาเนินชีวติ ฯลฯ) 4.2) ผศ.ดร.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ สาหรับข้อเสนอที่จะปรับเปล่ียนการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ให้เท่าทันยุคใหม่นั้น กระทรวงศึกษาธิการควรมีการตั้งคณะกรรมการที่ประกอบด้วยบุคคลท่ีมี ความเช่ียวชาญในด้านตา่ ง ๆ เช่น ด้านประวัติศาสตร์ ด้านการสอน ด้านการประเมินผล ฯลฯ ดาเนินการปรับ หลกั สตู ร ตาราเรียน แนวทางการจัดการเรียนการสอนอย่างจรงิ จัง มแี ผนแมบ่ ท และดาเนนิ การอย่างต่อเนื่อง 4.4) ว่าที่เรือตรีธนวรรณ์ สุวรรณปาล เร่ือง สมรรถนะ ต้องสามารถพัฒนาผู้เรียนให้ครบทุกด้าน สาหรับวิธีการท่ีสอนให้ผู้เรียนต้ังคาถาม คิดวิเคราะห์ เหมาะสาหรับการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน เหนือส่ิง อ่ืนใดครูผู้สอนไม่ควรยึดติดเทคนิค ควรตั้งคาถามให้ลึกถึงสิ่งต้องการให้ผู้เรียนเกิดขึ้น การเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นของ ผู้เรียน รวมถึงจานวนช่ัวโมงในการสอนน้อย หน่วยกิตน้อย ส่งผลให้มีเวลาที่ไม่เพียงพอสาหรับการพัฒนา ผ้เู รยี น ผสู้ อนเองตอ้ งเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน ส่งเสริมให้มี community ของครูผู้สอนเพื่อช่วย ครูผสู้ อน ปัญหาการสอนตามแบบเรียนของครูผู้สอน ซ่ึงตัวแบบเรียนเองกาหนดตายตัว เป็นการสอนสิ่งตามลู่ ดงั นัน้ ควรมีการทบทวนเร่อื งแบบเรยี น ตาราเรยี น สดุ ทา้ ย ประวตั ิศาสตร์ต้องสอนวิธคี ิดและสอนให้คนคิดได้ 5) ขอ้ เสนอเชิงนโยบายทไ่ี ดจ้ ากการประชมุ 5.1) ดร.เฉลิมชัย พันธ์เุ ลิศ ใหข้ ้อเสนอเชิงนโยบายไว้ ดงั นี้ (๑) การทางานในเชิงโครงสร้าง โดยเชื่อมโยงประสานการทางานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ มุ่งเน้น การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน (2) ภาครัฐควรส่งเสริมสนับสนุนหรือออกแบบระบบให้เกิดประสิทธิภาพการรวมกลุ่มของครู (collective teacher Efficiency) ตลอดจนความต่อเนือ่ งในการพัฒนาศักยภาพครู ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการ ส่งเสริมการเรยี นรู้และสง่ เสริมคณุ ภาพการเรยี นการสอนไดด้ ที ี่สดุ (3) ภาครัฐควรจัดทาระบบคลังข้อมูลท่ีเก่ียวกับครู (web portal connect) เป็นศูนย์กลางใน การเชื่อมโยงครูเข้าด้วยกัน (Online community) เพื่อให้ครูได้ร่วมถ่ายทอด แลกเปล่ียนความรู้ความคิดเห็น เตมิ เต็มแนวทางการจัดการเรยี นการสอน โดยมคี ณาจารย์/ผทู้ รงคุณวุฒิชว่ ยตรวจสอบอนุมัตขิ อ้ มูล 5.2) รศ.ดร.ปรีดี พิศภมู วิ ถิ ี ให้ข้อเสนอเชิงนโยบายไว้ ดังน้ี (1) ควรจะต้องต้ังคาถามใหม่ว่า “การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับการศึกษาข้ัน พ้ืนฐานมีการเรียงลาดับเนื้อหาถูกต้องแล้วหรือไม่ และจะต้องปรับปรุงเน้ือหาการเรียนการสอนหรือไม่ อยา่ งไร” (2) สกศ. ต้องเน้นย้าว่าการสร้างบุคลากรทางการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ให้เพิ่ม มากข้ึน มีความจาเป็นและสาคัญต่อการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ และการเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ในระดับอุดมศึกษามีความจาเป็นมากพอ ๆ กับระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงควรส่งเสริมการ เรียนการสอนวิชาประวตั ิศาสตร์ในระดบั อดุ มศกึ ษาด้วย (3) ควรลดปริมาณภาระงานทีไ่ มจ่ าเป็นของครู 75

(4) ควรกระจายความเท่าเทียมทางการศึกษา ด้วยการสร้างส่ือทางการศึกษา / บทเรียน ท่ี สามารถเขา้ ถงึ ผ้เู รยี น ผู้สอน ไดอ้ ยา่ งเท่าเทยี ม (5) ควรมกี ารสร้างบทเรียนเฉพาะกจิ ทางประวตั ศิ าสตร์ จากเหตุการณ์ท่ีมีความสาคัญและจาเป็น โดยจดั ทาเปน็ สรรพวิทยาทีบ่ รู ณาการหลากหลายศาสตร์เขา้ ดว้ ยกนั 5.3) นายภาคนิ นมิ มานนรวงศ์ ใหข้ ้อเสนอเชงิ นโยบายไว้ ดงั น้ี (1) จัดทาหลักสูตรประวัติศาสตร์ท่ีเน้นหลักฐาน การคิดวิเคราะห์หาเหตุผล อาจอิงกับคาถาม หลัก 5 ขอ้ ขา้ งต้น (2) ปรบั เปล่ียนวธิ ีการวัดผล เน้นหลักฐานและคิดวเิ คราะหห์ าเหตุผล (3) ร่วมมือกับองค์กรท่ีผลักดันเรื่องการศึกษาที่ขับเคลื่อนโดยครูหรือภาคประชาชน ให้ทุน สนบั สนุน ดงึ เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการจัดทาสื่อ การเรยี นการสอน ฯลฯ. 76

การประชุมสนทนากลุ่มยอ่ ย (Focus Group) ระหว่างวนั ที่ 7 – 8 สงิ หาคม 2564 (รปู แบบออนไลน์) สนทนากลมุ่ ยอ่ ย (Focus Group) “ครูผสู้ อน” วนั ที่ 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 77

สนทนากลุ่มยอ่ ย (Focus Group) “ผเู้ รยี น” วนั ท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 78

การประชุมมหกรรมการศึกษาไทย หัวขอ้ ข้อเสนอการจัดการเรยี นการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน: ความเขา้ ใจ ความเชื่อ หรือ ความม่นั คง วันท่ี 27 กันยายน 2564 (รปู แบบออนไลน์) 79

คณะผู้จดั ทา การศกึ ษาวจิ ัยเร่ือง สภาพการจดั การเรยี นการสอนวิชาประวตั ศิ าสตร์ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน  ทีป่ รึกษา เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ดร. อานาจ วิชยานวุ ตั ิ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ดร. อุษณยี ์ ธโนศวรรย์ รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ดร. พรี ศกั ด์ิ รัตนะ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ดร. คมกฤช จันทร์ขจร ผู้อานวยการสานักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้ นายสาเนา เน้อื ทอง  ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ท่ีปรึกษางานวิจยั ผู้เช่ียวชาญด้านประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม ศาสตราจารย์พเิ ศษ ธงทอง จันทรางศุ เรอื่ งราวประวัตศิ าสตร์ทางราชสานกั และพระราชพิธี ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการวิจยั เชิงปรมิ าณ ดร. วเิ ชยี ร เกตสุ งิ ห์ ผเู้ ชย่ี วชาญด้านหลักสูตรประวัติศาสตร์ ดร. เฉลมิ ชยั พนั ธ์เลศิ สถาบนั สังคมศึกษา สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (สพฐ.)  ผทู้ รงคณุ วุฒิ ให้ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ คดิ เหน็ (In-depth) ดร. เฉลมิ ชยั พันธ์เลศิ ผู้เชย่ี วชาญด้านหลกั สตู รประวัติศาสตร์ สถาบนั สังคมศึกษา สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน (สพฐ.) ผศ.ดร. พพิ ัฒน์ กระแจะจันทร์ อาจารย์ประจาสาขาวิชาประวตั ศิ าสตร์ คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ อาจารย์ปิง เจรญิ ศิริวฒั น์ (อาจารยป์ ิง ดาวอ้ งก์) เจ้าของสถาบนั กวดวชิ าดาว้องก์  ครูผสู้ อน ใหข้ อ้ เสนอแนะ ขอ้ คิดเห็น (สมั ภาษณท์ างโทรศัพท์และผา่ นแบบแสดงความคิดเหน็ ) นายกา้ วกรณ์ สขุ เสงย่ี มกลุ ครผู ู้สอนวิชาสังคมศึกษา ประวตั ิศาสตร์ นายฉัตรพงศ์ ปิ่นป่ัน ครูผ้สู อนวชิ าสงั คมศึกษา ประวตั ิศาสตร์ นายณัฐพนธ์ โสใหญ่ ครูผู้สอนวิชาสงั คมศึกษา ประวตั ิศาสตร์ นายนวพรรษ ศภุ วรางกูล ครูผูส้ อนวิชาสงั คมศึกษา ประวัตศิ าสตร์ นายนวพล เสนยี ์วงศ์ ณ อยุธยา ครผู ู้สอนวชิ าสังคมศกึ ษา ประวัติศาสตร์  ครูผสู้ อน ผู้เขา้ ร่วมสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) วนั ท่ี 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 นางศศธิ ร คกู่ ระสงั ข์ โรงเรียนเทศบาล 4 (วดั มหาธาตุวรวิหาร) นางสาวเกณิกา บรบิ รู ณ์ โรงเรียนสตรศี รีสุรโิ ยทยั นายสิปปกร จันทร์แกว้ โรงเรยี นเพลินพฒั นา 81

นายปยิ ะ บริสทุ ธ์เิ พช็ ร์ โรงเรียนเบญจมราชานสุ รณ์ นายปรัชญา นาสมภกั ดิ์ โรงเรียนเบญจมราชานสุ รณ์ นางทัศนยี ์ นามโคตร โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ นายสาวชยานันท์ หาวชิ า โรงเรียนสตรีชัยภูมิ นายจกั รกฤษ์ ตอ่ พนั ธ์ุ โรงเรยี นหนองบัวแดงวทิ ยา นางชุติมา แก้วหลา้ โรงเรยี นทุ่งเสลย่ี มชนปู ถมั ภ์ นายฉดุ ดนี สันง๊ะ โรงเรียนสตูลวทิ ยา ว่าทีเรือตรีธนวรรธน์ สุวรรณปาล โรงเรยี นราชดาริ นายภาคิน นมิ มานนรวงศ์ โรงเรยี นกาเนิดวทิ ย์ นายทุติพงศ์ รกั จรรยาบรรณ โรงเรยี นสุจปิ ุลิ นายวรวชั ร วงศส์ ธุ า วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาอุบลราชธานี  ผู้เรยี น ผูเ้ ขา้ ร่วมสนทนากล่มุ ย่อย วันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564  ระดบั ประถมศึกษา เดก็ ชายกฤตภาส จนั ทรล์ ะออ โรงเรยี นราชวินิต เด็กชายธนบูลย์ อัสโย โรงเรยี นเซนตค์ าเบรยี ล เด็กชายชลธี โชตจิ ิรภาส โรงเรียนเซนตค์ าเบรียล เด็กหญงิ กฤตยา ผดุงเดชสริ ิ โรงเรยี นโสมาภาพฒั นา เดก็ หญงิ ชดาษา ชนิ วฒั นโชติ โรงเรยี นสาธติ พัฒนา  ระดบั มธั ยมศกึ ษา โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ นายณชพล จึงสาราญ โรงเรียนหาดใหญร่ ฐั ประชาสรรค์ นางสาวธนดั ดา แก้วสุขศรี โรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นางสาวพทิ ยาภรณ์ พทุ ธสินธุ์ โรงเรียนทวธี าภิเศก นางสาววรรษมน งามสอาด โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั ชยั ภูมิ นายสิรภัทร์ เหลา่ อุตร์ โรงเรยี นเจริญวทิ ยานุสรณ์ นายอานิส ลมี ะ โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา นายนนท์นที จิตรรังสรรค์ โรงเรยี นราชดาริ นายวสุ ธรี าโชติทรงชัย โรงเรยี นกาเนดิ วทิ ย์ นายเสฏฐนันท์ ทรวงบูรณกลุ โรงเรียนกาเนดิ วิทย์ นายสขุ ปวฒั น์ เมืองสมบตั ิ โรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษา จงั หวัดนนทบุรี นางสาวแพรวพลอย ศรีพรมั วรรณ โรงเรยี นศรีวชิ ัยวิทยา เด็กชายนครินทร์ บุญนาค 82

 คณะทางานศกึ ษาวิจัย สานกั มาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้ นางสาวกรกมล จงึ สาราญ นกั วชิ าการศึกษาชานาญการพิเศษ นางสาวทศั น์วลยั เนยี มบุบผา นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ นายชัชวาล อัชฌากุล นติ ิกรชานาญการ นางสาวอบุ ล ตรีรตั น์วชิ ชา นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ตั ิการ นางสาวนรู ยี า วาจิ นักวิชาการศึกษาปฏิบัตกิ าร นางสาวสิริกานต์ แก้วคงทอง นักวิชาการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร นางสาวสุชาดา กลางสอน นกั วชิ าการศึกษาปฏิบตั ิการ นางสาวภควดี เกิดบณั ฑิต นักวชิ าการศึกษาปฏิบัตกิ าร นายศัพทสร ทองดี นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร นางสาวบญุ นภัส ขาหนิ ตง้ั นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร นางสาวสริ วิ มิ ล เวทสรากลุ นักจัดการงานท่ัวไปปฏบิ ัตกิ าร หนว่ ยงานผูร้ บั ผิดชอบ สานักมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรยี นรู้ สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โทร. 02-668-7123 โทรสาร 02-243-1123 83

สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 99/20 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 รวบรวมเอกสารวิชาการ โทรศัพท์ 0-2668-7123 ต่อ 2513, 2522 สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ (สมร.) โทรสาร 0-2243-1128 เว็บไซต์ http://www.onec.go.th